ASEAN Tourism Agreement (ATA)

          อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นสาชาหนึ่งของการต้าบริากรซึ่งถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อ
เศรษฐกิจของหลายๆ ประเทศ เนื่องจากเป็นแหล่้งที่มาของเงินตราต่างปรเทศ และยังนำมาซึ่งการจ้างงานที่สคำัญจำนวนมาก โดยจากรายงานข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก ณ เดือนมกราคม 2556 สรุปได้ว่ามีนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลกถึง พันล้านคน เพิ่มจากปีก่อน 52 ล้านคน ในขณะที่ใน่วยของภูมิภาคอาเซียนนั้น มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนในปี 2556 ถึง 92 ล้านคนการเดินทางท่องเที่ยวดังกล่าวทำให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั้งแบบทางตรงและทางอ้อมการจ้างงานแบบทางตรงอาท เช่น การจ้างมัคคุเทศก์ หรือการจ้างงานในโรงแรมต่างๆ ของอาเวียน ซึ่งในปัจจุบันมีจำนวนถึง 9.3 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 3.2 ของการจ้างงานทั้งหมดในอาเวียน นอกจาน้การท่องทเี่ยวยังทำให้เกิดการจ้างงานโดยทงอ้อมด้วย เช่น คนขับรถแท็กซี่ หรืองานอื่นๆ ที่อาจไม่เกี่ยวพันกับธุกิจการท่องเที่ยวโดยตรง อีกเ็นจำนวนถึง 25 ล้านคน จึงเห็นได้วาอาเซียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับธุรกิจการค้าบริากรโดยเฉพาะอย่างยิงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
         ประเทศสมาชิกอาเวียนจึงได้มีกาลงนามในข้อตกลงหลายด้านเพื่อากรพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกันอาทิ เช่น ข้อตกลงท่องเที่ยวแห่งแาเซียน หรือ กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ และข้อตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ย เป็นต้น
       
สำหรับขอ้ตกลงอาเซียนด้านบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว นั้น ถือเป้รูปแบบล่าสุดของการพัฒนาความร่วมมือด้านการต้าบริการของอาเวยน ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณสมบัติของผุ้ให้บริการซึ่งเป็นประชาชนชาวอาเวียนให้มีคุณภาพได้รับการยอมรับทั้งจากองค์กรภายในประทศของตนและสามารถที่จะไ้รับการับรองจากประเทศสมาชิกอาเวยนที่รวมลงนามในข้อตกลงนี้ด้วยความร่วมมือนี้มุ่งเน้นสนับสนุนการเคลื่อนย้ายผุให้บริกรวิชาชีพทางการท่องเที่ยวภายในภูมิภาค ให้อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบงคับของประเทศสมาชิก และเพื่อเพ่ิมควาเท่าเที่ยมกัน รวมทั้งประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคลด้านการทองเที่ยวโดยการใช้มาตฐานสมรรถนะพื้นฐานการท่องเที่ยว เป็นหลัก
          นอกจากนี้อาเวียนยังจะจัดทำมาตรฐานสมารรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน ให้แล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้้ได้ในประเทศสมาชิก โดย ACCSTP จะระบุถึงสมรรนะพื้นฐานขั้นต่ำของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวที่ต้องการทำงานในสายงานสาขาต่างๆ ด้านการท่องเที่ยวในออาเซียน หากบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมีสมรรถนะและความสามารถในการให้บริการตามข้อตกลงพื้นฐานของอาเซียนแล้วนั้นก็สามารถเดินทางไปทำงานในประเทศสมาชิกต่างๆ ได้ อย่างไรก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ของประเทศนั้นๆ ด้วย
         การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อรปับปรุงคุณภาพการบิากรการท่องเที่ยวและสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน MRA ระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นสำคัญ คุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเวียนจะได้รับการยอมรับจากประเทศสมาชิกอาเวียนทั้งหมดทีลงนามในข้อตกลงฯ วึ่งหมายคึวาว่าบคุลกรที่ได้รับประกาศนียบัตรสมรรถนะวิชาชีพบริการท่องเที่ยวในสาขาที่ระบุใน ACCSTP จากหน่วยงาน The Tourism Professional Certification Board (TPCB) ที่รับของประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถทำงานใน
ประเทศสมาชิกอาเวียยอื่นๆ ได้ด้วย โยสิทธิการทำงานจะอย่ภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของประเทศที่บคคุลผุ้นั้นภูกจ้างงาด้งนั้นประกาศนียบัตรดังหล่วจึงถือเป้ฯเครื่องรับรองสำคัญสำหรับผุ้ที่ต้องการสมัครงานด้านการท่องเที่ยวในประทศสมาชิกอาเวียนข้อตกลงดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการทองเที่ยวในภูมิภาคและการเคลือนย้ายเสรีของแรงงานบุคลการวิชาชีพท่องเที่ยวของอาเว๊ยนให้สะดวกและขยายตัวอย่งรวดร็วต่อไป
         การพัฒนาในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของอาเวียยถือ่าเป็นดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องสมาชิกอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมกันพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกันอย่งจริงจัง นอกจากข้อตกบลงต่างๆ ที่ได้มีการลงนามร่วมกันแล้วยังได้มีการวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากรในสายการท่องเที่ยวให้เป็นมตรฐานเดี่ยวกัน หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน หรือ นี้จะช่วยให้บุคลากรในสายการท่องเที่ยวมีศักยภาพที่ทัดเที่ยมกันและมีความสามารถสูงทีจะแข้งขันกับภุมิภาคอื่นต่อไป...www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1394189306
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)