ในสมัยตอนต้รรัชกาลที่ 9 เป็นช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที 2 ซึ่งเศรษฐกิจล่มสลาย ผุ้คนส้ินเนื่อประดาตัว จักรวรรดินิยมอังกฤษและฝรั่งเศสล่มสลาย แต่รัสเซียนและจีนซึ่งยังมีเงินได้เผยแพร่ลัทธิการปกครองแบบคอมมิวนิสต์เข้ามาแทนจักรวรรดินิยม ขณะที่ประเทศในเอเชียที่เพิ่งพ้นากการเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกำลังพะวงและยังตกลงกันไม่ได้ว่าจะใช้ระบอบการปกครองแบบไหน ทำให้เกิดสงครามครั้งใหม่คือสงครามเกาหลี ตามมาด้วยสงครามเวียดนาม
ยุคสัยนั้นทังดลกตะวันตกและตะวันออกมีความพยายามป้องกันการแผ่ขยายองลัทธิคอมมิวินิสต์ เมื่อปี พ.ศ. 2497 มีการทำสนธิสัญญามะนิลา และในสนธิสัญญานั้นมีข้อตกลงข้อหนึ่งที่เีก่ยว้องกับประเทศไทย คือการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงตใต้ หรือ สปอ. SEATO มีสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ อเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออกเตรเลีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ และไทย โดยตั้งสำนักงานในเมืองไทย
ด้วยสภานการณ์ในปี พงศ. 2502-2503 คอมมิวนิสต์รุกคืบเข้ามประชิดถึงชายแดนแม่น้ำโขงแล้ว รัฐบาลไทยเกรงว่าคอมมิวนิสต์จะเป้นภัยต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เนื่องจากก่อนนั้นมีตัวอย่างห้เห็นในประเทศ รัสเซียน ลาว เวียดนาม และกัมพูชา รัฐบาลไทยพยายามทุกวิถีทางป้องกันไม่ให้คอมมิวนิสต์เข้ามา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในเวลานั้นจึงกราบทูลให้ในหลวงเสด็จประพาสต่างประเทศ โดยรัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการทางการทูตส่งจดหมายไปยังนานาประเทศ ให้แต่ละประเทศตอบรับก่อน
" การเสด็นประพาศต่างผระเทศเริมในปี พงศ. 2502 เริ่มต้นที่เียดนามใต้ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของสหรัฐอเมริกา จากนั้นเสด็จฯ อินโดนีเซียที่เคยเป็นอาณานิคมของฮอลแลนด์ ประเทศที่สามคือพม่า ซึ่งมีพรมแกนติดกับจีนและเคยเป็นเมืองขึ้นขององักฤษที่กำลังพะว้าพะวง่ว่าจะเอาลัทธิคอมมิวนิสต์หรือไม่ เป้นการเสด็จไปดูสถานการณ์ว่าเป็นอย่างไร"
พ.ศ. 2503 จึงเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาและยุโรป เรียบลำดับเ้นทางการเสด็จฯ ดังนี้ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอมนีตะวันตก โปรตุเกส สวิตเซอร์แลนด์เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน อิตาลี เพบเยียม ฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ สเปน
ที่สหรัญอเมริกา ในหลวงและสมเด็จพระราชินีได้รับการต้อร้บอย่างดีจากรัฐบาลสหรัฐ โดยการนำของประธานาธิบดี ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ และมีการแถลการณ์ร่วมกันลงวันที 28 มิถุนายน พ.ศ. 2503 ใจความตอนหนึ่งว่า
"..ขอทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องรชอิสริยาภรณ์
Legion of Merit Chief Commander แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จอมทัพแห่งกองทัพไๆทย เนื่องจากพระราชกรณียกิจซึ่งทรงบำเพ็ยมาแล้วอย่งประเสริฐได้ทรงบำเพ็ยพระองค์เป็นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีและมิตรภาพที่มั่นคงในดลกเสรี..ล้นเกล้าทั้งสองพระองค์เสด็จฯ เยือนสหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ ได้ปฏิบัตพระราชกรณียกิจเพื่อเสรีภาพ เอกราช และสันติาพถาวรของโลกใบนี้"
หลังจากพระราชกรณียกิจที่สหรัฐผ่าไปด้วยดีแล้ว ในหลวงแลพระราชินีเสด็จประพาศอังกฤษ ซึ่งอังกฤษก็ดำเนิตามสหรัฐ คือให้การต้อนรับประมุขของไทยอย่างสมพระเกี่ยรติ โดย ควีนเอลิซาเบธที่ 2 ประมุขของสหรัชอาณาจักร และเจ้าชายฟิลิป พระสวามีเสด็จฯ ต้อนรับ ณ สถานีรถไฟวิตอเรียด้วยพระองค์เอง และทรงประทับบนรถม้าเข้าสู่พระราชวังบักกิ้งแฮมร่วมกัน..
เมื่อมีภาพการเสด็จฯ เยือนสหรัฐและอังกฤษเผยแพร่ออกไป จึงง่ายในการเสด็จฯ ประเทศอื่นในยุโรป ซึ่งส่วนใหญ่เป้ฯการเสด็จฯ ตามเครือข่ายราชวง์ยุโรปที่รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จฯ มากก่อน ที่สำคัญคือการที่สหรัฐอเมริกาและองักฤษต้อนรับประมุขของไทย ำทให้ประเทศทั้งหลายในฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับสถานะของไทยว่าไม่ใช้ผุ้แพ้สงคราม
"คนที่ให้เบาะแสเรื่องวัตถุประสงค์ในการเสด็จฯ ต่างประเทศครั้งคือ ดร.ถนัด คอมันตร์ ซึ่งเป้นผุ้ตามเสด็จในเวลานั้น" ไกรฤกษ์กล่าว
" ท่านถนัดบอกว่า ในตอนที่เสด็จฯ กระทรวงต่างปรเทศ คิดว่าสำนักพระราชวังจะบันทึกพระราชภารกิจไว้ แต่มารู้ตอนหลังว่าสำนักพระราชวังก็ไม่ได้บันทึก เรพาะคิดว่ากระทรวงการต่างประเทศจะบันทึก เรื่องนี้จึงขาดหายไปและคลุมเครือว่าพรองค์ท่านเสด็จฯ ทำไม ท่านถนัดเล่าว่าทุกคือนก่อนเข้าพรรทม พระองค์ทรงเรียกไปปรึกษาหารือว่าจะทำอย่างไรต่อ พรุ่งนี้จะเจอใคร จะคุยเรื่องอะไร เป้นบรรยากาศที่ค่อนข้างเครียด ท่านถนัดบอกอีกว่า การเสด็จฯ ครั้งนันเป้นการเสด็จฯ เพื่อทำพระราชภารกิจที่ที่สำคัญเท่ากับสมัยที่รัชกาลที่ 5 เสด็จเจรจาเรื่องรัฐกันชนเมือปี 2440" ไกรฤกษ์ยกคำบอกเล่าของ ดร.ถนัด...
ต่อมา พ.ศ. 2505 ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ปากีสถาน มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ซึ่งเป้ฯประเทศสมาชิก สปอ.
ปี พ.ศ.2506 เสด็จฯ ญีปุ่่น ได้หวัน ฟิลิปปินส์
ปี พ.ศ.2507 เสด็จฯ ประเทศกรีซ เพื่อร่วมงานอภิเษกสมรสพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2
ปี พ.ศ. 2509 เสด็จฯ เยอรมนีตะวันตกและออกเตรีย
ปี พ.ศ. 2510 เสด็จฯ อิหร่าน ซึ่งตอนนั้นังมีารชวงศ์อยู่ และทรงเสด็จฯ เยือนสหรัฐอเมริกาและแคนาดา หลังปี 2510 ไม่เสด็จฯ เยือนต่างประเทศอีกเลย กระทั้ง
ปี พ.ศ. 2537 เสด็จฯ ทรงเปิดสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว เป้นครั้งสุดท้ายในการเสด็จฯ ต่างประเทศ
https://www.prachachat.net/rama9royalfuneral/news-51760
เสด็จฯ เยือนอาเซียน
เสด็จเยือนเวียดนาม
"..ในการมาเยือนประเทศท่านครั้งนี้ เราได้นำเอาไมตรีจิตและความปรารถนาดีของประชาชนของเรามาด้วย ควารู้สึกอันนี้แสดงให้เห็นถึงมิตรภาพที่มีมาอย่งผาสุกระหว่งประเทศของเราทั้งสองมาแต่เก่าก่อน การที่ ฯพณฯ ได้คยไปเยือนประเทศของข้าเจ้านั้น ยังจำกันได้อย่งชัดเจนและได้อย่างน่าชื่นชมความมีน้ำใจและความเข้าอันดีของท่าน ทำหใ้การไปเยื่อนของท่านครั้งน้นเป็นผลสำเร็จอันยิ่งใหญ่ ข้าพเจ้ารู้สึกแน่ใจว่า การไปเยือนประเทศไยของท่านครั้งนั้นเป็นผลสำเร็จอันยิ่งใหญ่ เข้าพเจ้ารู้สึกแน่ใจว่า การไปเยือนประเทศไทยของท่านครั้งนั้นและการมาเหยือนของข้าพเจ้าครั้งนี้ จะช่วยพระชับสัมพันธไมตรีอันมีมาแต่เก่าก่อนนี้ให้ยังยืนสถาพรสืบไป..." พระราชดำรัสบางส่วนของรัชกาลที่ 9
เเมื่อเสด็จกลับไปยังประเทศไทย ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเวียดนามได้ตอบกลับโทรเลขความว่า
" เรารู้สึกเชื่อมั่นว่า การเสด็จฯ ของใต้ฝ่าละออกธุลีพระบาททั้งสองพระองค์ ซึ่งได้ทิ้งความทงจำอันจะลบเลือนมิได้ไว้ทุกปก่งที่พระงอค์เสด็จพระราชดำเนินผ่านไป จะช่วยกระชับสัมพันะไมตรีที่เคยดำรงมาระหว่างประชาชนของเราให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
ถึงแม้จะยังรู้สึกเสียใจ ที่การเสด็จฯ พำนักของพระองค์ครั้งนี้เป็ฯไปชั่วระยะเวลาอันสั้น ทางฝ่ายเรา ข้าพระเจ้าขอให้พระองค์ทั้งสองทรับรับความปรารถนาดีอันล้นพ้นเพื่อความสุขสวัสดีของพระองค์และพรบรมวงศานุวงศื และเพื่อความยิ่งใหญ่ของรัชสมัยของพระองค์ และความเจริญรุ่งเรืองของประชาชนชาวไทย"
https://www.thairath.co.th/content/772737
เสด็จเยือนอินโดนีเซีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 8-16 กุมภาพันธ์ 2503 ประชาชนชาวอินโดนีเซีย เฝ้า ฯ รับเสด็จและถวายการต้อนรับระหว่างทางจากสนามบินไปสู่ที่ประทับ ณ พระราชวังเนการา
http://www.prdnorth.in.th/The_King/king-abroad_02.php
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยงุ่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนีนาถเสด็จถึงสนามบินดูบัน บาหลี อินโดนีเซีย ประทับบนพระแท่นเพื่อรับความเคารพจากทหารกองเกี่ยรติยศ ประธานนาธิบดี วูการ์โน นำเสด็จพระบาทสมเด้พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินผ่านประชาชนชาวอินโดนีเซียที่เผ้ารอรับเสด็จ ชาวบาหลีโปรยดอกไม่หอมเป็นการถวายการต้อนรับ
เสด็จพระราชดำเนินเยือนพม่า..โดยเสด็จตามคำกราบบังคมทูลเชิญของนาย อู วิน หม่อง ประธานาธิบดีของพม่า ระหว่างวันทีี่ 2-5 มีนาคม 2503 โดยเสด็จฯ ไปพร้อมกบสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเครื่องบินจอดเที่ยบ ทันที่ที่ได้เสด็จประกฎพระองค์ที่ประตูของเครื่องบิน ก็มีปืนใหญ่ยิ่งสลุตถวายคำนับ 21 นัด เมื่อเสด็จฯ ถึง ณ ที่บริเวณประรำพิธี ท้งสองพระงอค์ขึ้นสุแท่นถวายความเคารพ รพ้อมด้วย พระธานาธิบดี อุ วิน หม่อง และมาดาม วิน หม่อง
หลังจากนั้นทั้งสองพระงอค์ได้เกสพ็จฯ ไปยังทำเนียบประธานาธิดบีพท่า ซึ่งทางฝ่ายรัฐบาลพม่าได้จัดไว้เป้นที่ประทับ และเสด็จฯ ไปยังห้องรับแชขกเพื่อให้ประธานาธิดบี อู วิน หม่อง ไ้เข้าผ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยภพรณ์ ชั้นสูงสุดของพม่าชื่อว่ "อัครมหาสิริสฺธรรมา" และพระองค์ก็ไ้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภร์ปฐมจุลจอมเหล้าเป้นการตอบแทน ในการนี้ทางฝ่ายนายกรัฐมนตรีของพท่า ได้ขอพระราชทานนวโรกาศถวายพระกระยาหารกลางวัน..
ในวันแรก เมื่อเสด็จฯไปถึงยังประเทศพม่า ได้เสด็จฯ เพื่อรบคำกราบบังคมทูลรับเสด็จากนากยกรฐมนตรี ณ ศาลาเทศบาลเมืองยางกุ้งในวเลาบ่าย 3 โมงครึ่ง ระหว่างทางที่ชาวพม่ามารอรับเสด็จอย่างเนืองแน่น มีการโปรยข้าวตอกดอกไม้เพื่ออวรพระตลอดเส้นทางกรเส็จฯ เมื่อรถยนต์พระที่นั่งมาถึง ณ ศาลาเทศบาลเมืองย่างกุ้ง ก้มีการปรธคมกลองชนะ ตามประเพณีรับเสด็จ
จากนั้นเสด็จฯ ไปทรงงางพวงมาลา ที่สุสานอาซานี หรือสุสานวีรชน ที่บรรจุศพวีนรชนของชาติซึ่งเสียชีวิตเมื่อครั้งพม่าได้รับเอกราชใหม่ๆ
วันรุ่งขึ้น 3 มีนาคม 2503 ทั้งสองพระองค์ฉลองพระองค์ตามแบบราชประเพณีไทยเเพื่อเสด็จฯ ไปยังมหาเจดีย์ชเวดากอง ซึ่งการที่ฉลองพระองคเช่นนี้สืบเนื่องมาจากการเลปี่ยนธรรมเนียมของพม่าในการถอดรองเท้าทั้งชาวพื้นเมืองและชาวต่างชาติก่อนเข้าสูเขตพุทธสถาน ซึ่งทั้งสองพระองค์ทรงปฏิบัติตามธรรมเนียมประเพณี อันเป็นพระราชประสงค์ที่จะแสดงให้เห็นถึงพระราชไมตรีอันดีแก่ชาวพม่า ก่อนเสด็จกลับทั้งสองพระองค์ได้ทรงปลูกต้นโพธิ์ 2 ต้นที่นำไปจากประเทศไทย เพื่อเป็นอนุสรณืแห่งสัมพันธไม่ตรีระหว่างไทยกับพม่า จากนั้นเสด็๗ฯ โดยทางชลมารค(ทางเรือ) เพื่อประทับเรือพระที่นั่งเมขา เพื่อชมทัศนียภาพของแม่น้ำอิรวดี ประธานาธิบดีพม่า ได้จัดการแสดงรำพื้นเมืองเพื่อถวาย ต่อจากนั้นเสด็จไปทรงเทนนิสต่วมกับประธานาธิดีพม่า
วันที่ 4 มีนาคม 2503 ทรงเสด็จทอดพระเนตร โรงงานเภสัชกรรมของพม่าซึงถือว่ายิ่งใหญ่และทันสมัยที่สุดในเอเชีย ณ ขณะนั้น พระองค์ทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นเวลา 20.00 น. ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลี้ยงอาหารค่ำ แก่ประธานาธิบดี และภรรยา รวมถึงนายกรัฐมนตรีด้วย บรรยาการศในงาน บรระลงไปด้วยเพลงพระราชนิพนธ์ และมีการจัการฟ้อนเล็บแบบประเพณีไทยสมเด็จพระนางเจ้าฯ ได้พระราชทานของทีระลึกเป็นเล็บฟ้อนทองคำ แก่มาดามวิน หม่อง บรรยากาศในงานเต็มไปด้วยความครื้นเครงเป็นกันเอง ข้าราชการฝ่ายไทยและฝ่ายพม่ารวมรำวงอย่างสนุกสนาน..
จากนั้นเสด็จกลับในวันรุ่งขึ้น... นอกจากนั้นพระบรมวงศานุวงศืชขั้นสุงก็เสด็จฯ เยือนพม่าอีกหลายครั้ง เพื่อเพิ่มพูนความสัมพันะ์ยิ่งขึ้นไป ดังพระราชดำรัสที่ว่า
" ยึดมั่นในสัจจะแก่งพุทธศาสนาอย่างเดียวกัน รวมทั้งการยึดมั่นในสันติภาพและความร่วมมือตอกัน.."
https://www.thairath.co.th/content/772737
สหพันธรัฐมาลายา หรือมาเลซียในปัจจุบัน ใน ปี 2505 "ยังดิ เปอร์ตควน อากง" ซึ่งเป็นชื่อตำแหน่งที่หมายถึง "กษัตรยิ์ของมลายา" และ "ประไหมสุหรี" ซึ่งหมายถึง "พระราชินนี" ได้ถวายการต้อรับและได้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดแดในหลวงรัชกาลที 9
www.dailynews.co.th/article/286314
ฟิลิปปินส์ ทรงเสด็จฯเยือนอย่างเป็นทางการในวันที่ 9-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เพื่อเป้นการเจริญสัมพันธ์ไมตรีระหว่างราชอาณาจักรไทยและสาธารณะรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหน้าประวัติศาส๖ร์ครั้งสำคัญของโลกเสรีนิยมที่กำลังอยุ่ในบรรยากาศของสงครามเย็น
9 กรกฎาคม 2506 วันเเรกของการเสด็จฯเยือน ประธานาธิดบี ออสคโด มากาปากัล และภริยา พร้อมด้วยคณะทุตานุทูต..เฝ้ารอรับเสด็จที่ท่าอากาศยานกรุงมะนิลา ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ประมุขระดับพระมหากาัตรยิ์เสด็จพระราชดำเนินเยือนเป็นครังแรกภายหลังได้รับเอกราช
ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้กราบังคมทุลับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวและสมเด้จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยกล่าวถึงมิตรภาพความสัมพันธ์อันดีระหว่างสองประเทศที่มีมา ซึ่งรพะบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวทรงมีพระราดำรัสตอบตอนหนึ่่งว่า "ถึงแม้ว่าคนไทยและคนฟิลิปปนส์จะมัลักษณะท่าทางตลอดจนการคร่องชีพและอุดมคติในทางการเมืองคล้ายคลึงันทุกย่างก็ตามที แต่ประชาชนทั้งสองประเทศนี้ก็ยังไม่มีความรู้จักกันเพียงพอนัก ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้เราต้องมาที่นี้ เพระว่าจะเป็การช่วยทำใหประชาชนทั้งสองประเทศได้เกิดความสนใจซึ่งกัและกันมากขึ้น นี้เป็นส่ิงที่เราต้องการเหนือส่ิงอื่นใดในการมาเยือนครั้งนี้"..
https://web.facebook.com/9mcot/videos/722182027936175/?_rdc=1&_rdr
ในปี พ.ศ. 2537 นั้น ถือเป็นกรณีพิเศษมาก เพราะในวันที่ 8-9 มีนาคม พ.ศ. 2537 พระบาทสมเด็นพระเจ้าอยุ่หัวไ้ด้เสด้จฯ เยือนสาธารัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เอย่างเป็นทางการ พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งนับเป้นการเสด็จฯ เยือนต่างประเทศอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ทรงงว่างเว้นจาการเสด็จฯ มาเป็นเวลานานกว่า 30 ปี
เป็นการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชกรณียกิจ คือ ทรงเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ร่วมกับ นายหนูอัก พูมสะหวัน ประธานประทศลาว ซึ่งเป้นสะพานแห่งแรกที่สร้างขึ้นเพื่อเชื่อมดินแดนของทั้งสองประเทศเข้าด้วยกัน เป้ฯสะพานคอนกรีตอย่างทันสมัย ตัวสะพานมีความยาว 1,170 เมตร มีทางรถ 2 ช่วงทางจราจร ทางเดิน 2 ช่องทาง และทางรถไฟ หว้าง 1 เมตร 1 ราง ใช้งบประมาณก่อสร้าง 30,000,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ด้วยความช่วยเหลือจากรัฐบาลออสเตรเลีย ใช้ระยะเวลาก่อสร้างระหว่าง ตุลาคม พ.ศ. 2534-เมษายน พ.ศ. 2537
เมื่อทรงประกอบพิธเปิดสะพานแล้ว ได้เสด็จพระราชดำเนินต่อไปทรงงานยังดครงการพระราชดำริต่างๆ ที่ได้พระราชทานให้แก่ ประชาชนชาวลาวมาก่อนห้านั้น เพื่อทรงติดตามความก้าวหน้า จากนั้นจึงได้เสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่ที่ประทับที่ทางการลาวจัดถวาย ณ อาหารหอค่ำ ในเวลาค่ำ นายหนูอัก พูมสะหวันประธานประเทศลาว และภริยา ไ้จัดถวายพระกระยาหารค่ำ...
https://www.thairath.co.th/content/374841
ชูเส้นทาง "ทรงงาน" ร.9 เชื่อมเที่ยวอาเซียน
ปัจจุบันนักท่องเที่ยวต่างชาิที่เดนทางเข้าไย เป้นปลุ่มที่เดินทางมาซ้ำ สัดส่วน 70% โดยกลุ่มนี้มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องทุปี ขณะที่กลุ่มเดนทางมาไทยเป้นครั้งแรก สัดส่วน 30% สะท้อนภาพได้ว่าสถานที่ท่องเที่ยว ความหลากหลายทางะรรมชาติ สินค้าบริการศฺลปวัฒนธรรมไทย ความคุ้มค่าเงนิ และคนไทย ล้วนเป้นเสน่ห์จูงใจให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจเดนิทางมาเยือนได้บ่อยครั้ง
ยุทธศักดิ์ สุภสร ผุ้ว่ากากรการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ในฐานะแม่ทัพใหญ่ขับเคลื่อนแผนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับการท่องเที่ยวไทย เล่าว่า นักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่มมาซ้ำ มีแนวโน้มขยายตัวสุงขึ้น เพราะสิ่งอำนวนความสะดวกในการเดินทาง ทางบก ทางอากาศ และทางน้ำ เชื่อมต่อการเข้าถึงสภานที่ท่องเที่ยวจากเมืองรองของแต่ละประเทศบินตรงสุ่เมืองท่องเที่ยวของไทยได้อย่งสะดวกรวดเร็ซ ซึ่งเป้นผลมาจาการเปิดเส้นทางการบินของสายาการบินปกติ และสายการบินต้นทุนต่ำ(โลว์คอสต์ แอร์ไลน์) รวมถึงความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยมีทุกรูปแบบให้นักเดินทางได้เปิดประสบการณ์ตลอดการพักผ่าน
ทั้งนี้ โจทย์ใหญ่ในการสงเสริมการตลาดในปีช่วงครึงปีหลัง และต้นปีหน้า เน้นการสร้างสมดุลสัดส่วนนักท่องเที่ยว โดยบการำนเสนอความหลากหลายสินคาและบริการเพ่ิมขึ้น การเจาะกลุ่มเฉพาะ (นิชมาร์เก็ตป ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อรักษาฐานที่มีความชื่นชอบและรักที่จะเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทย ขณะที่กลุมเฟิร์ส วิสิท ต้องเร่งให้เติบโตทุกตลาด เพระากลุ่มน้ยินดีจ่ายและกำลังซื้อสูง
"แนวโน้มการท่องเที่ยวเดือน พ.ย.-ธ.ค.นี้ ยอดการจองล่วงหน้าในหลายตลาดคอนข้างเติบโต ทั้งเ้นทางระยะใกล้และระยไกลอย่างจีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ยุโรป อเมริกา ส่วนระยใกล้ ดยเฉพาะตลาออาเวียนจะเร่งสร้างภาพลักษณ์ให้ประเทศไทยเป้นวิกเอเด์ เดสติเนชั่นของคนอาเซียน" ยุทธศักดิ์ กล่าว
นอกจากนี้ ททท. อยู่ระหว่างการรวบรวมเส้นทางทรงงานของพระบาทสมเด็๗พระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 บริเวณพื้นที่ที่สามารถเชื่มโยงการเดินทางกับประเทศสมาชิกอาเซียนในทุกภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ และใต้ เพื่อจัดทำเป้นเส้นทางเพ็กเกจการทอ่งเที่ยวตามรอยทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 รวมถึงการนำเสนอซ๊อปปิ้งที่เกิดขึ้นมาจากดครงการพระราชดำริให้กับนักท่องเที่ยวอาเซียนที่ชื่นชอบากรซื้อสินค้าไทยด้วย 72 เส้นทางตามรอยจะนำเสนอกับตลาดอาเซียนควบคู่ดวย
ยุทธศักดิ์ บอกว่ ช่วงไตรมาศ 4 ททท. เตรียมเปิดตัวแคมเปญปีแห่งการท่องเที่ยวอย่างเป้ฯางการ รวมถึงการทยอยจัดงานกิจกรรมส่งเสริมการเดินอีกหลายโครงการ เช่น ลอยกระทง ขระที่บรรยากาศการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศเชื่อว่าการเข้าสู่ฤดูหนาว และอากาศที่เย็กว่าทุกปี จะกรุตุ้นให้คนไทยวางแผนเดินทางท่องเที่ยวอีกครั้งในช่วง 2 เดือนสุดท้ายปลายปี ซึ่งคาดว่าไตรมาสสุดท้ายจะมีคนไทยเที่ยวประมาณ 40-50 ล้านคน/ครั้ง ขณะที่ต่างชาติจะเดินทางมาไทยตลอดปีนี้ประมาณ 34 ล้านคน
https://www.posttoday.com/biz/aec/news/522106