SEAN Framework Agreement on Services (AFAS)

          การเปิดเสรีการบริากรด้านท่องเที่ยวนั้น มีผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้ารลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ดังนั้น ผุ้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวขงไทย จะต้องเตรียมวางแผนทางธุรกิจเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
          การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยว จะเป็นการเปิดในลักษณะของการเคลื่อนย้ายการลงทุน ซึ่งตามข้อตกลงใน  AEC Blueprint คือ ลุดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่างๆ ลง และเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดดยสามารถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ซึ่งภายใต้รกอบ AEC ธุรกิจท่องเที่ยวและยริการที่เกี่ยวเนื่องถูกจัดให้อยู่ในสาขาเร่วงรัดการรวม กลุ่ม เช่นเดียวกับภาคบริการอื่นๆ อีก 4 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม บริการสุขภาพ ากรขนสงทางอากาศ และโลจิสติกส์ ซึ่งกำหนดให้ยกเลิกเงือนไขต่างๆ ที่เป้นข้อจำกัดทั้งหมด รวมทั้ง ทยอยเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเวียนให้สูงขึ้นเป้นร้อยลบ 70 ในปี 2553 แต่ในปัจจุบันก็บังมีข้อจำกดอยู่ เช่นการกำหนดมาตรฐานสำหรับผุ้ปรกอบวิชาชีพในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของแต่ละประเทศในอาเซียน อาทิ พนักงานทำความสะอาด ผุ้จัดการแผนกต่างๆ เป้นต้น ทั้งนี้เพื่อท้อายที่สุดจะสามารถผลักดันให้มีการเคลื่อนย้ายผุ้ให้บริการที่ ได้รับการรับรองคุณสมบัิตวิชาชีพ ภายในภุมิภาคได้อย่งเสรี
           สัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาซียน ตามแผน AEC Blueprint(สาขาธุรกิจท่องเที่ยว)
           แม้ว่าตามแผนงาน AEC Blueprint ประเทศไทยควรจะอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบันในปี 2555 ประเทศไทยยังคงอนุญาตให้ถือหุ้นได้เพียงร้อยละ 49 เนื่องมาจากกฎหมายภายในประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาและการพัิจารณาของรัฐสภา
            ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปิดเสรีบริการด้านท่องเที่ยว ที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจของปทไยในแต่ละาขาที่เกี่ยวข้องโดยสังเขป ดังนี้
            ธุรกิจโรงแรม การเปิดเสรีในส่วนของธุรกิจโรงแรมระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน มีประเด็นสำคัญในเรื่องของสัดส่วนการถือหุ้นของชาวต่างชาติที่ยังมิได้เป้นไปตามเป้าหมายที่กำหนด คือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดให้เพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาซียนเป้นร้อยละ 70 ในปี 2558 ในสาขาธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยปัจจุบัน ประเทศมาชิกตกลงในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ดังนี้ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนักธุรกิจมาเลเซียและถือหุ้น ได้ไม่เกินร้อยละ 51 (เฉพาะโรงแรมระดับ 4-5 ดาว) ส่วนประเทศสิงคโปร์ไม่มีข้อจำกัดใดๆ สำหรับการลงทุนของชาวต่างชาติในธุรกิจโรงแรม ขณะที่ประเทศไทยเองก็กำหนดสัดสวนการถือหุ้นของชาวต่างชาติให้ถือได้ไม่เกินร้อยละ 49 (กรณีที่เป็นบริษัทจำกัด)
           
 ปัจจุบันนักลงทุนไทยสามารถเข้าไปตั้งธุรกิจท่องเที่ยวและบริการโดยเป็นเจาของ 100% หรือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศเวียดนามได้ แต่มีเงื่อนไขว่านักลงทุนต้องดำเนินการสร้าง ปรับปรุง ฟื้นฟู แล้วจึงจะได้กรรมสิทธิ์หลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม ภาครัฐของแต่ละประเทศก็มีแผนงานดำเนินการเพื่อผลักดันให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมายของประเทศอาเวียนในการเปิดเสรีการบริการด้านท่องเที่ยว
             สำหรับผลของการเปิดเสรีในส่วนธุรกิจโรงแรมที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรแรมของไทยนั้น ศูนบ์วิจัยกสิกรไทย มีความเห้นว่าปัจจุบนธุรกิจโรงแรม ในประเทศไทยมีการแข่งขันกันอย่างเชข้มข้นในทุกระดับราคาและทุกกลุ่มลูกค้า ซึ่งแ้แต่ผุ้เล่นรายใหญ่ที่จะเน้นการพัมนาโรงแรมระดับบนเองยังได้ลงมาทำ ตลาดโรงแรมระดับกลางเพื่อให้ครอบคลุมุทกตลาด นอกจากนี้ ผุ้ประกอบการรายใหญ่ยังได้จับมือกัน เช่น โรงแรมต่าประเทศ เพื่พขยายฐานตลาดให้กวางขึ้น ส่งผลกระทบต่อากรทำธุรกิจโรงแรมของผุ้ประกอบการเอสเอ็นอีในไทยอยู่ค่อยข้าง มาก ซึงส่วนใหญ่เป็โรงแรมขยาดเล็กที่มีพนักงานประมาณ 10-15 คน
            ดังนั้นเมื่อมีการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว จะยิ่งเพ่ิมระดบความรุนแรงของการแข่งขันด้านการตลาดของธุรกิจโรงแรมโดยเฉพาะกลุ่ม เช่น บริหารโรงแรมขั้นนำจากต่างประเทส (ที่มีวามพร้อมทั้งด้านเงินทุนและบุคลากร รวมท้งความได้เปรียบด้านการตลาด) มีแนวโน้มจะขยายการลงทุนและขยายเครือข่ายการบริหารโรงแรม เข้ามาในตลาดระดบกลางเพิ่มขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการ
โรงแรมระดับกลฃางลงมาของไทย ซึ่งเสียเปรียบด้านการตลาด และส่วนใหย่มีข้อจำกัดด้านเงินทุน จะประสบปัญหาอัตราการเข้าพักลดลง และนำไปสู่การแข่งขันด้านราคาห้งอพักมากขึ้น ก่อให้เกิดปญหารการขาดสภาพคล่องได้ในที่สุด เปิดโอากาศให้คู่แข่งซึ่งเป้ฯบริษัทข้ามชาติามารถดำเนินการซื้อหรือควบรวม กิจการได้ง่ายขึ้น
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว ผุ้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่บริาหารกิจการเอง ต้องเร่งพัฒนและปรบตัวเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเปิดเสรีฯ โดนมีแนวทางดังนี้
             - วิเคราะห์ศักยภาพของกิจการ เพื่อชูความได้เปรีบเหรือจุดแข้.ของกิจการ เป้นจุดขายที่แตกต่างและโดดเดน อาทิ คุณภาพกรให้บริการของคน ไทยที่โดดเด่นในห้านการมีจิตใจในการให้บริการ ความได้เปรียบด้านราคาที่มีความคุ้มค่าการบริการ ควาไ้เปรีบด้านทำเลที่ตั้ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่มีให้ เลือกอย่างหลกหลายแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค
         
  - วางตำแหน่งของกิจการที่เหมาะสม และกำหนดตลาดเป้าหมายให้ชัดเจน่า จะเน้นให้บริการลูกค้าในตลาดนักท่องเทียวทั่วไปซึ่งเป้ฯตลาดที่มีขนาดใหย่ และมักเป้ฯนักท่องเทียวที่เพิ่งเดินทงมาเที่ยวประเทศไทยเป็นครั้งแรก หรือนักท่องเที่ยเวเฉพาะกลุ่ม(อาทิกลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มประชุมสัมนา กลุ่มท่องเทียวเพื่อเป็นรางวัล กลุ่มคู่ฮันนีมูล กลุ่มจัดงานแต่งงาน กลุ่มท่องเทียวเชิงสุขภาพ กลุ่มพำนักท่องเที่ยวระยะยาว กลุ่มทั้วร์กอล์ฟ กลุ่มทั่วร์ดำนำ้ เป็นต้น) ซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังซ์้อูงส่วนใหญ่จะเป้นัก่องเที่ยว กลุ่มเที่ยวซ้ำ(คือ เคยเดินทางมาเที่ยวเมืองไทยแล้ว) และปรับแผนกาบิรการและแผนการตลาดใหสอดคลองกับตลาดเป้าหมาย และการปรับเปลี่ยนของตลาด เช่นในปัจจุบันที่ตลาดยุโรปกำลังประสบปัญหาเศราฐกิจ และนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะสั้นเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินาง บรรดาผุ้ประกอบการควรหันไปขยายตลาดท่องเทียวระยะใกล้ในภูมิภาคเอเชีย ที่ยังเติบโตต่อเนื่อง
            - พัฒนาทักษะการใช้ภาษาสากลและภาษาในกลุ่มอาเซียน อาทิ มาเลย์ พม่าทั้งนี้ หากผุ้ปรกอบการมีงบประมาณไม่เพียงพอในการพัฒนาทักษะด้านภาษา อาจจะพิจารณานำแนวคิดของการับสมัครอาศาสมัครที่มีควาสามารถด้านภาษามาปรับใช้ แต่ต้องมีการฝึกอบรมทักษะด้านบริการให้กับกลุ่มอาสาสมัครเหล่านี้ก่อน
            - การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับผุ้ประกอบการทั้งในและนอกประทศน่าจะช่วยให้ ผุ้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันและเพ่มทางเลือกให้กับ ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น นำเสนอแพ็กเกจห้องพักราคาเดียวแต่สามารถเลือกที่พักได้หลายแห่งในต่างทำเล ทึ่ดั้ง (อาทิ ชายทะเล เกาะ ภูเขา ป่า) แต่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เป็นต้น
            นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควติดตาม้อมูลข่าวสาร ช่องทางการดำเนินธุรกิจ และแนวทางการปรับตัว เพื่อให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพราะากรเปิดเสรยังคงจะดำเนินต่อไป ไม่ว่าจะเป็น อาเซียน บวก สาม หรือ อาเซียน บวก หก
           ธรุกิจนำเที่ยว เป็นธุรกิจที่ใหการบริากรอำนวนความสะดวกแกนักท่องเที่ยว อาทิ การให้ข้อมุลด้านการท่องเที่ยวเพื่อประกอบการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว การวางแผนการเดินทาง การบริกรด้านทีพัก และจัดแพ็กเกจท่องเทียว เป็นต้น ธุรกิจนำเทียวแบ่งออกตามลักษณะของการจัดบริการท่องเที่ยวได้แก่
           ธุรกิจท่องเทียวภายในประเทศ คือ การจัดนำนักท่องเที่ยวที่มีภุมิลำเนาในประเทศ เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว ภายในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากต่างประเทศเดินทางไปยังแล่งท่องเที่ยวในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเทียวคนไทยเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่่ยวต่างประเทศ
         
 สำหรับการเปิดเสรีประชาคมเศราฐฏิจอาเซียนในหมวดการนำเที่ยว ในปัจจุบันประเด็นของสัดส่วนการถือหุ้นของชาติสมาคมอาเวียนยังมีข้อจำกัด และเงือนไขบางประการ ได้แก่ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนุกธุรกิจชาวมาเลเซียก่อตั้ง บริษัทนำเที่ยว โยสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ขณะที่ประเทศไทย กำหนดให้คณะผุ้บิรหารครึ่งหนึ่งต้องเป็นคนไทย ส่วนประเทศสิงคโปร์ละเวียดนามไม่มีข้อกำหนดใดๆ สำหรับชาวต่างชาติที่ต้องการประกอบธุรกิจนี้
          ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจนำเที่ยวในไทยมีจำนวนค่อนข้างมาก เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวให้เลือกอย่งหลากหลาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวนงาม และเ็นทีนิยมของนักท่องเทียวทั้งคนไทยและต่างชาิต โดยข้อมูลล่าสุดเดือน เมษยน พ.ศ. 2555 จากสำนักงานทะเบียบและธุรกิจนำเที่ยว พบว่า มีผุ้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยมากถึง 10,507 ราย ซึ่ง่วนใหญ่เป็นผุ้ประกอบการขนาดเล็ก ส่วนจำนวนมัคคุเทศก์ชาวไทยมีกว่า 58,324 ราย ซึ่งร้อยละ 65 สามารถพูดภาษาอังกฤษได้แต่ปัจจุบันอาชีพมัคคุเทศก์ชาวไทยยังมีำม่เพียงพอต่อความต้องการ เพราะส่วนหใญ่จะประกอบอาเชีพนี้เป็นอาชีพอิสระ จึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคในการพัฒนาธุรกิจนำเที่ยวของไทยให้มีความพร้อมต่อการเปิดเสรีได้
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีควาเห้นว่า การเปิดเสรีประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะทำให้ผุ้ประกอบการธุรกิจนำเี่ยวรายใหญ่จากต่่างประเทศสามารถเข้ามาลงทุนเปิดสาขาบริษัทนำเที่ยวในประเทศไทยไ้ มากขึ้นแม้จะมีข้อกำหนดเกี่ยวกับผุ้บริหารและอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพที่สงวนไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวก็ตาม ซึ่งผุ้ประกอบการจากต่างประเทศเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นคู่แข่งที่สำคัญของบริษัทนำเที่ยวในไทย เนืองจกาบริษัทนำเที่ยวต่างชาติจะมีจุดเด่น คือมีฐานลูกค้าในประเทศของตน และจาการที่เป้นผุ้ประกอบการรยใหญ่ ทำให้อำนาจต่อรองในเรื่องของราคามีค่อนข้างสูง ซึ่งก็อาจมีผลกระทบต่อบริษัทนำเที่ยวของคนไทยได้เช่นกัน
            ดังนั้น ผุ้ประกอบการควรจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลต่อธุรกิจของตนด้วยเช่น กัน เช่น
           
- ส่งเสริมการนำเที่ยวเฉพาะด้าน หรือเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่่ม เช่น การนำเสนอการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแก่ลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยวจาประเทศใน กลุ่มภูมิภาคตะวันออกกลาง ที่ปัจจุบันิยมเดินทางเข้ามารับบริการด้านการแพทย์ในประเทศไทยอยู่แล้ว หรือลูกค้ากลุ่มที่มีศักยภาพทางการเงินจากประเทศเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติด กับไทย ทำให้สะดวกในการเดินทาง อาทิ นักท่องเที่ยวในตลาดระับบนของพม่าซึ่งปัจจุบันนิยมเดินทางมาเที่ยวกรุงเทพฯ และรายการนำเที่ยวที่ได้รับความนิยม คือ ไหว้พระในวัดพระแก้ว ชมพระบรมมหาราชวัง จับจ่ายซ์้อสินค้าในศูนย์การ้าชั้นนำนย่านราชประสงค์ และเที่ยวชายทะเลแถบพัทยา ขณะที่นักท่องเที่ยวในตลาดระดับกฃางที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทั้งลาวและพม่ จะนิยมเดินทางข้ามพรมแดนมาท่องเที่ยวพักผ่อน และจับจ่ายซื้อสินค้า รวมทั้งเข้ามารับบริากรด้านการแพทย์ในประเทศไทย ตามเมืองท่องเที่ยวหลักใกล้พมแดน เช่น อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย เชียงใหม่และแม่สอด เป็นต้น
       
- สร้างพันธมิตรทางธุรกิจทั้งภายในกลุ่มธุรกิจเดียวกนและกลุ่มธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวข้อง เช่นหากมุ่งเน้นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ก็ควรจะเป้นพันธมิตรกับหลากหลายโรงพยาบาล หรือธุรกิจบิรการรถเช่า เพื่อบริการรับ-ส่งลูกค้าจากนามบินไปโรงพยาบาล หรือไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
          - ส่งเสริมการตลาดผ่าน โซเชียล มีเดีย มาเก็ตติ้ง ที่น่าจะเหมาะกับผุ้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก เพราะสามารถลดต้นทุนการทำประชาสัมพันธ์และเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่มได้เป็นอย่างดี
          อย่างไรก็ดี การใช้ื่อออนไลน์ก็มีข้อพึงระวังเพราะหากลูค้าเกิดความไม่พอใจการให้บริการก็อาจจะใช้โลกออนไลน์นี้ในการแสดงความคิดเห็นได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้น การรักษาคุณภาพการบริากรให้ได้มาตรฐานสากลเป็นสิ่งที่ผุ้ประกอบการพึง ปฏิบัติย่างต่อเนื่องรวมถึงการพัมนาและให้ข้อมูลล่าสุดผ่านทางเว็บไซตผุ้ประกอบการเืพ่อส่งเสริมให้เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการติดต่อและสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
ttmemedia.wordpress.com/2012/06/18/ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน-2/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)