วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Trade Liberalization The Service Industry

         
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าและรบริการ 12 สาขา อันได้แก่่ สาขาผลิตผลเกษตร สาขาประมง สาขาผลิตภัณฑ์ยาง สาขาสิ่งทอ สาขายานยนต์ สาขาผลิตภัฒฑ์ไม้ สาขาอิเล็ทรอนอกส์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการท่องเที่ยว สาขาการบิน และสาขาดลจิสติกส์ มีส่งให้ธุกิจนำเที่ยวพลอยได้รับผลกระทบต่อธุรกิจนำเที่ยวในด้านต่างๆ เช่น มคัคุเทศก์ ด้านนักท่องเที่ยว ด้านผลิตภัฒฑ์ท่องเที่ยว ด้านผุ้ประกอบการ และด้านรํบ การ้้าเสรีด้านบริากรทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทุนในภุมิภาคอาเซียนอย่างหลีกเลี่ยวไม่ได ผุ้มีสวนเกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้จึงจำเป้นต้องพัฒนาความรู้และความสามารถของตนเพื่อให้ได้ความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งมรรการดังกล่าวต้องอาศัยควสมสนับสนุนจากรัฐ ลจกางานวิจัยเรื่องนี้เป้ฯประโยชน์เชิงนโยบายและเป็นข้อคิดสำหรับธุรกิจนำเที่ยวในการรับมือกับเปิดการต้าเสรีด้านบริการ
            เนื่องจากประเทศแต่ละระเทศมีทรัพยากรไม่เท่ากัน จึงต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรที่ตนมีกบประเทศอื่น ซึ่งทำให้เกิดการค้าระห่างประเทศ ทั้งนี้ แต่ละประเทศจะทำการต้ากันตามสินค้าที่ตนผลิตได้ดีจนกระทั่งเมื่อ 30 ปีที่ผ่านมา ประมาณทศวรรษที่ 1980 สถานการณ์ทางการตาโลกได้เปลี่ยนแปลงไป
ประทศต่างๆ ประสบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย จึงต้องกำหนดมาตรการในการดีดกันทางการต้าในรูปต่างๆ เช่น ภาษีศุลกากร และรูปบบอื่น เป็นระบบที่เรียกว่า การต้าแบบที่มีการเจรจาทางการค้าระหว่างคู่ค้าหรือทวิภาคี
            การเจรจาแบบทวิภาคีทำให้เกิดการบิดเบือนเรื่องราคาสินค้าและราคาปัจจัยการผลิต อันนำไปสู่การจัดสรรทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพ เมื่อปัญหานี้รุนแรงขึ้น ประเทศต่างๆ ในโลกจึงเจรจาร่วมกันเพื่อจัดกฎระเบียบทางการต้าระหว่างประเทศของโลกให้ดำเนินไปอย่างเป็นระเบียบและเป็นธรรมมากขึน ในรูปการเจรจาหลายฝ่าย หรือแบบพหุภาคี เช่น ข้อตกลงทั่วไปวาด้วยภาษาีศุลการกรและการต้า  ซึ่งเป็ฯที่มาขององค์การการต้าโลก WTO นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่ทางการต้าทางภูมิศาสตร์ หรือภูมิภาค แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากมีเพียงประชาคมยุโรปหรือสหภาพยุโรปในปัจุจุบัน ต่อมามีการจัดตั้งในระดับภูมิภาค เช่น สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินให้เม็กซิกและแคนาดาเข้าร่วมด้วย จึงกลายเป็น NAFTA นอกจากนี้ยังมี ASEAN, OPEC, BRICS,EU,P4 ฯลฯ
           จากสภาพการณ์ดังกล่าวนี้การเจรจาการต้าแกตต์รอบอุรกวัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมให้การต้าระหว่างประเทศของโลกเป็นไปโดยเสรีและเป็นธรรม ไม่สามารถบรรลุผลได้ตามกำหนดเวลา คือภายใน พ.ศ. 2533 และยังหาข้อยุติไม่ได้ ทำให้แต่ละประเทศไม่แน่ใจว่าผลการเจรจาจะอกมาในรูปแบบใดและ
จะเป็นประดยชน์ต่อประเทสของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจการเจรจาจะออกมาในรูปแบบใดและจะเป็นประดยชน์ต่อประเทศของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจกับการเจรจาสองฝ่่ายก่อน แล้วจึงขยายการต้าเสรีออกไปทำให้แนวคิดเรื่องการรวมกลุ่ทาางเศราฐกิจแพร่ขยายออกไป เพื่อประโยชน์และอำนาจในการเจรจาต่อรอง และสร้างคงามเข้มแย็งทางเศรษบกิจในกลุ่มประเทศสมาชิก การเปิดเสรีทางการต้าจึงเป้ฯการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ เป็นหลุ่มเพื่อลดหรือชจัดอุปสรรคทางการค้าการลงทุน ซึ่งไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของภาษีแต่รวมไปถึงการอำนวนความสะดวก การกำหนดกฎเกณฑ์ และการร่วมมือทางเศราฐกิจด้วย...
           การเปิดเสรีด้านบริการของอาเซียน ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของประชาคมเศราฐกิจอาเวียนกรอบความตกลงด้านบริากรของอาเวียนริเริ่มขึ้นจากการประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยรัฐมนตรีเศราฐกิจอาเซียนจาก 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน และเวียดนาม ได้ลงนามความตกลงดังกล่าว เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการบิการและพัฒนาประสิทธิภาพของผุ้ให้บริการ ในภุมิภาครวมถึงการเพ่ิมความเท่าเที่ยมในการบริการผ่านการออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ตามมาตครฐานด้านความตกลงทั่วไปวาด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก โดยตั้งเป้าหมายให้ความตกลงต่างๆ เป็นที่ยอมรับกันในภายใน พ.ศ. 2558 ในชั้นแรกความตคกลงว่าด้วยการต้าบริากรในอาเซียนได้ครอบคลุมถึงสาขาการบริารต่างๆ เช่น การเงิน การขน่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การท่องเที่ยว การก่อสร้างสาขาบริการธุรกิจ
           อย่างไรก็ดี ในการประชุมการเปิดเสรภาคบริการอาเซียนในรอบที่ 4 ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2548-2549 ได้มีการขยายขอบเขตการเจรจาเปิดเสรีให้รวมทุกสาขาบริการ โดยเฉพาะในด้านการบริการและการท่องเที่ยว ที่เป็ฯสาขาสำคัญที่จะมีการเร่งรัดตามข้อตกลงทั้งในด้านการบริการในโรงแรม และร้านอาหาร การท่องเที่ยว ผุ้ประกอบการท่องเที่ยว และด้านมัคคุเทศก์ ซึ่งเป้นธุรกิจการบริการที่มีความดดดเด่นของภูมิภาคการเปิดเสรีภาคบริการเสรีในอาเวียน ยังได้กำหนดเป้าหมายระับการเปิดตลาดด้านการบริการที่จะให้ขจัดข้อกีดกันสำหรบการให้บริการข้ามพรมแดน ข้อจำกัดในการบิรโภคข้ามพรมแดน และการสร้างความเท่าเที่ยมให้กับนักลงทุนในอาเวียนในการจัดตั้งธุรกิจและถือ หุ้น ดดยเฉพาะในสาขาเร่งรัดด้านการบริากรและการท่องเที่ยวที่นักลงทุนอาเซียนจะมีโอกาสถือหุ้นในกิจการของสาขาดังกล่าวในแต่ละประเทศได้ร้อยละ 70 ใน พ.ศ. 2556 และสาขาอื่นๆ จะมีการปรับสัดส่นการถือหุ้นลักาณะนี้ได้ใน พ.ศ. 2558
            การเปิดเสรีทางการต้าภายใต้ประชาคมเศราฐกจิอาเซีนจะทำให้เกิดการไหลเวียนของสินค้าบริากร การลงทุน เพราะสินค้าที่จะไหลเข้ามาก็คือด้านการเกษตรที่ราคาถูกว่สินค้าเกษตณภายในประเทศ แต่สินค้าที่จะไหลออกก็คือด้านอุตสาหกรรมจากอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รวมท้งการไหลเวียนของการลงทุน เมื่อภาคธุรกิจสามารถย้ายการลงุทนได้อย่างอิสระ ก็ย่อมเลือกประเทศ ที่ค่าแรงถูกที่สุดเพื่อให้ต้นทุนราคาถูกที่สุด เรียกได้ว่าเป้นการย้ายทุนหาแรงงาน ซึ่งแน่นอนว่าจะเกิดผลกระทบต่อแรงงานไทยแน่นอน ซึ่งนอกจากจะกระทบแรงงานไร้ฝีมือแล้ว ยังกระทบถึคงแรงงานฝีมือย่างแพทย์ พยาบาล หรือสายสุขภาพ  จาก ประเทศฟิลิปปิสน์ก็เริ่มทยอยเข้ามาในไทยแล้ว
     
 ส่วนดอากสที่ชุมชนจะได้รับจะพบว่ามีโอากสทางเศราฐกิจค่อนข้างน้อย สินค้าเกษตรราคาถูกที่เข้ามาอาจทำให้มีวัตถุดดิบราคาถูก แต่จะสามารถพัฒนาและยกระับได้อรือไม่ และยังมีโอากสได้แรงงานไร้ฝีมือในระคาถูกลงเพราะแรงงานจากประเทศอื่นเขามาในไทยอย่างเสรีมากขึ้น ที่ผ่านมาประเทสไทยมองการเข้าสู่ประชาคมเศราฐกจอาเซียนเพียงด้านเดียว คือด้านเศราฐกิจ ทั้งที่ยังมีอีกถึงสองด้าน ให้ต้องนึกถึง คือด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน และด้านสังคมและวัฒนธรรม แต่ก่อนที่ประเทศไทยจะเปิดเสรีทางการต้าภายใตจ้ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั้น ควรจะต้องเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้าน ทำความเข้าใจถึงวัฒนธรรม ความแตกต่างในด้านต่างๆ ระหว่างประเทศในอาเซียนเสียก่อน
           ใน พ.ศ. 2534 ประเทศไทยในฐานะประเทสสมาชิกได้เสนอแนวความคิดในการจัดตั้งแขตการต้าเสรีอาเซียน ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 23 ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมมีมติให้มีการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน และในปีต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประทเสสิงคดปร์ ได้มีการลงนามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่าเทียมกันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเสรีภายใต้อัตราภาาีศุลกากรระหว่างกันต่ำที่สุดและปราศจากข้อจำกัดที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากร และเพื่อดึงดุดการลงทุนจากต่างประเทศให้เข้ามาสุ่ภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งเพื่อเตียมพร้อมสำหรับสถานการณ์เศราฐกิจและการต้าดลกที่เสรียิ่งขึ้น จากผล
การเจรจาทางการต้าแกตต์รอบอุรุกวัย นอกจากนี้มาตการนี้ยังเป็นกลไกสำคัญให้ประเทศสมาชิกดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันภายในกำหนดระยะเวลา 15 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พงศ. 2536 ต่อมาใน พ.ศ. 2537 ในการประชุมรัฐนตรีเศราฐกจิอาเซียน ครั้งที่ 26 ที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้มผลสรุปทางด้านการปรับปรุงระยะเวลาในการดำเนินการตามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศลุกากรพิเศษที่เท่าเที่ยมกัน ดดยให้ลดระยะเวลาของการดำเนินการตามข้อตกลงอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันของประเทสสมชิกอาฟตา จาก 5 ปี เหลือ 10 ปี หรือให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 เพื่อให้ระยะเวลาในการปกิบัตตามข้อตกลงก่อนข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้าแกตต์
          โครงการเตรียมความพร้อมและสร้างเครอข่ายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อรองรับประชาคมเศราฐกิจอาเซียน สังคมและวัฒนธรรม และเมื่อการต้าระหวางประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการต้ารุนแรงขึ้น ทำให้อาเวียนได้ไันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกจิการต้าระหว่างกันมากขึ้น ทำให้อาเวียนได้หันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการต้าระหว่างกันมากขึ้น อยางไรก็ตามก็ยังมีวัตถุประสงคืในเรื่องการส่งเสริมการพัฒนาเศราฐกจิ สังคมและวัฒศนธรรมในภุมิภาค ภาคการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค และการใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญฐหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค
         
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินงานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนมีความคืบหน้ามาตามลำดับ ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน ซึ่งเร่ิมดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2535 การเจรจาเพื่อเปิดตลาดการต้าบริการ และการลงทุนในภุมิภาคจนถึงปัจจบัน ผุ้นำอาเซียนได้มุ่งให้ความสำคัญกับการดำเนินกาเพื่อนำไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเซียนภายใน พงศ. 2558 ซึ่งเร็วขึ้นกว่ากำหนดการเดิมที่ผุ้นำอาเซียนได้เคยประกาศแสดงเจตนารมณ์ไว้ตามแถลงการณ์บาหลี

            - บางส่วนจาก "ผลกระทบของการเปิดเสรีในอุตสาหกรรมการบริการของอาเซียนที่มีต่อธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย", พีรยุทธ์ พัฒน์ธนญานนท์, วารสารวิชาการการตลาอและการจัดการ ม.เทโคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม มิถุนายน พ.ศ.2558.

วันจันทร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560

SEAN Framework Agreement on Services (AFAS)

          การเปิดเสรีการบริากรด้านท่องเที่ยวนั้น มีผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้ารลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ดังนั้น ผุ้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวขงไทย จะต้องเตรียมวางแผนทางธุรกิจเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
          การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยว จะเป็นการเปิดในลักษณะของการเคลื่อนย้ายการลงทุน ซึ่งตามข้อตกลงใน  AEC Blueprint คือ ลุดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่างๆ ลง และเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดดยสามารถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ซึ่งภายใต้รกอบ AEC ธุรกิจท่องเที่ยวและยริการที่เกี่ยวเนื่องถูกจัดให้อยู่ในสาขาเร่วงรัดการรวม กลุ่ม เช่นเดียวกับภาคบริการอื่นๆ อีก 4 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม บริการสุขภาพ ากรขนสงทางอากาศ และโลจิสติกส์ ซึ่งกำหนดให้ยกเลิกเงือนไขต่างๆ ที่เป้นข้อจำกัดทั้งหมด รวมทั้ง ทยอยเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเวียนให้สูงขึ้นเป้นร้อยลบ 70 ในปี 2553 แต่ในปัจจุบันก็บังมีข้อจำกดอยู่ เช่นการกำหนดมาตรฐานสำหรับผุ้ปรกอบวิชาชีพในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของแต่ละประเทศในอาเซียน อาทิ พนักงานทำความสะอาด ผุ้จัดการแผนกต่างๆ เป้นต้น ทั้งนี้เพื่อท้อายที่สุดจะสามารถผลักดันให้มีการเคลื่อนย้ายผุ้ให้บริการที่ ได้รับการรับรองคุณสมบัิตวิชาชีพ ภายในภุมิภาคได้อย่งเสรี
           สัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาซียน ตามแผน AEC Blueprint(สาขาธุรกิจท่องเที่ยว)
           แม้ว่าตามแผนงาน AEC Blueprint ประเทศไทยควรจะอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบันในปี 2555 ประเทศไทยยังคงอนุญาตให้ถือหุ้นได้เพียงร้อยละ 49 เนื่องมาจากกฎหมายภายในประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาและการพัิจารณาของรัฐสภา
            ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปิดเสรีบริการด้านท่องเที่ยว ที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจของปทไยในแต่ละาขาที่เกี่ยวข้องโดยสังเขป ดังนี้
            ธุรกิจโรงแรม การเปิดเสรีในส่วนของธุรกิจโรงแรมระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน มีประเด็นสำคัญในเรื่องของสัดส่วนการถือหุ้นของชาวต่างชาติที่ยังมิได้เป้นไปตามเป้าหมายที่กำหนด คือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดให้เพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาซียนเป้นร้อยละ 70 ในปี 2558 ในสาขาธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยปัจจุบัน ประเทศมาชิกตกลงในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ดังนี้ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนักธุรกิจมาเลเซียและถือหุ้น ได้ไม่เกินร้อยละ 51 (เฉพาะโรงแรมระดับ 4-5 ดาว) ส่วนประเทศสิงคโปร์ไม่มีข้อจำกัดใดๆ สำหรับการลงทุนของชาวต่างชาติในธุรกิจโรงแรม ขณะที่ประเทศไทยเองก็กำหนดสัดสวนการถือหุ้นของชาวต่างชาติให้ถือได้ไม่เกินร้อยละ 49 (กรณีที่เป็นบริษัทจำกัด)
           
 ปัจจุบันนักลงทุนไทยสามารถเข้าไปตั้งธุรกิจท่องเที่ยวและบริการโดยเป็นเจาของ 100% หรือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศเวียดนามได้ แต่มีเงื่อนไขว่านักลงทุนต้องดำเนินการสร้าง ปรับปรุง ฟื้นฟู แล้วจึงจะได้กรรมสิทธิ์หลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม ภาครัฐของแต่ละประเทศก็มีแผนงานดำเนินการเพื่อผลักดันให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมายของประเทศอาเวียนในการเปิดเสรีการบริการด้านท่องเที่ยว
             สำหรับผลของการเปิดเสรีในส่วนธุรกิจโรงแรมที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรแรมของไทยนั้น ศูนบ์วิจัยกสิกรไทย มีความเห้นว่าปัจจุบนธุรกิจโรงแรม ในประเทศไทยมีการแข่งขันกันอย่างเชข้มข้นในทุกระดับราคาและทุกกลุ่มลูกค้า ซึ่งแ้แต่ผุ้เล่นรายใหญ่ที่จะเน้นการพัมนาโรงแรมระดับบนเองยังได้ลงมาทำ ตลาดโรงแรมระดับกลางเพื่อให้ครอบคลุมุทกตลาด นอกจากนี้ ผุ้ประกอบการรายใหญ่ยังได้จับมือกัน เช่น โรงแรมต่าประเทศ เพื่พขยายฐานตลาดให้กวางขึ้น ส่งผลกระทบต่อากรทำธุรกิจโรงแรมของผุ้ประกอบการเอสเอ็นอีในไทยอยู่ค่อยข้าง มาก ซึงส่วนใหญ่เป็โรงแรมขยาดเล็กที่มีพนักงานประมาณ 10-15 คน
            ดังนั้นเมื่อมีการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว จะยิ่งเพ่ิมระดบความรุนแรงของการแข่งขันด้านการตลาดของธุรกิจโรงแรมโดยเฉพาะกลุ่ม เช่น บริหารโรงแรมขั้นนำจากต่างประเทส (ที่มีวามพร้อมทั้งด้านเงินทุนและบุคลากร รวมท้งความได้เปรียบด้านการตลาด) มีแนวโน้มจะขยายการลงทุนและขยายเครือข่ายการบริหารโรงแรม เข้ามาในตลาดระดบกลางเพิ่มขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการ
โรงแรมระดับกลฃางลงมาของไทย ซึ่งเสียเปรียบด้านการตลาด และส่วนใหย่มีข้อจำกัดด้านเงินทุน จะประสบปัญหาอัตราการเข้าพักลดลง และนำไปสู่การแข่งขันด้านราคาห้งอพักมากขึ้น ก่อให้เกิดปญหารการขาดสภาพคล่องได้ในที่สุด เปิดโอากาศให้คู่แข่งซึ่งเป้ฯบริษัทข้ามชาติามารถดำเนินการซื้อหรือควบรวม กิจการได้ง่ายขึ้น
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว ผุ้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่บริาหารกิจการเอง ต้องเร่งพัฒนและปรบตัวเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเปิดเสรีฯ โดนมีแนวทางดังนี้
             - วิเคราะห์ศักยภาพของกิจการ เพื่อชูความได้เปรีบเหรือจุดแข้.ของกิจการ เป้นจุดขายที่แตกต่างและโดดเดน อาทิ คุณภาพกรให้บริการของคน ไทยที่โดดเด่นในห้านการมีจิตใจในการให้บริการ ความได้เปรียบด้านราคาที่มีความคุ้มค่าการบริการ ควาไ้เปรีบด้านทำเลที่ตั้ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่มีให้ เลือกอย่างหลกหลายแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค
         
  - วางตำแหน่งของกิจการที่เหมาะสม และกำหนดตลาดเป้าหมายให้ชัดเจน่า จะเน้นให้บริการลูกค้าในตลาดนักท่องเทียวทั่วไปซึ่งเป้ฯตลาดที่มีขนาดใหย่ และมักเป้ฯนักท่องเทียวที่เพิ่งเดินทงมาเที่ยวประเทศไทยเป็นครั้งแรก หรือนักท่องเที่ยเวเฉพาะกลุ่ม(อาทิกลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มประชุมสัมนา กลุ่มท่องเทียวเพื่อเป็นรางวัล กลุ่มคู่ฮันนีมูล กลุ่มจัดงานแต่งงาน กลุ่มท่องเทียวเชิงสุขภาพ กลุ่มพำนักท่องเที่ยวระยะยาว กลุ่มทั้วร์กอล์ฟ กลุ่มทั่วร์ดำนำ้ เป็นต้น) ซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังซ์้อูงส่วนใหญ่จะเป้นัก่องเที่ยว กลุ่มเที่ยวซ้ำ(คือ เคยเดินทางมาเที่ยวเมืองไทยแล้ว) และปรับแผนกาบิรการและแผนการตลาดใหสอดคลองกับตลาดเป้าหมาย และการปรับเปลี่ยนของตลาด เช่นในปัจจุบันที่ตลาดยุโรปกำลังประสบปัญหาเศราฐกิจ และนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะสั้นเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินาง บรรดาผุ้ประกอบการควรหันไปขยายตลาดท่องเทียวระยะใกล้ในภูมิภาคเอเชีย ที่ยังเติบโตต่อเนื่อง
            - พัฒนาทักษะการใช้ภาษาสากลและภาษาในกลุ่มอาเซียน อาทิ มาเลย์ พม่าทั้งนี้ หากผุ้ปรกอบการมีงบประมาณไม่เพียงพอในการพัฒนาทักษะด้านภาษา อาจจะพิจารณานำแนวคิดของการับสมัครอาศาสมัครที่มีควาสามารถด้านภาษามาปรับใช้ แต่ต้องมีการฝึกอบรมทักษะด้านบริการให้กับกลุ่มอาสาสมัครเหล่านี้ก่อน
            - การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับผุ้ประกอบการทั้งในและนอกประทศน่าจะช่วยให้ ผุ้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันและเพ่มทางเลือกให้กับ ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น นำเสนอแพ็กเกจห้องพักราคาเดียวแต่สามารถเลือกที่พักได้หลายแห่งในต่างทำเล ทึ่ดั้ง (อาทิ ชายทะเล เกาะ ภูเขา ป่า) แต่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เป็นต้น
            นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควติดตาม้อมูลข่าวสาร ช่องทางการดำเนินธุรกิจ และแนวทางการปรับตัว เพื่อให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพราะากรเปิดเสรยังคงจะดำเนินต่อไป ไม่ว่าจะเป็น อาเซียน บวก สาม หรือ อาเซียน บวก หก
           ธรุกิจนำเที่ยว เป็นธุรกิจที่ใหการบริากรอำนวนความสะดวกแกนักท่องเที่ยว อาทิ การให้ข้อมุลด้านการท่องเที่ยวเพื่อประกอบการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว การวางแผนการเดินทาง การบริกรด้านทีพัก และจัดแพ็กเกจท่องเทียว เป็นต้น ธุรกิจนำเทียวแบ่งออกตามลักษณะของการจัดบริการท่องเที่ยวได้แก่
           ธุรกิจท่องเทียวภายในประเทศ คือ การจัดนำนักท่องเที่ยวที่มีภุมิลำเนาในประเทศ เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว ภายในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากต่างประเทศเดินทางไปยังแล่งท่องเที่ยวในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเทียวคนไทยเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่่ยวต่างประเทศ
         
 สำหรับการเปิดเสรีประชาคมเศราฐฏิจอาเซียนในหมวดการนำเที่ยว ในปัจจุบันประเด็นของสัดส่วนการถือหุ้นของชาติสมาคมอาเวียนยังมีข้อจำกัด และเงือนไขบางประการ ได้แก่ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนุกธุรกิจชาวมาเลเซียก่อตั้ง บริษัทนำเที่ยว โยสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ขณะที่ประเทศไทย กำหนดให้คณะผุ้บิรหารครึ่งหนึ่งต้องเป็นคนไทย ส่วนประเทศสิงคโปร์ละเวียดนามไม่มีข้อกำหนดใดๆ สำหรับชาวต่างชาติที่ต้องการประกอบธุรกิจนี้
          ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจนำเที่ยวในไทยมีจำนวนค่อนข้างมาก เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวให้เลือกอย่งหลากหลาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวนงาม และเ็นทีนิยมของนักท่องเทียวทั้งคนไทยและต่างชาิต โดยข้อมูลล่าสุดเดือน เมษยน พ.ศ. 2555 จากสำนักงานทะเบียบและธุรกิจนำเที่ยว พบว่า มีผุ้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยมากถึง 10,507 ราย ซึ่ง่วนใหญ่เป็นผุ้ประกอบการขนาดเล็ก ส่วนจำนวนมัคคุเทศก์ชาวไทยมีกว่า 58,324 ราย ซึ่งร้อยละ 65 สามารถพูดภาษาอังกฤษได้แต่ปัจจุบันอาชีพมัคคุเทศก์ชาวไทยยังมีำม่เพียงพอต่อความต้องการ เพราะส่วนหใญ่จะประกอบอาเชีพนี้เป็นอาชีพอิสระ จึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคในการพัฒนาธุรกิจนำเที่ยวของไทยให้มีความพร้อมต่อการเปิดเสรีได้
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีควาเห้นว่า การเปิดเสรีประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะทำให้ผุ้ประกอบการธุรกิจนำเี่ยวรายใหญ่จากต่่างประเทศสามารถเข้ามาลงทุนเปิดสาขาบริษัทนำเที่ยวในประเทศไทยไ้ มากขึ้นแม้จะมีข้อกำหนดเกี่ยวกับผุ้บริหารและอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพที่สงวนไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวก็ตาม ซึ่งผุ้ประกอบการจากต่างประเทศเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นคู่แข่งที่สำคัญของบริษัทนำเที่ยวในไทย เนืองจกาบริษัทนำเที่ยวต่างชาติจะมีจุดเด่น คือมีฐานลูกค้าในประเทศของตน และจาการที่เป้นผุ้ประกอบการรยใหญ่ ทำให้อำนาจต่อรองในเรื่องของราคามีค่อนข้างสูง ซึ่งก็อาจมีผลกระทบต่อบริษัทนำเที่ยวของคนไทยได้เช่นกัน
            ดังนั้น ผุ้ประกอบการควรจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลต่อธุรกิจของตนด้วยเช่น กัน เช่น
           
- ส่งเสริมการนำเที่ยวเฉพาะด้าน หรือเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่่ม เช่น การนำเสนอการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแก่ลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยวจาประเทศใน กลุ่มภูมิภาคตะวันออกกลาง ที่ปัจจุบันิยมเดินทางเข้ามารับบริการด้านการแพทย์ในประเทศไทยอยู่แล้ว หรือลูกค้ากลุ่มที่มีศักยภาพทางการเงินจากประเทศเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติด กับไทย ทำให้สะดวกในการเดินทาง อาทิ นักท่องเที่ยวในตลาดระับบนของพม่าซึ่งปัจจุบันนิยมเดินทางมาเที่ยวกรุงเทพฯ และรายการนำเที่ยวที่ได้รับความนิยม คือ ไหว้พระในวัดพระแก้ว ชมพระบรมมหาราชวัง จับจ่ายซ์้อสินค้าในศูนย์การ้าชั้นนำนย่านราชประสงค์ และเที่ยวชายทะเลแถบพัทยา ขณะที่นักท่องเที่ยวในตลาดระดับกฃางที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทั้งลาวและพม่ จะนิยมเดินทางข้ามพรมแดนมาท่องเที่ยวพักผ่อน และจับจ่ายซื้อสินค้า รวมทั้งเข้ามารับบริากรด้านการแพทย์ในประเทศไทย ตามเมืองท่องเที่ยวหลักใกล้พมแดน เช่น อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย เชียงใหม่และแม่สอด เป็นต้น
       
- สร้างพันธมิตรทางธุรกิจทั้งภายในกลุ่มธุรกิจเดียวกนและกลุ่มธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวข้อง เช่นหากมุ่งเน้นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ก็ควรจะเป้นพันธมิตรกับหลากหลายโรงพยาบาล หรือธุรกิจบิรการรถเช่า เพื่อบริการรับ-ส่งลูกค้าจากนามบินไปโรงพยาบาล หรือไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
          - ส่งเสริมการตลาดผ่าน โซเชียล มีเดีย มาเก็ตติ้ง ที่น่าจะเหมาะกับผุ้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก เพราะสามารถลดต้นทุนการทำประชาสัมพันธ์และเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่มได้เป็นอย่างดี
          อย่างไรก็ดี การใช้ื่อออนไลน์ก็มีข้อพึงระวังเพราะหากลูค้าเกิดความไม่พอใจการให้บริการก็อาจจะใช้โลกออนไลน์นี้ในการแสดงความคิดเห็นได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้น การรักษาคุณภาพการบริากรให้ได้มาตรฐานสากลเป็นสิ่งที่ผุ้ประกอบการพึง ปฏิบัติย่างต่อเนื่องรวมถึงการพัมนาและให้ข้อมูลล่าสุดผ่านทางเว็บไซตผุ้ประกอบการเืพ่อส่งเสริมให้เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการติดต่อและสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
ttmemedia.wordpress.com/2012/06/18/ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน-2/

วันอาทิตย์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Tourism Agreement (ATA)

          อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นสาชาหนึ่งของการต้าบริากรซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อ
เศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่้งที่มาของเงินตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2556 สรุปได้ว่ามีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลกถึง พันล้านคน เพิ่มจากปีก่อน 52 ล้านคน ในขณะที่ใน่วยของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคนการเดินทางท่องเที่ยวดังกล่าวทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั้งแบบทางตรงและทางอ้อมการจ้างงานแบบทางตรงอาท เช่น การจ้างมัคคุเทศก์ หรือการจ้างงานในโรงแรมต่างๆ ของอาเวียน ซึ่งในปัจจุบันมีจำนวนถึง 9.3 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 3.2 ของการจ้างงานทั้งหมดในอาเวียน นอกจาน้การท่องทเี่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทงอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรืองานอื่นๆ ที่อาจไม่เกี่ยวพันกับธุกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเ็นจำนวนถึง 25 ล้านคน จึงเห็นได้วาอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจการค้าบริากรโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
         ประเทศสมาชิกอาเวียนจึงได้มีกาลงนามในข้อตกลงหลายด้านเพื่อากรพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกันอาทิ เช่น ข้อตกลงท่องเที่ยวแห่งแาเซียน หรือ กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ย เป็นต้น
       
สำหรับขอ้ตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว นั้น ถือเป้รูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวยน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริการซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประทศของตนและสามารถที่จะไ้รับการับรองจากประเทศสมาชิกอาเวยนที่รวมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วยความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อนย้ายผุให้บริกรวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประเทศสมาชิก และเพื่อเพ่ิมควาเท่าเที่ยมกัน รวมทั้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคลด้านการทองเที่ยวโดยการใช้มาตฐานสมรรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยว เป็นหลัก
          นอกจากนี้อาเวียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้้ได้ในประเทศสมาชิก โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานในสายงานสาขาต่างๆ ด้านการท่องเที่ยวในออาเซียน หากบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมีสมรรถนะและความสามารถในการให้บริการตามข้อตกลงพื้นฐานของอาเซียนแล้วนั้นก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
         การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อรปับปรุงคุณภาพการบิากรการท่องเที่ยวและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเวียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเวียนทั้งหมดทีลงนามในข้อตกลงฯ วึ่งหมายคึวาว่าบคุลกรที่ได้รับประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานใน
ประเทศสมาชิกอาเวียยอื่นๆ ได้ด้วย โยสิทธิการทำงานจะอย่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บคคุลผุ้นั้นภูกจ้างงาด้งนั้นประกาศนียบัตรดังหล่วจึงถือเป้ฯเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประทศสมาชิกอาเวียนข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการทองเที่ยวในภูมิภาคและการเคลือนย้ายเสรีของแรงงานบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเว๊ยนให้สะดวกและขยายตัวอย่งรวดร็วต่อไป
         การพัฒนาในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของอาเวียยถือ่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องสมาชิกอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่งจริงจัง นอกจากข้อตกบลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน หรือ นี้จะช่วยให้บุคลากรในสายการท่องเที่ยวมีศักยภาพที่ทัดเที่ยมกันและมีความสามารถสูงทีจะแข้งขันกับภุมิภาคอื่นต่อไป...www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1394189306
       

วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Thailand Tourism to ASEAN Tourism

         
 ในประเทศอาเซียนกำลังจับจ้องจุดเปลียนผ่านถือว่าเป็นโอากาสต่ออุตสหรรมต่่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการท่องทเี่ยวของปรtเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเข้มแข็งและสร้างรายได้มหาศาบลให้กับประเทศจนกลายเป็นหนึ่งในฟันเฟืองสำคัญใการที่จะขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ ตามพรบ.การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คำว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีความหมายกว้าง หมายถึงธุกิจ นำเที่ยวจะเป็นธุรกิจโรงแรมรวมถึงภัตตาคาร สถานบริการแล้วก็สถานที่ตากอากาศรวมทั้งการขายของที่ระลึกหรือสินค้าสำหรับนักท่องเที่ยว การกีฬาสำหรับนักท่องเที่ยว แล้วก็การจัดประชุมนานาชาติ งานนิทรรศการงานออกร้านการโฆษณาเผยแพร่ สิงต่างๆ ที่กล่าวมานี้ถือรวมเป็นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
           ปัจจุบันก็มีชาวต่างชาติเข้ามาทำงานในประเทศไทย ในจังหวัดภูเก็ต เฉพาะคนต่างชาติเข้ามาทำงานเช่น ชาวเมียนมาร์ ชาวอินเดีย ชาวฟิลปินส์ เข้ามากเพราะสามารถตางๆ สื่อารเป้นภาษาอังฏษได้ดี สิงสำคัญ ณ เวลานี้ชาวต่างชาติด็เข้ามาอยุ่ในประเทศไทยมาพอสมควร คือ อีกสิ่งหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจท่องเที่ยวที่จะนำไปสู่ในสิ่งที่ดีมีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศประมาณ 1,600 ล้านคน ดดยมาเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวที่ยอดนิยมคือในเอเชียตะวันออก เขาคาดการณ์ไว้ในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออเฉียงใต้เป็นเป้าหมายสำคัญ สำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศไทยส่วนใหญ่ ณ เวลานี้มาอยู่ในสองลักษณะคื อท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม
            การท่องเที่ยวเชิงสภขภาพก็พวกเศรษฐกีน้ำมันกลุ่มประทเศชาติอาเหรับ เขามากันทั้งครอบครัว พ่อสมมติเข้ารักษาที่ดรพยาบาลส่วนแม่ลูกก็เดินทางท่องเท่ยว หรือพ่อรักษาเสร็จก็เดินทางท่องเที่ยวเป็นกลุ่มไปยังจังหวัดต่างๆ แค่เฉพาะภาพรวมในปัจจุบันมีความเข้มแข็งแล้วคราวนี้จุดแข็งของไทยในด้านการท่องเที่ยวที่ได้เปรีบบประเทศอื่นๆ มีอะไรบ้าง คือ อัธยาศัยไมตรีอันดีของคนไทย ที่ตั้งเป็นจุดศูนย์กลาง มีการให้บริการที่ต่างชาติชื่นชอบเรื่องของโรงแรม เรื่องของอาหารหลากหลาย มีโครงสร้างพื้นฐานเข้มแข็ง ระบบธนาคารเกี่ยวข้องการเงิน เวลาเบิกเวลาโอนคล่องตัวบ้านเรามีตรงนี้ แล้ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ที่มีชื่อเสียง การมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และเรื่องอาหารการกินต่างๆ ไม่น้อยหน้ากว่าชาติอื่น สิ่งสำคัญคือมุ่งเนนการให้บริการที่เป้นมติรและอบอุ่นดังญาติมิตร คือจุดแขงที่ชาติในอาเซียนอื่นๆ ยังด้อย ยังสู้บ้านเราไม่ได้แต่อีกหน่ยยไม่แน่
            สิงคโปร์ เป็นประเทศที่น่าจับตามา และมาเซียก็เป็นประเทศที่น่าจับตามองมากในส่วนเกี่ยวกับการเปิดเสรีในด้านการท่องเที่ยวตามกรอบของ AEC คาดว่าจะมีผลกระทบ คาดว่าจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในเอเชียจะเพิ่มขึ้นเป็ฯ 120 ล้านคน ในปี อาเซียนจะต้องก้าวขึ้นเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวยอดนิยมของนักทองเที่ยวจากทั่วโลก รวมทั้งดึงดูดการลงทุนจากจ่างประเทศในธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่องหลั่งไหลเข้ามาในภุมิภาคนี้มากขึ้นแน่นอน คือต้องเตรียมตัวให้ดี นี้จะเป็นโอากสในภาคการท่องเที่ยวของไทยมีแนวโน้มขยายตัวสุงขึนอย่งแน่นอน
         
ผุ้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวของไย ควรจะปรับปรุงกลยุทธ์ มีสองวิธีการที่สำคัญคือ เพ่ิมส่วนแบ่งการตลาดแล้วก็อาศัยจุดแข็ง การบริการดังญาติมิตร จัดบริการด้านการท่องที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ออกแบบของในลักษณะของการให้บริการประหยัดพลังงาน และใช้พลังงานจากธรรมชาติมากที่สุด และบริการด้านการ่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ณ เวลานี้เราเป้นรองจากสิงดโปร์ บริการด้านเชิงสุขภาพ กลยุทธ์ต้องเน้นสองสอ่ิงทนี้เป้ฯจุดขายที่แตกต่าง นำจุดแข็งของออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด การเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดครอบคลุมส่วนแบ่งการตลาดในแง่ของที่ต้องเป้ฯพันธมิตรทางะุรกิจดกับประทศต่างๆ เช่น เวียดนาม ลาว ฟิลิปปินส์ ทั้งสามประเทศยังไม่รุนแรงนัก ต้ดไปสร้างพันธมิตรเพื่อสร้างเครือข่าย จัดทำตลาดร่วมกัน ประกอบกิจการตรงนี้โดยใช้เงินทุน เทคโนโลยีหรือบริากรที่ครบวงจร ร่วมกัน นี้คือส่วนแบ่งการตลาดที่น่าจะหยิบยื่นและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
         
ประโยชน์จาก AEC ด้านการท่องเที่ยว เพื่อที่จะขยายตลาดไปสู่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนคือการแข่งขันก็เป็นส่วนหนึ่ง การสร้างพันธมิตรก็เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องกไปจับมือร่วมกับเขาเตรียมความพร้อมของการท่องเที่ยวไทยควรจะเริ่มจากวางนโยบายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ชัดเจน คือกำหนดนักท่องเที่ยว กลุ่มเป้าหมาย ไม่จำเป็นต้องรับมาก แต่มีนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ต้องการจะเข้ามารักษาในบ้านเรา ก็กำหนดระดับนี้ขึ้นมาอาศัยความร่วมมือในลักาณะของประชาสัมพันธ์การทำตลาดมืออาลีพ สุดยอมของด้านนี้ให้เป็นที่ประจักษ์ แล้วเขาก็จะเดินทางเข้ามาหาเรา แล้วก็ทำ
ตลาดท่องเที่ยวตลาดต่างประเทศและตลาดในประเทศ เช่นการประชาสัมพันะ์การท่องเที่ยวว่าให้ไทยเป้นศูนย์กลางในภุมิภาคแห่งนี้ในเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใช้พลังงานธรรมชาติ เป็นจุดขายที่่แตกต่างจากประเทศอื่น สร้างสินค้าแบรนด์ไทย การบริการที่ประทับใจด้วย และความเป้นคนไทย อาหารไทย การนวดแผนไทยต้องมาประทศไทย ของที่ระลึกสำคัญสร้างรยได้ระดับต้นๆ เป็นสญลักษณ์แสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็ฯไทย และแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความชัดเจน ในแง่ของการเรียนการสอนทางด้านวิชาการท่องเที่ยว ต้องพัฒนาหลักสูตรในสายวิชาชีพ ให้
สร้างบุคลากรระดับปฏิบัติการให้มี มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ สามารถทำงาน ได้ทันที่เมื่อจบการศึกษา จัดตั้งองค์กรความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชนธุรกิจร่วมมือกัน ให้เกิดเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะทำฐานข้อมูลสำหรับการบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความชัดเจน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่ล้าสมัย ให้เป็นกฎหมายที่สามารถที่จะเปิดแข่งขันกันระหว่างประเทศได้สิงนี้สำคัญทุกคนต้องสามารถสื่อสารได้มากกว่า 2 ภาษา ได้อย่างคล่องแคล่วและมีความ
          ยุทธศาสตร์หลักของการพัฒนาความร่วมมือรับทางเศรษฐกิจและสังคม ตามเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจึงมีพลังทางเศรษฐกิจสูง ต้องการความร่วมมือจากทุกผ่ายที่เกี่ยวข้อง ต้องสร้งความเข้าใจสร้างความภูมิใจในทุกๆ ึคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้ทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจให้เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเติบโตได้อย่างยั่งยืน
            www.stou.ac.th/study/sumrit/4-60/page1-4-60.html

วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Thailand Tourism Industry

           คณะรัฐมนตรีม่มติเห็นชอบแผนพัฒนากรท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เมื่อวันที่ 15 ก.พ.
พ.ศ. 2554 โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาภายใต้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน และการกำกับดุแลของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ...
           กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คาดหวังว่ายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ฉบับนี้ จะได้รับการผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัตออย่างจริงจัง ดดยมุ่งเน้นกิจกรรมที่มีความจำเป็นเร่งด่วนต้องได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาเพ่อวางรากฐานการพัฒนาในระยะถัดไป พร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกลไกการขับเคลือนสู่การพัฒนาเพื่อให้ประเทศไทยเป้นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ ตั้งแต่ระดับนโยบายซึ่งมีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นแกนหลัก ระดับกลุ่มจังหวัดหรือกลุมพื้นที่ คือ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยว และระดับจังหวัด คือ ๕ระกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดืทั้งน้ ต้องอาเศัยความร่วมมือจากทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องและ ภาคส่วนต่างๆ รวมทั้งภาคธุรกิจเอกชนเพื่อระดมทรัพยากรและร่วมบูรณาการขับเคลื่อนให้บังเกิดผลสำรเ็จเป็นรูปธรรม
         
และ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งผุ้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สภาบันการศึกษา องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ องค์กรปกครองสวนทื้องถิ่น และ(ุ้แทนเครือข่ายชุมชนที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมุลและมีสวนร่วมในการแสกดงความคิดเห็นเืพื่อประกอบการจัดทำยุธศาสตร์การท่องเที่ยวของประเทศได้สำเร็จเป็นอย่างดี
           สถานะการณ์และแนวโน้มของการท่องเที่ยวไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการทั้งภายในประเทศและภายนอกกประเทศ อาทิ แนวโน้มและทิศทางการท่อเงเที่ยวในตลาดโลก ภาวะการแข่งขันความสเี่ยง พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และวิกฤตณ์ต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ดดยเฉพาะสถานการณ์การท่องเที่ยวในปัจจุบันที่ยังคงอยู่บนความไม่แน่นอนทั้งจากภัยธรรมชาติ โรคระบาด ความไม่มั่นคงมีปัญหาเและอุปสรรคอีกทากมาย ซึ่ลัวนแต่เป็นปัจจัยสงผลกระทบทางลบต่อการท่องเที่ยวไทยยังคงมีปัญหาแลบะอุปสรรคอีกมากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยส่งผลกระทบทางบลต่อการท่องเที่ยวโลกและการท่องเที่ยวไทย แต่ในขณะ
เดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร  การเข้าถึงข้อมูลด้านการทอ่งเที่ยวความสะดวกสบายในการเกินทาง และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไปตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ทำให้แนวโน้มของจำนวนนักท่องเทีที่ยวทั่งโลยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างตอเนื่องซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เอื้อประดยชน์และสร้างโอากสในการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย ดังนั้น การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ เหล่านี้ จะชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอื่น ศักยภาพและโอากสของการพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะต่อไป และเพื่อใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทยในระยะ 3 ปีถัดจากนี้ไป
          - สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก นักท่องเที่ยวในตลาดโลกยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององคึ์การกรท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ พบว่า ในปี 2556 มีนักท่องเที่ยวที่เดินทางระหว่างประเทศทั่่วโลกจำนวน พันล้าานคน เพ่ิมขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 5 โดยนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนจะขยายตัวมากที่สุดและงผลต่อการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวโลก และหากนับจากปี 2548 เป็นต้นมา ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสุงที่สุดถึงร้อยละ 6.2  ทั้งนี้ UNWTO คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2030 จำนวนนัท่องเที่ยโลกจะเพ่ิมเป้ฯ 1,800 เป็นจ้นไป ตลาดเกิดใหา่หรือกลุมประเทสกำลังพัฒนาจะเป็นกลุ่มประเทศที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าตลาดประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราการขยายตัวสุงที่สุด
         
- ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีแนวโน้มเติบโตสูงข้นอย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวในภุมิภาคเอเชียตะวันออเและแปซิฟิกจะมบทบาทสำคัญต่อากรท่องเที่ยวโลเพ่ิมขึ้น จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลกในปี ค.ศ. 1995 พบว่าเกือบ 2 น 3 ของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วดลก หรือร้อยละ 59.8 ท่องเที่ยวในภูมิยุโรป รองลงมาได้แก่ภูมิภาคอเมิรกา ร้อยละ 19.3 เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ร้อยละ 14.4 แอฟริกา ร้อยละ 3.6 ตะวันอออกลาง ร้อยละ 2.2 และเอเชียใต้ ร้อยละ 0.7 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงปี ค.ศ. 2020 UNWTO คาดว่า ยุโรปยังคงเป้ฯภุมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศศูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลง เหลือร้อยละ 45.9 ขณะที่ภูมิภาคที่มีนักท่องเที่ยวระหว่งประเทศสูงสุด แต่มีสัดส่วนลดลงเหลือร้อบละ 25.4 ภูมิภาคอเมริกาเป็นอันดับ 3 และมีสัดส่วนลดลงเหลือร้อยละ 18.1 นอกจากนี้จากสภานการณ์ปัจจุบันที่หลายประเทศในภูมิภาคยุโรปประสบปัญหาเศรษฐกิจ ขระที่เศราฐกิจจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นภูมิภาคที่มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อการขชับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก วึ่งปัจจัยด้านเศราฐกิจดังกล่าวจะเป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นให้การท่องเทียวในภูมิภาคนี้มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
          - กลุ่มประเทศ BRIC จะมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตของการทองเที่ยวโลก กลุ่มประเทศ BRIC ซึ่งประกอบด้วยประเทศบราซิล รัสเซียน อินเดีย และจีน จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวและรยจ่ายเพื่อากรท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วตามภาวะการเติบโตของเศราฐกิจภายในประเทศ โดยในปี 2013 นักท่องเที่ยวจากจีน รัสเซียน และบราซิล มีรายจ่ายดานการทองเที่ยวสูชวสุดในกลุ่ม 10 ดันดับแรกของโลก โดยเฉพาะจีนที่มีรายจ่ายสูงสุดเป้นอันดับที่ 1 มูลค่า 129 พันล้านเรหียญสหรัฐฯ และยังมีอัตราการขยายตัวสุงสุดร้อยละ 26 รองลงมา คือ รัศเวียนอันดับที่ 4 และบราซิลอันดับ 10 อย่างไรก็ตาม ด้วยสถานการณ์เศราฐกจิปัจจุบันได้ส่งผลกระทบต่อการเดินางของนักท่องเที่ยวในประเทศกลุ่มนี้เช่นกั มีเพียงเศราฐกิจจีนเท่านั้นที่มีแนวโน้ขยายตัวขณะที่เศราฐกิจในประทเศอื่นมีแนวโนม้มชะลอตัว เช่น เศราฐกิจรัศเซียนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตยูเครนและการลดลงของราคาน้ำมันในตลาดดลก รวมถึงการลดลงของค่าเงินรูเบิล ซึ่งส่งผลชัดเจนต่อการเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ ขณะที่เศราฐกิจบราซิลคาดว่าจะหดตัวต่อเนื่อง 2 ปีติดต่อกัน จากปัญหาเงินเฟ้อ รายได้จากการส่งออกที่ลดลง และผลกระทบจากภัยแล้ง
           - สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย
            1. การท่องเที่ยวไทยมีกาขยายตัวมาอย่างต่อเนืองทั้งจำนวนและรายไ้จากการท่องเที่ยวในระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา จำนวนนักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นอย่งต่อเนื่องจรชาก 14.0 ล้านคน ในปี 2552 เป็น 24.8 ล้านคน ในปี 2557 โดยเพ่ิมสุงสุดในปี 2556 มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากถึง 26.5 ล้านคน และสูงสุดเป็นลำดับที่ 7 ของโลกแต่ลดลงใปี 2557 เนื่องจากประสบกับวิกฤตทางการเมืองและวิกฤตเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยุโรป โดยตลาดหลักยังคงเป้น 10 ตลาดที่มีส่วนแบ่งการตลาดรวมกันมากว่าร้อยละ 60 ได้แก่ จีน อินเดีย สหราชอาณาจักร มาเลเซย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เอยรมนี เกาหลีใต้ แลฝรั่งเศส สำหรับในปี 2558 คาดการ์ว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยว กว่า 30 ล้านคน ส่วนรายไ้และค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามจำนวนนักท่องเที่ยว ดยในปี 2556 มีรายได้ 1.20 ฃ้านล้านบาท สูงสุดเป็นอันดับ 10 ของโฃก และลดลงเหลือ 1.17 ล้าล้านบาทในปี 2557 โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 26.35 ต่อปี และคาดว่าในปี 2558 จะมีรายได้ 1.40 ล้านล้านบาท ซึ่งสอดตล้องกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครังของนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากค่าใช้จ่าย 36.061 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2552 เ่พิ่มเป็น 47,272 บาท/คน/ครั้ง ในปี 2557 อย่างไรก็ดี ระยะเวลาพำนักของนักท่องเที่ยวมีอัตราการขยายตัวค่อนข้างน้อย เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของนักท่องเที่ยวในระยะใกล้ โดยในปี 2549 นักท่องเที่ยวมีจำนวนวันพักเฉลี่ย 8.62 วัน/ครั้งเพ่ิมเป็น 9.85 วัน/ครั้ง ในปี 2556 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 0.1 วัน ซึ่งนับเป็นข้อจำกัดประการหนึ่งในการเพ่ิมรายได้ให้กับอุตาหกรรมการท่องเที่ยวไทย
     
   2. นักท่องเที่ยวจากตลาดระยะใกล้ มีแนวโน้มเพ่ิมจำนวนขึ้อย่งรวดเร็วจนกลายเป้นัท่องเที่ยหลักของไทยในปี  2549 นักท่องเที่ยจากภูมิ๓าคเอเชียะวันอก(รวมอาเซียน) มีสัดสวนร้อยละ 57.46 ของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ยุโรปร้อยละ 24.03 ดังนั้น จะเห้นได้่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมากว่าครึ่งหนึ่งเป้นักท่องเที่ยวจกตลาดระยะใกล้ที่มีระยะเวลาเดินทางไม่นานและมีแนวโน้มขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น โดยในปี 2556 นักท่องเที่ยวจากภุมิภาคเอเชียตวะันออกมีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นเป้นร้อยละ 60.40 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพ่ิมจำนวนขึ้นอย่งรวดเร็วของนักท่องเที่ยจากประทเศจีนและมาเลเซียน รวมทั้งประเทศเพื่อบ้านในแถบอาเซียน ในขณะที่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปลดลงเหลือร้อยละ 23.19 ของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ วึ่งมีสาเหหตุสำคัญมาจากการหดตัวของเศรษกิจในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
       3. ในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณืว่าประเทไทยจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 67 ล้านคน สำหรับแนวโน้มจำนวนนักท่องเที่ยวระห่างประเทศของไทยในอีก 15 ปีข้างหน้า คาดการณ์ว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากข้อมูบลปัจจุบันในปี 2557 มีจำนวยนักท่องเที่ยว 24.7 ล้าคน จะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น 45 ล้าคน ในปี 2563 และเพิ่มเป็น 67 ล้าคน ในปี 2573 ทั้งนี้ การคาดกาณณ์ดังกล่วเป็นไปตาาแนวโน้มที่ควรจะเป้นและภายใต้สมมติฐานวาสถานการ์การท่องเที่ยวไทยอยู่ในภาวะปกติ ไม่มีเหตุการ์หรือวิกฤติการณ์ใดๆ ที่ส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่ออุตสาหกรรมการทอ่งเที่ยวไทยในช่วงเวลานับจากนี้เป็นต้นไป โดยกลุ่มตลาดหลักยังจะเป้นแกลุ่มเดิม แต่นักท่องเที่ยวจีนจะมีสั่ดส่วนเพ่ิมมาขึ้นอย่างไรก็ตาม ดดยสภาพข้อเท็จจริงแล้วสถานการณ์เศราฐกิจ ภัยธรรมชาติขนาดใหญ่ โรคระบาดร้ายแรงและคามขัดแย้งทางการเมืองทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศยังคงเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งผลกระทบต่อแนวโน้จำนวนนักท่องเที่ยวดังกล่าว...
           - บางส่วนจาก "ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2558-2560" กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรกฎาคม พ.ศ. 2558.
           แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568 (จัดทำโดยที่ปรึกษาฟิลิปปินส์..โดยสังเขป)
            - แผนยุทธศาสตร์การทอ่งเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2559-2568
            วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2568 อาเซียนจะเป้นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ นำเสนอประสบการณ์การท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์และมีความหลากหลาย พัฒนาาการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ ยั่งยืน เท่าเที่ยม ครอบคลุมในทุกมิติยอางสมดุล เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และชีวิตความเป้นอยุ่ที่ดีขึ้นของประชาชนอาเซียน
            ทิศทาง ยุทธศาสตร์ ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแหลงท่องเที่ยวปลายทางเดียว และ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวของอาเซียนอย่างยั่งยืนและเท่าเทียม
         
  กลยุทธ์
                       - ตลาดและการประชาสัมพันธ์
                       - สินค้าด้านการท่องเที่ยว
                       - การลงทุนในภาคการท่องเที่ยว
                       - ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล
                       - มาตรฐานการท่องเที่ยวสำหรับสิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และแหล่งท่องเที่ยว
                       - การชื่อมโยงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
                       - การอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
                       - การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาครัฐ เอกชน
                       - การรักษาความปลอดภัย กรอนุรักษ์และจัดการมรดกทรัพยากร
                       - การรักษาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
           ทิศทางยุทธศาสตร์ 1 การยกระดับความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในการเป็นแปล่งท่องเที่ยวปลายทางเดียว โดย ยกระดับการทำตลาดและประชาสัมพันธ์, พัฒนาสินค้าด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลาย, กระตุ้นการลงทุนในภาคการท่องเที่ยว, พัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรบุคคล, ดำเนินการตามมาตรฐานการท่องเที่ยวอาเซียน, เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน, ความสะดวกในการเดินทางภายในภูมิภาค
           ทิศทางยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว ของอาเวียน อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม โดย สงเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคครัฐและภาคเอกชนในห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยว, พัฒนามากตรการักษาความปลดภัยในแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษณ์และจัดการมรดกทรัพยากร, ยกระดับมาตรการักษาสิ่งแวดล้อมและการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
                   - บางส่่วนจาก แผนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของอาเซียน พ.ศ. 2559-2568" พาวิณี สุนาลัย, วิทยาลัยนวตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"
         

วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Tourism Industry

           เมื่อประชาคมอาเซียนเปิดอย่างเป้นทางการ ประเทศไทยจะเป็นประเทศหนึ่งที่เตีียมความพร้อมเข้าสู่การเปิดประชาคมอาเซียน หรือ อาเซียน คอมมูนิตี้ ได้อย่างมีประสทิะิภาพ หากเปรียยเที่ยบกับเพื่อบ้านรอบๆ เราประเทศอื่น การเข้าสู่ประชาคมอาเวียนนั้นต้องเตรียมพร้อมในหลายดๆ ด้าน ทั้งการเมือง เศรษกยฐกิจ และสังคม ในด้านหนึ่ง ซึ่งถือว่าอาเซียนได้พัฒนาอย่างต่อเเนื่องและดูจะมีความก้าวหน้าอย่างมาก คือ การเตรรียมพร้อมในการเปิดเสรีทางการต้า บริการโดยเฉาพะยอ่างยิ่งการบริการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
          อุตสาหกรรมท่องเที่ยวถือเป็นสาขาหนึ่งของการต้าบริากร ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อเศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่งที่มาของเงนิตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมุลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2555 สรุปว่าในปี 2556 มีนักท่องเที่เยวเดินทางท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน ในขณะที่ในส่วนของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคน
       
 การเดินทางท่องเที่ยวดังกล่ววทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทางอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรือ งานอื่นๆ ที่อาจำม่เกี่ยวพันกับธุรกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเป็นจำนวนถึง 25 ล้านคน ซึ่งเห็นได้ว่าอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใหเความสำคัญกับธุรกิจการต้าบริการโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
         ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได้มีการลงนามในข้อตกลงหลายด้าน เพื่อการพัฒนาท่องเที่ยวร่วมกัน อาทิเช่น ข้อตกลงท่องเทียแห่งอาเซียน กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเวียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว
          สำหรับข้อตกลงอาเซยนด้านบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยว นั้นถือเป้ฯรูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวียน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริากรซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประเทศของตน และสามารถที่จะได้รับการรับรองจากประเทศสมาชิกอาเวียนที่ร่วมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วย ความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อย้ายผุ้ให้บริการวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประทศสมาชิก และเพื่อเพิ่มความเท่าเที่ยมกัน รวมท้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคคลด้านการท่องเที่ยวโดยการใช้มาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยวเป็นหลัก
          นอกจากนี้อาเซียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคคลการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน  ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้ได้ในประเทศสมาชิก โดยจะระบุถึงสมารถนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานใสายงานตามข้อตกลงพื้นฐนของอาเวียนแล้วนั้น ก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ดีต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
          การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพือปรับปรุงคถณภาพการบริการท่องเที่ยและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ
           คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดเพือลงนามในข้อตกลง ฯ ซึ่งหมายความว่า บุคลากรที่ได้รับรประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วงงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับผิดชอบของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ได้ด้วย โดยสิทธิการทำงานจะอยู่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บุคคลผุ้นั้นถูกจ้างงาน ด้งนั้น
ประกาศนียบัตรดังกล่าวจึงถือเป็นเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเวียน ข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเซียน ข้อตกลงดังกว่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการท่องเที่ยวในภุมิภาคและการเคลื่อนย้ายเสรีของแรงงานบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยของอาเวียนให้สะดวกและขยายตัวอย่างรวดเร็วต่อไป
             การพัฒนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอาเซียนถือว่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่างจริงจัง นอกจากข้อตกลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน จะช่วยให้บุคลากรในสาายการท่องเที่ยวมีศัยกภาพที่ทัดเที่ยดกันและมีความสามารถสูงที่จะแข่งขันกับภูมิภาคอื่นต่อไป
www.uasean.com/kerobow01/1170

วันพุธที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Tourism and ASEAN Connect

              การเข้าสู่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั่นหมายความว่า นับจากอาเซียนมีความร่วม
มือทางเศราฐกิจในด้านต่างๆ ที่ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน หรือที่เรียกว่า อาเซียนคอนเนกต์ ที่ครอบคลุม การเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ ครอบคลุมเรื่องของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงขายด้านการขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยง ของสภาบัน ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีและการอำนวนความสะดวกทางการค้า และการลงทุนในอาเซียน รวมถึงการดำเนินการตามความตกลงด้านการขนส่งรูปแบบต่างๆ การปรับพิธีการและมาตรฐานต่างๆ การลดขั้นตอนในกระบวนการข้ามพรมแดนใหสะดวกและว่ายขึ้น และการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินการดังกล่าว สุดท้ายคือ ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน หมายถึง การเชื่อมโยงถึงกันด้านจิตใจ ลดความขัดแย้งทางสังคม วฒนธรรม และประเพณี ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพ่ิมขึ้น อย่างไรก็ตา อาเวียนได้จัดลำดับความสำคัญของการดำเนินการด้านการพัฒนาความเชื่อมโยงทางกายภาพทางด้านการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อังนั้น การกระจาย นักท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเวียนจึงเป้นผลจากการเชื่อมโนงทางด้านกายภาพ การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ดดยอาเว๊ยนได้วางกลยุทธ์ไว้ 5 กลยุทธ์เน้นการเดินเต้มเครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างกันให้สมบูรณืมากยิ่งขึ้น ได้แก่
              การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับภนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดทำป้ายบอทาง สร้างสะพานเชื่อมต่อระหวา่งประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดียซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีัศักยาพสูง
             การพัฒนาโครงการเชื่อมโงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป้ฯหัวใจสำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาคโดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยดเชื่อมระหว่างสปป.ลาว และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา แต่จะให้ความสำคัญกับสายตะวันออก ที่เประเทศไทยจุดที่อาเซียนต้องการให้เพ่ิมเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง 6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึงเมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตริภายในปี 2563
           
การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงลำน้ำในปรเทศอย่างเป็นองค์รวมและมีประสิทธิภาพ มีการกำนหเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ่มน้ำโขงโดยเร่ิมต้นจากจีนล่องมาจนงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา
            การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้อย่างเป็นองค์รวม  ่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเวียน โดยการจัดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเซียน โดยการจดทำระบบทางหลวงการเดินเรือทะเล ของอาเว๊ยน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเรือโดยสารขนาดใหย่ โดยการปรบปรุงสมรรถนะท่าเรือจำนวน 47 ท่า จากผลการศึกาาของอาเซียนในปี 2558 การจัดทำเส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงแผ่นดินใหญและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาคต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจนเส้นทางระหว่างประเทศ
          การจัดระบบการขนส่วใรูปแบบที่เชื่อมต่อเพื่อให้ปาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งจะต้องเร่งดำเนินการ ให้สำเร็จโดยการสร้างจุดเชื่อมที่ยังขาดหายไปในเมียนมา และัพัฒนาท่าเที่ยบเรือที่ยางกุ้ง และเมืองดานัง การส่งเสริม การสร้างสะพานแม่น้ำโขงในกัมพูชา การสร้างท่าเรือทะเลน้ำลึก ในเมียนมา การสร้างทางหลวงและศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและ ดาไว โดยการพัฒนารูปแบบการเชื่่อมดยงดังกล่าวส่งผลให้ไทยมีศักยภาพในการเป็น ฮับ ในการกระจายสินค้าและการท่องเทียว
         นอกจากนั้น อาเซียน ยังสร้างความเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งกับ "เส้นทางสายไหมไใา่ภายใต้ศตวรรษที่ 12 ของประเทศจีน โดยการพัฒนสเส้นทงคมนาคม 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสายไหมทางบก มีลักษณะคล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีนเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเส้นทางสายไหมเดิม ผ่านเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก เอเลียใต้ อาเซียน ตะวันออกกลาง และยุโรป และ สายไหมทางทะเลที่เชื่อมโยงจากท่าเรือทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก และไปสิ้นสุดที่ยุโรป (ประเทศเบลเยียม) ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลถือเป้นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่างจีนกับประเทศต่งๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน และอาจกลายเป้นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการต้าและการลงทุนและการท่องเที่ยวมากที่สุดอีกเส้นางหนึ่งในอนาคตถ้าการพัฒนาระบบการคุมนาคมขนส่งของอาเซียนเสร็จสิ้นลงประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ในการเป็นศุนย์กลางความเชื่อมโยงที่เห้ฯชัดเจน คือ ทางบก (ทางถนนและทางรถไฟ)และทางอากาศจากข้อได้เปรียบลักษณะทางภุมิศาสตร์ที่มีแหล่งที่ตั้งใจกลางอาเซียน รวมท้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานในระดับหนึ่ง ตลอดจนการดำเนินงานองไทยที่รองรับโดยการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาประเทศเพื่อให้เชื่อมโยงกบอาเซียนที่มีการสร้างเส้นทางเชื่อมโยงหรือถนนเศรษบกิจ รวมถึงการเชื่อมโยงทางน้ำและอากาศ พร้อมกับกำหนดเขตเศราฐกิจพิเศษ เพื่อขยายโอากสให้ไทยได้ใช้ประโยชน์จากการต้า การลงทุน และการท่องเที่ยวตามแนวเส้นทางเหล่านี้มากขึ้น
           
การอำนวยความสะดวกในการขนส่ว ที่ให้ความสำคัญกับการขนส่งผุ้โดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบซึ่งปัจุบัประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อบ้านท้้งหมด 47 แห่ง มี 13 แห่งที่มีความเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนที่สามารยกระดับเป็นแหล่งหระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถรองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่ ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จ.เชียงราย  ด่านแม่สอด จ.ตาก ด่านหนองคายจ.หนองคาย ด่านมุกดาหาร จ.มุกดาหาร ด่านนครพนม จ.นครพนม ด่านอรัญประเทศ จ.สระแก้ว ด่านสะเดา จ.สงขลา และด่าปาดังเบซาร์ จ.สงขลา และยังเป็นเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์ส่วนบุคคลและรถบัสสำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้จัดทำความตกลงการขนส่งคนดดยสารระวห่างประเทศ การพัฒนาเส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของผุ้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายเพิ่อเพิ่มประสิทธิภาพภาพการขนส่งข้ามพรมแดน การพัฒนาศุนย์ปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของและที่เชียงราย เป็นต้น
            เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทางคมนาคมขนส่งของอาเซ๊ยน วึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศณาฐกิจใหม่ที่เป้นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้งพื้นฐานในรูปแบบต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยไ้ด้ประกาศเขตเศราฐกิจพิเศษ รวม 10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ประกาศในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ จ.ตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้ จ.มุกดาหาร ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศ สปป. ลาวและเวียดนามผ่านเส้นทาง R9 เข้าสูท่าเรือดานังและเชื่อมต่ไปยังประเทศจีนตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จ.สระแก้ว ที่สามารถเชื่อมโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา จ.ตราด ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือสีหนุวิลล์ เกาะกง ของ กัมพูชา และจ.สงขลา ที่สามารถเชื่อมโยงกับทาเรือปีนังและท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทั้งถนนและระบบรางเชื่อมโยง และระยที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่
          - หนองคาย ที่มีจุดเชื่อมโยงกับนครเวียงจันทร์ประเทศสปป.ลาว
          - นราธิวาส เชื่อมโยงกับประเทสมาเลเวียและสามารถเชื่อมต่อไปยังสิงคโปร์ได้
          - เชียงราย สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเมียมาและประเทศสปป.ลาว
          - นครพนม ที่เชื่อโยงกับประเทศสปป.ลาวและเชื่อมต่อไปยังประเทเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้
          - กาญจนบุรี เชื่อมต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา
          ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศต่างๆ ในอาเวียนต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลือนและสร้างความเติบโตทางเศณาฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนภูมิภาคนี้เพ่ิมขึ้นจาก 81 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2554 เป็น 105 ล้าคน ในปี 2557 หรือขายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน หรือการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอาเวียนด้วยกันเองประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเที่ยวของประเทศในกลุ่มอาเวียนส่วนใหย่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้นประเทศมาเลซียที่นักท่องเที่ยวหลักมาจากประทศในกลุ่มอาเซียนเนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประดยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความัมพันะืทางเสาสฯาและเครือญาติจากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเทียวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเวียนสูงเป็นอัดับที่ 2 แต่น้อยกว่ามาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงโปร์ อินโดนีเซีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามลำดับ
         
 ภาพรวมของนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียนเดินทางท่องเทีียวระหว่างกนเพ่ิมขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554 เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.12 ต่อปีสำหรับนักท่องเที่ยวนอกอาเซียน 10 อันดับยอดนิยมที่นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในอาเซียน มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 91.6 ของนักท่องเที่ยวนอกอาเซียนทั้งหมด ได้แก่ นัดท่องเที่ยวจีน ยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ป่นุ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริการ อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน โดยนักท่องเที่ยวจากยุโปรมีแนวโน้มขยายตัวสุงกว่านักท่องเที่ยวจากประเทศือ่นๆ นักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาคอาเซียนมีการขยายตัวในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.08 โดยเพิ่มขึ้นจาก 43 ล้านคนในปี 2554 เป็น 56 ล้านคนในปี 2557
           จากการเติบโตดังกล่าวแสดงให้เก็นถึงศักยภาพทางการท่องเที่ยวของอาเว๊ยนและเป็นไปตามแนวโน้มที่ UNWTO กล่าวไว้ว่า ภุมิภาคอาเซียนจะเป็นจุดหมายหลักของการเดินทางท่องเทียวและมีอัตราการเติบโตทางการท่องเทียวสูง...

                 - บางส่วนจาก "รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว", สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ฉบับที่ 2 ตุลาคม-ธันวาคม 2558.
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...