The King is...

           
สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่อยุ่ควบคู่กับรัฐไทยและสังคมไทยมาอย่างยาวนานหลายศตวรรษ การอพยพเรื่องมาของชนชาติไทยจากภูเขาอัลไตทำให้ได้รับอิทธิพลต่างๆ โดยเฉพาะชนชาติขอม (เขมรโบราณ) ซึ่งมีอารยธรรมและความเจริญอยู่แล้วและนับถือศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ชนชาติไทยจึงรับอิทธิพลของศสนาพรามหมณ์ฮินดูเข้ามาในระบบการเมืองการปกครองและสังคมไทยเป้นอย่างมาก แต่เดิมเื่อครั้งก่อตั้งรัฐไทยในอดีตจนถึงอาณาจักรสุโขทัยตอนต้น รัฐไทยมีการปกครองที่เป้ฯระบบการปกครองของคนไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของไทยโดยเฉพาะ คือระบบการปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะเป็นเสมือน "พ่อ" และราษฎรมีสถานะเป็น "ลูก" มีความสัมพันะ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับราษำรเสมือนความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูก
          แต่เมื่อชนาติไทยเข้ามาตั้งถิ่นฐานในอินแดนสุวรรณภูมิอันเป้นอินแดนอิทธิพลของขอม ซตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ฮินดุพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน "พระเจ้า" ที่อยุ่เหนือมวลมนุษย์ทังปว
 ตามคติความเชื่อของพรมหมณ์ฮินดูสถานะของราษฎรเป็นเสมือน "ผู้รับใช้พระมหากษัตริย์" ความสัมพันะ์ระหว่างพระมหากษัตริย์ดับราษฎรในรัฐไทยใหม่ในอาณาจักรสุโขทัยตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 19 จึงเปลียนไป..จากพ่อปกครองลูก เป็น นายปกครองบ่าว แทนที่ และในห้วงเวลาเดียวกันพุทธศาสนานิกายเถรวาทไ้แผ่เข้ามาในอาณาจักรสุโขทัยผ่านทางศรีลังกาและพม่าซึ่งเข้ามามีอิทธิพลต่อความเชื่อทางศาสนาของคนไทยและสังคมไทยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคติความเชื่อทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับหลักะรรมของผุ้ปกครอง อาทิ ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตรธรรม พรหมวิหารธรรม เป็นต้น
ประกอบกับการที่ชนาตไทยมีความผุกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์แบบ "พ่อครองลูก" ซึ่งเป็นระบบของไทยแต่ดั้งเดิมจึงยังคงมีอิทธิพลต่อความสัมพันะ์ระหว่างพระมหากษัีตริย์กับราษฎรผสมผสานกันระหว่างสถานะของพระมหากษัตริย์กับราษฎรแบบ "นายปกครองย่าว" และ "พ่อปกครองลูก" ทำให้ความผุกพันระหวางพระมหากษัตริย์กับราษฎรยังมีอิทธิพลของ "พ่อปกครองลูก" มากว่า "นายปกครองบ่าว"
         เมื่อรัฐไทยเปิ้เประเทศเข้าความทันสมัยแบบตะวันตกในรัชสมัยของรับกาลที่ 4,5,6 และ 7 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไยทั้งในด้านการเมือง เศราฐฏิจและสังคมเป็นแบบอบย่างประเทศตะวันตกเป็นอย่างมาก และเป็นปัจจัยสำคัญทีทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจกการตกเป็นอาณานิคมของประเทศมหาอำนาจตะวันตกซึ่งในห้วงระยะเวลานั้นต่างก็มุ่งมั่นแสวงหาอาณานิคมไปทั้งโลกโดยเฉพาะเอเลียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยเป็นเพรียงประเทศเดียวในอินแดนสุวรรณ๓ุมิที่รอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคม สาเหตุสำคัญก้เพราะพระปรีชาสามารถในการแก้ปัญหาของพระมหากษัตริย์ไทยโดยเฉพาะรับกาลที่ 4,5,6และ 7 อย่างไรก็ดีภายหลังจากประเทศไทยเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์อันเกิดจากอิทธิพลของยุคสังคมสารสนเทศที่เร่ิมตั้งแต่ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ส่งผลให้อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์มีประสิทธิภาพเป็นยอย่างมาก ประชาชนในประเทศต่างๆ รวมทั้งคนไทยสามารถรับรู้ขอมูลข่าวสารได้
อย่างไร้พรมแดน ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์สถาบนพระมหากษัริยืไทยสามารถกรทำกันได้อย่างหว้างขวางผ่านสื่อทางสังคมออนไลน์ในระบบสารสนเทศ ในทศวรรษที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันส่งผลให้มีการนำเอาแนวคิดเกี่ยวกับสถานภาพของสถาบันพระมหากษัตริย์ฺไทยมาเปรียบเที่ยบกับสถาบันพระมหากษัรริย์ในบางประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งพระมหากษัตริย์ของประเทศอังกฤษและญี่ปุ่น ทั้งๆ ที่ปัจจัยอัเป็นองค์ประอบ สภาภาพ บทบาท หน้าที่ และทัสนคติ ความเชื่อมีความแตกต่างกันระวห่งสถบันพระมหากษัตริย์ไทยกับสถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษและญี่ปุ่นตามที่มีผุ้วิพากษ์วิจารณ์และเยแพร่ความคิดเห็นสู่สาธารณชนของทั้งไทยและต่างประเทศผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ด้วยเหตุนี้สถาบนพระปกเกล้าได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวจึงจัดสรรทุนวิจัยมอบหมายให้ รศ.ดร. ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ หัวหน้าโครงการวิจัย และคณะวิจัยประกอบด้วย ศ.พิเศษ นรนิตด เศรษฐบุตร ที่ปรึกษา, นางสาวปัทมา สูบกำปัง, ดร.สติธร ธนานิติโชติ, นางสาวนงลักาณ์ อานี และนางสาวอุมาภรณ์ ศรสุทธิ์ ทำการวิจัยเป็นระยะเวลา 10 เดือน (ตุลาคม 2556-กรกฎาคม 2557) โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาสถานะและบทบาทของสถาบันพระมาหกษัตริย์ในสงคมไทยปัจจุบัน และทัศนาคติของประชาชนที่มีต่อสถานะและบทบาทของสถบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทยปัจจุบัน...
              ผลการวิจัยพบวว่า 1) ทัศนคติและควมเชื่อของคนไทยที่ีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มีอย่างเหนียวแน่นผุกพันกันอย่งแยกไม่ออกเสมือน "น้ำ" กับ "ปลา" กล่าวคือประชาชนเป็นเสมือน "น้ำ" และพระมหากษัตริย์เป็นเสมือน "ปลา" ซึ่งทังน้ำและปลาต้องพึงพาอาศัยกันควมเชื่อว่าพระมหากษัตริยืเป็นเสมือน "พ่อ" และประชาชนเป็นเสมือน "ลูก" ที่เคยผูกพันซึ่งกันและกันมาในอดีตก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงมาจนถึงปัจจุบันอันส่งผลให้คนไทยส่วนใหญ่เชื่อว่าสถาบันพระมหากษัตริย์มีคุณูปการต่อคนไทย รัฐ
ไทย และสังคมไทย, 2) สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการปรบตัวให้เข้ากับสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดมาทำให้สถาบัพระมหากษัตริย์ไทยมีความทันสมัยอันส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางการเมืองและผลประโยชน์แห่งชาติ 3) สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีการแลกเปลี่ยนพึ่งพาระหว่างสภาบันพระมหากษัตริย์กับประชาชนได้อย่างเหมาะสมลงตัว 4) สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความเป็นตัวแทนของชาติและประชาชน, 5) สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นชาติทำให้ชาติมีความเข้มแข็งและดำรงความเป็นชาติได้อย่างยั่งยืนตลอดมา, 6) เมื่อเปรียบเที่ยบกับสถบันพระมหากษัตริย์ของประเทศอังกฤษและประเทศญี่ปุ่นมีความแตกต่งกันทั้งสภาพภูมิหลังทางประวัติศสตร์คติความเชื่อในสถบันพระมหากษัตริย์ กล่าวคือคนอังกฤษมีทัศนคติและความเชื่อว่าสถบันพระมหากษัตริย์เป็นเพียงสัญลักษณ์ของเอกภาพและคุณความดของชาติ ส่วนคนญี่ปุ่นมีคติความเชื่อว่าจักรพรรดิเป้นส่วนประกอบของรัฐที่ศักดิ์สิทธิ์เสมือนพระอาทิตย์ซึ่งเป็นเสมือนพระเจ้าผุ้ให้กำเนิดและคุ้มคีองชาติและประชาชน ด้วยเหตุนี้สถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย สถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษ และสถาบันจักรพรรดิญี่ป่นุจึงมีความแตกต่างกันทั้งในด้านประวัติความเป็นมาคติดความเชื่อและอุดมการณ์ทางการเมืองของประชาชน..
http://kpi.ac.th/media/pdf/M10_636.pdf


            ชีวิตส่วนพระองค์
            กีฬา พระบาทสมเด็จพระปมรินทรมหาภุมิพลอดุลยเดชโปรดกีฬาเรือใบเป้นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยแข่งเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามดปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ซึ่งพระองค์ทรงชนะเลิศเหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาภ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างหลายรุ่น พระองค์พระราชทานนามเรือใบปรเภทม็อธ Moth ที่่รงสร้างขึ้นว่ เรือใบมด เรื่อใบซูเปอร์มด และเรือใบไมโครมด ถึงแม้วาเรือใบลฃำสุดท้ายที่พระงอค์ทรงต่อคือ เรืองโม้ค moke เมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เรือใบซูเปอร์มดยังถุกใช้แข่งขันในระดับนานาชาติที่จัดในประเทศไทยหลายครั้ง ครั้งสุดท้าย คือ เมื่อปี พ.ศ. 2528 ในกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 13
           ดนตรี
            พระองค์ทรงดนตรีได้หลายชนิ เช่น แซ็กโซโฟน คราดิเน็ต ทรัมเป็ด กีตาร์ และเปียโน โปรดดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก และพระองค์ได้ประพันธ์หลายเพลง เช่น เพลงพระราชนิพนธ์แสงเท่ยน เป็นเพลงแรก รวมบทเพลงที่ประพันธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง
            เพลงชะตาชีวิต หรือ H.M.Blue เป็นเพลงรพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประทเศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงพระนิพนธ์คำร้องภาษาอังกษhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A#.E0.B8.8A.E0.B8.B5.E0.B8.A7.E0.B8.B4.E0.B8.95.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.B9.8C
              VR 009 
               "มนัส ทรงแสง" อดีตรองอธิบดีกรมไปรณีย์โทรเลข และอดีตรองเลขาธการ สำนักงานคณะกรรมการอกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ผุ้ใช้าหัสนักวิทยุสมัคเล่น VR 019 ยกย่อว่พระอัจฉริยภาพทางด้านการสื่อสาร
             
สมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระทัยด้านการสื่อสารตั้งแต่ทรงพระเยาว์ พระองค์ท่านทรงให้ความสำคัญกี่ยวกับการสื่อสารอย่างมาก เพื่อใ้ในกาตอดต่อสื่อสารกับประชาชน ตลอดจนการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ของพสกนิกรชาวไทย ที่ประสบภัยพิพบัติด้วย
               จุดเริ่มจ้รกำเนิดวิทยุสมัครเล่นในไทย ก่อตั้งและผลักดันตั้งแต่เมื่อปี 507 มีเจ้หน้าที่สถานทูตอเมริกา ทหารที่ปฏิบัติงานในประเทศไทย ร่วมกับ ข้าราชการพลเรือน ตังเป้นสมาคนนักวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย แต่ไม่อนุญาตให้ใช้วิทยุได้ เพราะเหตุด้วยภัยความมั่นคง
                หลังจากนั้นปี 2524 พล.ต.ต. สุชาติ เผือกสกนธ์ อดีตอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข กราบบังคมทูลสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช  ขอพระราชวินิจฉัย ให้ใช้วิทยุสื่อสารเพื่อประดยชน์สาธารณะ ให้ถูกกฎหมาย ไม่ต้องแอบใช้กัน
                พระองค์ท่านก็รับสั่งว่า "ก็ดีซิ ที่เค้าจะได้ภาคภูมิใจ"
                 พระองค์ท่านได้รับ การทุลเกล้าทุลกระหม่อม ภวายควอไซท์ VR 009 จาก พล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกนธ์ ในวันที่ 5 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันเปิดศูนย์ฯ และตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษา พล.ต.ต.สสุชาติ เป้นคนนำพิธีถวายพระพรชัยมงคลทางวิทยุด้วย จนจบ โดยพล.ต.ต.สุชาติ ได้กล่าวรายงานสรุปว่า มีผุ้มาถวายพระพรกี่คน จากนั้นก็เงียบ..แต่พระองค์ท่านทรงติดต่อเข้ามาว่า "ขอบใจ VR001 (พล.ต.ต.สุชาติ) ที่มาอวยพรวันเกิดให้กับ VR 009 ในวันนี้" ซึ่งทุกคนตื่นเต้นดีใจที่พระงอค์ท่านทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อวงการวิทยุสมัครเล่น
               ในช่วงนึง พระองค์ทรงใช้ VR 009 คุยกับ VR019 (มนัส ทรงแสง) พูดถึงเรื่องของเล่น พระองค์ท่านถามมาว่า "ยังจำความได้มั้ยเมื่อสมัยเด็กๆ VR019 มีของเล่น ระหว่างของเล่นที่ซื้อ กับของเล่นที่ประกอบเอง อันไหนมีความหมายมากว่ากัน...? ก็ยัวไม่ทันได้ตอบ พระองค์ท่านก็ตาอบมาว ไของที่ประดิษ์ขึ้เอง ถึงแม้ว่ามันจะไม่เรียบร้อยเท่าไหร่ แต่มันมีความหมายมาก..."
               ในช่วงเหตุวาตภัยที่อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี เมื่อปี 2539 ซึ่งมนักวิทยุสมัคเล่นอย่กออกไปช่วยเหลือชาวบ้าน และติดต่อเข้ามายังศูนย์สายลม เพื่อขอความช่วยเหลือ ต้องเตียมการอย่างไร ขณะนั้น พระองค์ท่านติดต่อเข้าม เพื่อแนะนำวิธีที่ถุต้องให้อาสาสมัครในการออกไปช่ยเหลือประชาชน กล่าวว่า
             "สิ่งสำคัญคือ การไม่เข้าไปเป็นภาระของคนในพื้นที่ พร้อมเตรยมระบบเครื่องมือสื่อสารที่มีความพร้อม ด้วยการนำวิทธยุในรถยนต์ไปติดตั้งในตัวเมือง โดยให้หาพื้นที่สูงติดกับเสาสัญญาณ เพื่อให้นักวิทยุที่เข้าไปในพื้นที่สาารถติดต่อออกมาได้" และยังละเดียวถึงขึ้นต้องเตียมเรื่องแบตเตอรีสำรอง ต้องมีฉนวนหุ้มแบตเตอรีป้องกันไม่ให้โดนโลหะ หรือเศษสตางค์ทำให้ช็อตขั้น และไม่มีพลังงานใช้..https://www.it24hrs.com/2016/vr-009-king-bhumibol-hs1a-vr-009/
              "คุณทองแดง" สุนัขทรงเลี้ยง 
               ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดศุนย์การแพทย์พระราม 9 ก็ได้มีนายแพทย์คนหนึ่ง นำลูกหมาที่มีลักษณะโดดเด่นตัวนี้มาทูลเหล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวทอดพระเนตร แล้วจึงมีรับสังว่า ให้นำเข้ามาเลี้ยงเรพาสภาพของนังแดงผุ้เป็นแม่หนานั้น ทรุดโทรมเ็มที่ ไม่สามารถเลี้ยงลุกเองได้
               เจ้าหมาน้อยตัวนี้ได้เข้าเฝ้าฯ ถวายตัวเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ขณะที่อายุได้ 5 สัปดาห์ ที่พระตำหนักจตรลดารโหฐาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวพระราชทานชื่อว่า "ทองแดง" และเมื่อเป็นสุนัขทรงเลี้ยง จึงเรียกขานว่า "คุณทองแดง" เช่นเดี่ยวกับสุนัขทรงเลี้ยงตัวอื่นๆ คุณทองแดง นับเป็นสุนัขทรงเลี้ยงตัวที่ 17 ในพระบรมสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว...
                คุณทองแดงเป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องจากเป็นสุนัขทีแสนรุ้ผิดกับสุนัขทั่วไป รุปร่างของคุณทองแดงนั้น พระบาทสมเด็นพระเจ้าอยู่หัว ทรงระลึกว่า เคยทอดพระเจตเห็นในหนังสือเกี่ยวกับสุนัขพันธ์ุต่างๆ เมื่อทรงค้นในหนงสือเล่นั้น ก็ปรากฎว่า ทองแดงมมีลักษณะบางประการคล้ายคลึงกับสุนัขพันธุ์ "บาเซนจิ"..
               เมื่อเข้ามาอยู่ในวังคุณทองแดงก็เป็นที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระจ้าอยุ่หัว เนื่องจากเปนสุนัขทีฉลาดมากความฉลาดของคุณทองแดง เช่น เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเรยกให้คุณทองแดงขึ้นเฝ้าเพื่อทีจะชั่งน้ำหนัก แค่เพียงรับสั่งว่า "ทองแดงไปชั่งน้ำหนัก" คุณทองแดงก็จะเดินขึ้นตาชั่ง หรือเวลาที่พระบาทสมเ็จพระเจ้าอยุ่หัว เสด็จแปรพระราชฐานไปประทับที่พระตำหนักเปี่ยมสุข พระราชวังไกลกังวล เมื่อเสด็จพระราชดำเนินลงาเพื่อทรงออกกำลังตรงถนนบริเวณชายหาด ซึ่งมีต้นพระตำหนักเปี่ยมสุข พระราชังไกลกังวล เมื่อเสด็จพระราชดำเนินลงมาเพื่อทรงออกกำลังตงภนนบริเวณชายหาด ซึ่งมีต้นมะพร้าวอยุ่ เพียงรับสั่งว่า "อ้อมต้นมะพร้าว" คุณทองแดงก็จะวิ่งอ้อมต้นมะพร้าวทันที่ โดยไม่ต้องมีการสอน และเมื่อวิ่งอ้อมต้นมะพร้าวไปสังครึ่งต้น คุณทองแดงก็จะหยุดหันมามองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว..
           
ในปี พ.ศ. 2545 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัว พระราชนิพนธ์ เรื่องทองแดง The Story of Tongdaeng เผยแพร่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษใสเล่มเดียวกัน เรื่องทองแดงเปนหนังสือพระรชนิพนธ์ที่ติดอันดับขายดีที่สุดของประเทศ โดยมีบริษัท อมรินทร์ บุ๊คเซ้นเตอร์ จำกัด เป้นผุ้รับจัดพิมพ์ ซึ่งสร้งปรากฎการณ์ใหม่ให้วงการหนังสือจากยอดจำหน่ายจำนวน ห้าหมื่นเล่ม ที่สามารถขายหมดเกลี้ยงแผง ในวันแรก ที่สำคัญ หนังสือยังเกิดการขาดตลาดไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน และมียอดสังจองอีกว่า หนึ่งแสนห้าหมื่นเล่ม และต่อมาทรงพระราชทนพระบรมราชนุญาตให้จัดพิมพ์ "ทองแดงฉบับการ์ตูน"
             28 ธันวาคม 2558 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ออกแถลงการณ์ ประกาศว่า "คุณทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสียชีวิตแล้ว ณ วังไกลกังวล...http://news.trueid.net/detail/28748
             พระราชทรัพย์
              พระราชทรัพยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ส่วนใหญอยู่ในรูปของที่ดินและหุ้นโดยแบ่งออกได้เป็นส่วนๆ ได้โดยสังเขป คือทรัพย์สินส่วนพระองค์ พระคลังข้างที่ และทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งพระองค์อุทิศพระราชทรัพย์ส่วนหนึ่งเพื่อดครงการพระราชดำริ จำนวนกว่า 4,000 โครงการ มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ เพ่อพัฒนาายในประเทศในด้านกสิกรรม เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การส่งเสริมอาชีพ สาธารณูปโภ และการศึกษา
             ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อ้างว่า ทรัพย์สินส่วนรพะมหากษัตริย์เป็นทรัพย์สินของแผ่นดินไม่ใช่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ โดยอยู่ในบัคับแห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2479 ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวมีการแก้ไข สองครั้งในปี พ.ศ.2484 และ พ.ศ. 2491 ซึ่งแยกทรพัย์สินส่วนพระองค์ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดินออกจากัน ข้ออ้างที่สำคัญอย่างหนึ่งคือตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์(ฉบัยที่ 3 ) พ.ศ. 2491 กำหนดให้ รัฐมนตรีว่ากรกระทรวงการคลังของไทยเป็นประธานคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 มี พระวรวงศเธอ พระองค์เจ้วิวัฒนไชย เป็นประธานคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คนแรก และอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ เป้ฯประธานคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ คนสุดทายตามกฎหมายพะราชบัญญติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2491
           
ทรัพย์สินส่วนใหย่ ได้แก่ ที่ดินและหุ้นทั้งนี้ บริษัท ซีบีริชาร์เอลลิส บริษัทโบรกเกอร์ด้านอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ของโลก ได้เคยประมาณการตัวเลขพื้นที่ที่อยุ่ในการดุแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อยุ่ที่ 32,500 ไร่ โดยในบางพื้นที่มีมุลค่าสุงกว่า 380 ล้านบาทต่อไร่ ทำให้พระองค์ทรงได้รบการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์บ ให้เป็นกษัตรยิ์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก.. แต่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้ชีแจงถึงบทความดังกล่าวว่า "มีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจากในความเป็นจริง ทรัพย์สินที่นำมาประเมินนั้นเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน มิใช้ทรัพย์สินส่วนพระงอค์"...
            ทรัพย์สินส่วนพระองค์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติกำหนดว่าการดูแลรักษและการจัดหาผลประดยชน์ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย" และหมายรวมถึง เงินทูลเกล้าถวายฯ ตามพระราชอัธยาศัยต่างๆ ซึ่งทรัพย์สินส่วนพระอค์นั้นต้องเสียภาษีอากรตามปกติไม่ได้รับการยกเว้นเรื่องภาษี มูลนิธิอานันทมหิดล กล่าว่า พระองค์ได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จำนวนมากแก่ โครงการพระราชดำริ มุลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ การกุศล และการพัฒนทรัพยากรมนุษย์...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A#.E0.B8.8A.E0.B8.B5.E0.B8.A7.E0.B8.B4.E0.B8.95.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.B9.8CC
             
             
           
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)