Sufficient economy

            พระราชดำริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
             "...การพัฒนาประเทจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องตนก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการเมือได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศราฐฏิจขึ้นที่สูงขึ้นโดยลำดัฐต่อไป.. ( 18 กรกฎาคม 2517)
             "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า 30 ปี เป้นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของใวัฒนธรรมไทย เป็นแนวคทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ที่สำคัญจะต้องมี "สติ ปัญญา และความเพียร" ซึงจะนำไปสู่ "ความสุข" ในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง
            "..คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยู่พอกิน มีความสงบ และทำงานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบอพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอดยิ่ง แต่ว่ามีความพอยู่พอกิน มีควาสงบ เปรีบเที่ยบกับประเทศือ่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้..." ( 4 ธันวาคม 2517)
             พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่ เพรียงอย่งเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นากรมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่วนใหย่ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมีพื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริญและฐานะทางเศราฐกิจให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนำการพฒนาประเทศ ควรที่จะสร้างความมั่คงทางเศราฐกิจพื้นฐานก่อน นั่นคือทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหย่พอมีพอกินก่อน เป้นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมั่นคงทางเศรษบกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเ้นการพัฒนาในระดับสุงขึ้นไป....
           
ในช่วงต้นทศวรรษ 1980 ประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ ในโลกจำนวนมากทีทัศนคติในทางลบต่อ TNCs โดยมองว่าเป้นปัญหาต่อการพัฒนาเศรษฐกจิของปรเทศ แต่ในปัจจุบันมอง FDI ว่าเป้ฯวิธีการแก้ปัญหาและช่วยพัฒนาเศรษบกิจ และยายามสนับสนุนจูงใจให้เกิดการไหลเข้า ของ เงินทุนจากต่างประเทศ(FDI) ด้วยมาตรการต่างๆ (ซึ่งเล็งเห็นว่าการลงทุนจากต่างประเทศจะช่วนในการพัฒนาประเทศ) อย่างไรก็ตาม การลงุทนโดยตรงของเอกชนต่างชาติก็มีผลเสีย เช่น อาจทำให้ต้นทุนการได้มาของปัจจัยการผลิจสูงขึ้น เงินลงทุนจากต่างชาติอาจเบียดบังการลงทุนองคนในประเทศและอาจทำให้ธุรกิจของนักลงทุนท้องถ่ินที่ดำเนินกิจการล้มละลายได้ TNCs หรือ บริษัทข้ามชาติกระตุ้นให้เกิดรูปแบบการบริโภคที่ไม่เหมาะสม เกิดต้นทุนทางด้านทรัพยากรในการให้สิทธิพเศษแก่ บริษัทข้ามช้าติ เพื่อดึงดูดให้เข้ามาลงทุนในประเทศ ประเทศผุ้รับการลงทุนอาจต้องประสบปัญหาขาดดุลการต้า การไหลออกของเงินตราต่างประเทศจากประเทศผุ้รับการลงทุนไปยังประเทศผุ้ที่มาลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกิดขึ้นในประเทศผุ้รับการลงุนนอยกว่าที่ควรจะเป้ฯประเทศผุ้รับการลงุทนต้องพึงพิง FDI อยู่ตลอดเวลา และ เงินลงทุนจากต่างชาติยังอาจทำให้การกระจายรายได้นประเทศผุ้รับลงทุนเลวลงได้ การตั้งราคาโอนทำลายหรอลดการสร้างผุ้ประการในประเทศ ลดความพยายามใน R&D สร้างความไม่เท่าเที่ยม แย่งใช้ทรัพยากรที่จะใช้ประโยชน์ได้โดยคนในประเทศ ก่อให้เกิดการพึ่งพาการนำเข้า สร้างมลภาวะ ทำให้มีการบริโภคสินค้และบิรการที่ฟุ่มเฟือย สร้างผลกระทบทางลบทางการเมืองและสังคมทำให้ประเทศผุ้รับการลงุทนต้องพึ่งพาประเทศผุ้ลทุนตลอดไป
            การเจริฐเติบโตทางเศรษฐกิจประเทศไทยและ เงินลงทุนจากต่างชาติมีความสัมพันะ์ในทิสศทางเดียวกัน!!! (นั่นหมายความว่า...การเติบโตทางเศษฐกิจของประเทศไทยขึ้นอยู่กับเงินลงทุนจากต่างประเทศเป้นสำคัญ...)
             เงินลงทุนจากต่างชาติ ในภาคอุตสาหกรรมทำให้โครงร้างเศรษฐกิจประเทศไทยเปลี่ยนจากเศณาฐกิจที่พึ่งพาการเกษตรสู่เศรษกิจอุตสาหกรรม พัฒนาจากอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร มาเป็นอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าที่ใช้แรงงานและทรัพยากรธรรมชาติเข้มข้น จนมาสู่อุตสากหรรมการผลิตเพื่อส่งออกที่ใช้เทคโนโลยีที่สูงขึ้น http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html
              ปัจจุบัน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องจักรกล ยานยนต์และชิ้นสวน กลายเป้ฯสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญมากขึน ในปัจจุบัน สัดส่วนของสินค้าส่งออกที่อาศัยทรัพยการธรรมชาิและแรงงานอย่างเข้ามข้นเร่ิมลดลงในขณะที่สินค้าที่มีลักษณะเครืืองจักรกล เช้ินสวนคอนพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ และเครืองใช้ไฟฟ้ากลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมเหล่านี้ยังต้องอาศัยเงินลงทุนจากต่างชาติ และเทคโนโลยีจากนักลงทุนต่างประเทศและต้องใช้วัตถุดิบและชิ้นส่วนจากต่างประเทศในอัตราสูง...
            ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ คือภาวะที่ราคาของสินทรัพย์ เช่นอสังหาริมทรัพย์หรือหน่วยลงทุนต่างๆ เพ่ิมขึ้นสูงเกินหว่าราคาตามความเป็นจริง จนเกิดอุสงค์เที่ยมจากการเก็งกำไรที่ำทหใ้ราคาเพ่ิมสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เป็นวงจร และขยายตัวเหมือนฟองสบู่ โดยส่วนใหญ่ภาวะฟองสู่นี้จะจบลงเมื่อเกิดเหตุที่ทำให้นักลงทุนเลิกคาดหวังว่าราคาจะเพ่ิมขึ้นอีก หรือรัฐบาลออกนดยบายเพื่อดึคงราคาสู่ภาวะหกติ (เช่นกาขึ้นอัตราดอกเบี้ย) จึงทำให้การเก็งกำไรและราคาที่สุงกว่าความเป็นจริงลดลง
           https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B9%88
ราคาสินทรัพย์ในภาวะฟองสบู่ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าราคาจะเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นเมื่อราคาเร่ิมลดลงภาวะฟองนสบู่ก็จะหดตัวลงอย่างรวดเร็วจนทำให้เกิดภาวะฟองสบู่แตกซึ่งมักจะทำให้เกิดปัญหาเนี้เสียเกิดขึ้นตามมา
            เศรษฐกิจไทยในปี 2530 ก้าสู่เส้นทางแห่งความรุ่งโรจน์ แต่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเศณาฐกจิไทยในช่วงระหว่างปี 2530-2532 ได้สร้างลักษณะอันไม่พึงประสงค์หลายประการ การที่ขนาดการเปิดประเทศกว้างขวางเกินไปทไใ้ระบบเสราฐกจิไทยงายต่อากรที่จะได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจการเปลี่ยนแปลงภายนอกประเทศ ผุ้นำรัฐบาลกำลังชื่นชมกับความรุ่งโรจน์ทางเศรฐกิจ โดไม่มีการเตรียมการที่จะรับคลื่นเศรษฐกิจ หากเกิดภาวะตกต่ำทางเศณาฐกิจในชุมชนทุนนิยมโลกอีกครั้งหนึ่ง ผลกระทบของภาวะถอถอยทางเศรษฐกิจจะรุนแรงยิงกว่าที่เกิดขึ้นใช่วงระวห่างปี 2523-2529 การเปิดรับเงินลงทุนจากต่างประเทศโดยปราศจากการกลั่นกรองเท่าที่ควรในช่วงปี 2530-2532 จะสร้างปัญหารในอนคต เพราะการขยายตัวของการลงุทนจากต่างประเทศในช่วงเวลาดังกล่าวนี้เป็นผลจากการที่เงินเยนมีค่าเพ่ิมขึ้น ภาวะต้อนุทนการผลิตที่เพ่ิมขึ้นในกลุ่มประเทศ อาเซียน อุตสาหกรรมใหม่ และการย้ายที่ตั้งโรงงานโดยหวังสิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากรในโควต้าประเทศไทย ด้วยเหตุนี้เอง การลงทุนจากต่างประเทศอันเกิดจาเหตุปัจจัยเหล่านี้จึง
ก่อให้เกิดมูลค่าเพ่ิมภายในประเทศต่ำ โครงการลงทุนที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มภายในประเทศต่ำ ไม่เพียงแต่จะไม่เป็นประโยชน์แก่ระบบเศรษบกิจไทยเท่าที่ควรเท่านั้น หากยังพร้อมที่จะย้ายโรงงานไปต้งในประเทศอื่นโดยง่ายอีกด้วย...การหลั่งไหลของเงินทุนต่างประเทศเข้ามาซื้อหุ่นในตลาดหลักทัพย์แห่งประเทศไทย แม้ในระยะสั้นจะช่ยเหล่อเลี้ยงการเติบโตของระบบเศรษบกิจโดยอ้อม แต่การที่เงินทุนจากต่างประเทศบางส่วนถูกใช้ไปในการซ์้อที่ดินเพื่อเก็งกำไรซึ่งมีสวนผลักดันให้ราคาที่ดินเพ่ิมขึ้นเป้นอันมาก ย่อมสร้างอุปสรรคต่อการเติบโตของการผลิตในอนาคต เนื่องจากที่ดินมีราคาสูงเกินไป และ หากกระแสการเคลื่อยย้ายของเวินทุนจต่างประเทศชะงักลงในอนาคต ด้วยเหตุประการใดก็ตาม ย่อมจะก่อให้เกิดปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้อย่างรุนแรง
           พัฒนาการของระบบเสณาฐกิจไทยในทิศทางที่พึ่งพิงตลาดอเมริกันมากขึ้น ก่อให้เกิดจุดเปราะบางแก่ระบบเศราฐกิจไทย เรพาทำให้เสถียรภาพของระบบเสณาฐกิจไทยขึ้นอยู่กับความผันผวนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกามากขึ้น หากรัฐบาลอเมริกันยังคงดำเนินนโยบยการกีดกันทางการต้าต่อไป โอกาศที่สินคึ้าออกไทยจะถูกตัดทอนสิทธิพิเศษด้านภาษีฯย่อมจะมีมากขึ้นในอนาคต  ประเด็นสำคัญคือ ตั้งแต่ปี 2523 เป็นต้นมา สหรัฐอเมริกาประสบปัญหาความผันผวนทางเศรษบกิจค่อนข้างมาก หากความแปรปรวนทางเศณาฐกิจดังกล่าวนี้ยังไม่ลดลงในอนคต ผลกระทบที่มีต่อระบบเศรษกบิจไทยจะรุนแรงยิ่งกว่าที่เป้ฯมาในอดคต เนื่องจากระบบเศราบกิจไทยได้พัฒนามาพึงพิงระบบเศรษบกจิอเมริกันมากขึ้น...http://econ.tu.ac.th/archan/RANGSUN/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%95.%E0%B9%92%20%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%20%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%8C.pdf
             
วิกฤตเศรษฐกิจทางการเงินในปี พ.ศ. 2540 หรือเรียกทั่วไปในประเทศไทยว่า วิกฤตตำ้ยำกุ้ง เป้นช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินซึ่งส่งผลกระทบถึงหลายประเทศในทวีปเอเชีย
               วิกฤตดังกล่าวเร่ิมขึ้นในประเทศไทยเมื่อค่าเงินบาทลดลงอย่างมากอันเกิดจากการตัดสินใจของรัฐบาลไทย ซึ่งมีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ลอยตัวค่าเงินบาท ตัดการอิงเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ หลังจากความพยายามทั้งหมดที่จะสับสนุนค่าเงินบาทเมือเผชิญกับการแผ่ขยายแบบเกินเลยทางการเงิน อย่างรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสวนขับเคลือนอสังหริมทรัพย์ ในเวลานั้น ประเทศไทยมีภาระหนี่สาธารณะซึ่งวทำให้ประเทศอยู่นสภาพล้มละลายก่อนหน้าการล่มสลายของค่าเงิน และเมื่อวิกฤตดังกล่าวขยายออกนอกประเทศ ค่าเงินของประเทศส่วนใหย่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และญี่ปุ่นก็ได้ทรุดตัวลงเช่นกัน ตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวลดลงและรวมไปถึงราคาสินทรัพย์อื่นๆ และทำให้หนี้เอกชนเพิ่มสูงขึ้น
               แม้จะทราบกันดีแล้วว่าวิกฤตการณืนี้มีอยู่และมีผลกระทบอย่างไร แต่ที่ยังไม่ชัดเจนคือสาเหตุของวิกฤตการณ์ดังกลาว เช่นเดียวกับขอบเขตและทางแก้ไข อินโดนีเซีย เกาหีใต้ และไทยได้รัีบผลกระทบมากที่สุดจากวิกฤตการณ์ดังกล่าว ฮ่องกง มาเลเซีย ลาวและฟิลิปปินส์ก็เผชิญกับปัญหาค่าเงินทรุเช่นกัน สาธารณัฐประชาชนจีน อินเดียว ไต้หวัน สิงคโปร์ บรูไน และเวียดนาม ได้รับผลกระทบน้อยกว่า ถึงแม้ว่าทุกประเทศที่กล่าวมานี้จะได้รับผลกระทบจากการสูญเสียอุปสงค์และความเชื่อมั่นตลอดภูมิภาค
              สาเหตุหลักๆ โดยคร่าวๆของวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ.2540 อาจกล่าวได้ดังนี้
              - การขาดดุบัญชีเดินสะพัด ในช่วงที่เศราฐกิจของไทยเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง
               -ปัญหาหนี้ต่างประเทศ การเปิดเสรีทางการเงินเมื่อปี 2532-37 ทำให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศได้สะดวก โดยไม่มีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากค่าเงินที่กำหนดไว้ที่ 25 บาท/ดอลลาร์ ทำให้ผุ้กู้ยืมสามารถยืมเงินและคือเงนิกู้ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้ใน อันตรดังกว่าว ซึ่งเป็นผลจากการที่ไทยประกาศรับพันธะสัญญข้อที่ 8 ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศในปี 2533 เพื่อเปิดระบบการเงินของไทยสู่สากล...เกิดการขยายตัวของระบบการเงินของประเทศที่ส่งผลต่อการเกิดหนี้อ้อยสภาพขึ้นมากในสถาบันการเงินและการกุ้เงินจากสถาบันการเงินต่างประเทศเพื่อปล่อยกุ้กับธุรกิจในเมืองไทย ณ ปลายปี 2540
               - การลงทุนเกินตัว และฟองสบู่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้เติบโตอย่งมากในช่วงปี 2530-2539 เนื่องจากผุ้ประกอบการกุ้ยืมเงินจากต่างประเทศและระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ทั่วประเทศ ราคาอสังหาริมทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เกิดการเก็งกำไร ซึ่งดึงดุดให้มีผุ้เข้ามาลงทุนในะุรกิจอย่างมากจนกลายเป็นภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่
               - ปัญหารความไม่เชื่อมั่นอย่างรุนแรงต่อสถาบันการเงินในประเทศ
               - ความไม่มีประสิทธิภาพในการดำเนินนโยบาย ที่อนุญาตให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี ดดยไม่มีการเตรียมความพร้อมหรือการกำกับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ยังคงใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่อยู่...
               - และการโจมตีค่าเงินบาท ปัญหาเศรษกิจที่สั่งสมมานาน ทำให้นักลงทุนต่างชาติถือดอกาศโจมตีค่าเงินบาทของไทย ซึ่งเป็นนักลงทุนขนาดใหญ่และนักลงทุนสถาบันที่ระดมทุนมาเก็งกำรค่าเงิน หรือ โจมตีค่าเงินโดยตั้งเป็นกองทุนที่ชื่อเรียกว่ เฮจ ฟันท์ .th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2540
             เศรษฐกิจพอเพียง
             "..ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทำอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือทำจากรายได้ 200-300 บาทขึ้นไปเป็นสองหมื่นสามหมื่นบาท คนชอบเอาคำพุดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศราฐกิจพอเพียงคือ ทำเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมาย ไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือ Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดุทีวีก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจำกัดเขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดุเพื่อความสนุกสนาน ในหมุ่บ้านไกลๆ ที่ฉันไป เขามีทีวีดุแต่ใช้แบตเตอรี เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรีบเหมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่ และยังใส่เนคไทยเวอร์ซาเช่ อันนีก็เกินไป.."
            เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ยึดหลัก ทางสายกลาง เพื่อให้การดำเนินชีวิตของประชาชนทุกระดับเป็นไปอย่างสมดุลและยั่งยืน สามารถอยู่ได้แม้ในโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสุง ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึง ระดับประเทศ
           
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช ทรงมพระราชดำรัสถึง "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นครั้งแรก ในพระบรมราโชวาทในพิะีพระราชทานปรญญาบัตริแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517 ดังนี้
            "... การพัฒนาประเทศ จำเป็นต้องทำตามลำดับขั้นต้องสร้างพื้นฐ,าน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหย่เพบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ทีประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะทาเศรษบกิจขั้นที่สูงขึ้นโยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียว ดดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันะ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วยก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึน ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหล่วได้ในที่สุด.."
            พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสอธิบายเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงบ่อยมากในโอกาศวันเฉพลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541 ก็ทรงมีพระราชดำรัสถึงเศรษฐกิจพอเพียงว่า
            "..พอเพียง มีความหมายกว้างขวาง่ิงกว่านี้อีก คือ คำว่าพอ ก็พอพียงนี้ ก็พอแค่นั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อยเมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบยนคนอื่นน้อย ถ้าประเทศใดมีความคิดอันนี้ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียงหมายความว่า พอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยุ่เป็นสุข พอพียงนี้ อาจจะมี มีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าเราต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น.."
            นับถึงวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง มานานถึง 43 ปีแล้ว....https://www.thairath.co.th/content/1099749
           
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)