วันจันทร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2561

Madame Bovary (Gustave Flaubert)

         
กุสตาฟ โฟลแบรต์ เป็นนักเขียนที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเร่ิมการเขียนนวนิยายในแนวเหมือนจิรงหรือสัจนิยม หลักสำคัญของวรรณกรรมแนวนี้คือการวางตัวเป้นกลางของผุ้แต่งโดยปล่อยให้ผุ้อ่านตัดสินและประเมินค่าตัวละครหรือเหตุการณ์ต่างๆด้วยตนเอง เอมิล โซลา นักเขียนชั้นนำของกลุ่มสัจนิยมถึงกับยบยกย่องให้นวนิยายเรื่องมาดามโบวารี ของโฟลแบรต์ให้เป็นแม่บทของนวนิยายในแนวนี้ มาในยุคปัจจุบัน นักวรรณคดีล้วนเห้ฯพ้องต้องกันว่าโฟลแบรต์คือนักเขียนผุ้บุกเบิกการเขชียนนวนิยายแนวใหม่โดยดูจากเทคนิคหลายๆ ประการที่เขาใช้ไม่ว่าจะเป้น วิธีการเขียนบทพรรณนาที่มีความหมารยกลมกลืนไปกับองค์ประกอบอื่นๆ ของนวนิยาย การเสนอตัวละครจากทรรศนะของตัวละครด้วยกันเอง วมไปถึงวิธีการตัดต่อเหตุการณ์และฉากต่างๆ วึ่งเป็นเทคนิคเดียวกับการตัดต่อภาพยนตร์
          นอกจากนี้ โฟลแบรต์ยังเป้นผุ้ที่ให้ความสำคัญกับการค้นคว้าหาข้อมูลพอๆ กับการเชียนอย่างประณีตบรรจง ตามปกติแล้วเขาจะใช้เวลาเขียนนวนิยายแต่ละเรื่อง นาน 4 ข-5 ปี หรือมากกว่านั้น นวนิยายแต่ละเรื่องของเขานอกจากจะมี
ความสมจริงแล้ว ถ้อยคำและสำนวนต่างๆ ที่เขาใช้ยังมีเสียงไพเราะเสนาะโสต มีความบรรสารกลมกลืน และมีจังหวะจะโคนที่ดีอีกด้วย ที่เป้นเช่นนี้ก็เรพาะสำหรับโฟลแตรต์แล้วหัวใตจของการสร้างสรรค์ความงามทางวรรณศิลป์นั้น อยุ่ที่ลีลาการเขียนเป็นสำคัญ ด้วยเหตุนี้ จึงไม่น่าแปลงใจเลยที่นวนิยายหลายเรืองของเขาซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นนวนิยายที่ยิ่งใหญ่ของโลกวรรณกรรมตะวันตกนั้น เรียกวได้ว่ามีเนื่้อเรื่องที่ธรรมดาที่สุดในสมัยนั้น เช่น เรื่อง มาดามโบวารี ซึ่งมีเนื้อหารเกี่ยวกับประเด็นทางด้านชู้สาว หรือเกือบไม่มีเนื้อเรื่องเลย เช่น เรื่องบทเรียนชีวิต ซึ่งมีเนื้อเรื่องเพียงแค่ชีวิตของชายหนุ่มผุ้หนึ่งซึ่งรำลึกได้ในตอนอวสานว่าตนได้ประสบความล้มเหลวในชีวิต
            มาดามโบวารี เอ็มมา รูโอต์/เอ็มมา โบวารี ในสายตาชาย/ชู้
         
โฟรแบรต์ใชการเล่าเรื่องด้วยบุรุษที่ 3 และใช้เสียงผุ้เล่าที่มิได้เป็นตัวละครหนึ่งในนวนิยาย แต่ใช้มุมองการเล่าเรื่องผ่านาสายตาตัวละครผู้เล่าทอดเรื่องราวผ่านสายตาของชาร์ลส์สลับกับเอ์มมาเป้นหลัก
           การบรรยายอารมร์ของตัวละครเกคือเอ็มมา หรือบทพรรณนาฉากภายในบ้านของครอบครั้งโบวารี ฉากสถานที่ของเมือโตตส์และมืองยองวิล มีรายละเอดียดลึกซึ้งจนกระทั่งผุ้อ่านเข้าใจได้ ถึงความเบื่อหน่ายหดหู้ของเอ้ฒมาที่มีต่อสภาพแวดล้อมรอบกาย ตัวอย่าง เช่น โฟลแบรต์เปิดฉากแรกของบทที 1 ภาค 2 ด้วยบทพรรณนาภาพเมืองยองวิลจากระยะไกล เร่ิมจากบริเวณนอกเมืองแล้วเขาสู่ตัวเมือง แต่โผลแบรต์มิได้ใช้กลวิธีเดียวกันนี้ในการนำเสนอรูปลักษณ์ของตัวละครเอ็มมา ผุ้อ่านมิได้เห็นภาพของเอ็มมาอย่างละเอียดในข้อความแนะนำตัวละครเป็นเนื้อเดียวกันตั้เงแต่ต้นเรื่อง ผุ้อ่รนต้องเก็บรายละเอดียดที่ละน้อยด้วยตนเองแล้วนำมาประติดประต่อกัน ที่สำคัญคือโฟลแบรต์นำเสนอภาพเอ็มมาผ่านสายตาของตัวละครอื่นๆ ซึ่งเป็นชายที่เข้ามาอยู่ในแวดวงชีวิตของเธอโดยเฉาพะอย่างยิ่งด้านชู้สาว กลวิธีนำเสนอตัวละครหนึ่งผ่านสายตาของอีกตัวละครหนึ่งทำให้ผุ้ประพันธ์ถ่ายทอดความรู้สึกของตัวละครสู่ผู้อ่านได้อย่างแยบยล
          ตั้งแต่ครั้งังเป้นนางสาวเอ็มมา รูโอต์ ก่อนจะกลายเป็นมาดามโบวารี ตัวละครนี้เป็นศูนย์กลางการมองของตัวละครชายโฟลแบรต์เปิดตัวนางเอกของเรื่องด้วยการนำเสนอภาพตัวละครผ่านสายตาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขชื่อชาร์ลส์ โบวารี ซึ่งถูกตามตัวมารักษาบิดาของเธอ เอ็มมามิได้ปรากฎตัวต่อสายตาผุ้อ่านทันที่อย่างเต็มตัวในการพบกันครั้งแรกของตัวละครทั้งสอง ในชั้นแรก ตามสายตาชของขชาร์ลส์ ผุ้อ่านเห็นเล็บมือที่ "เงางามปลายเรียบขัดสะอาดยิ่งกว่างาช้างจากเดียป"ของเอ็มมา ซึ่งชาร์ลส์ประทับใจมาก ล้วจึงมองเห็นภาพมือที่ "ไม่สวย" แต่ส่วนที่ชาร์ลส์มองห็นว่าสวยมากคือดวงตาสีน้ำตาลที่แลดูเป็นสีเข้มจัดเนื่องจากขนตาดกหนา ต่อจากนั้นผุ้อ่านมองเห็ฯภาพริฝีปากอ่ิมเต็มและลำคอระหง รวมทังแก้มแดงระเรื่อเป็นสีกุหลาบ โฟลแบรต์ทำให้ผุ้อ่านมองเห็นภาพสาวสวนเอ็มมาผ่านสายตาของชขาร์ลส์ แลฃะทำให้ผุ้อ่านล่วงรุ้ความในยใจของชาร์ลส์ที่นึกเปรียบเทียบเอ็มมากับภรรยาคนปัจจุบันของตนซึ่งเป็นหญิงม่ายมาก่อน อายุมากก่า และมีรูปฃลักษณ์ "ขีเหร่แห้งกระงลางเหมือนไม้ซากและเนื้อตัวอุดมไปด้วยดอกดวงราวกับฤดูใบไม้ผลิ  ด้วยเหตุนี้ ตามสายตาของชาร์ลส์ เอ็มมาย่อมเป็นาวน้อยโฉมงามทรงเสน่ห์ ภายหลังการแต่งงานของทั้งสอง ความงามของเอ็มมาผนวกความเย้ายวนย่ิงกลายเป็นเสน่ห์มัดใจชาร์ลส์ให้หลงไหลในตัวภรรยาสาวไม่เสื่อมคลาย "เช่นเดียวกับเมื่อแต่างงานกันใหม่ๆ ชาร์ลส์เห็นว่าเธองมหยดย้อยและมีเสน่ห์อย่างสุดที่จะต้านทานได้...
         
การที่ผลแบรต์ใช้เสียงผุ้เล่าที่มิใช้ตัวละคร เป็นกลวิธีซึ่งเอื้อให้ผุ้อ่นม่โอกาศล่วงรุ้ความรุ้สึกของโรดอล์ฟที่มีต่อเอ็มมา ผุ้อ่านได้ยินเสียงถ้อยคำในความคิดของโรดอล์ฟ และติดตามจินตนาการของตัวละครชายหนุ่มผุ้จัดเจนเชิงโลกีญื ที่โลดแล่นไปไกลถึงขนาดนึดวาดภาพร่างเปลื่อยเปล่าของเอ็มมา
          โอเมส์ เจ้าของร้านปรุงยาแห่งเมืองยองวิล กฃล่าวชมเอ้ฒมาเมื่อชาร์ลส์กำลังจะพาเธอไปชมละครที่เมืองรูอัง โฟลแบรต์ช้ภาษาภาพพจน์เพียงสั้นๆ ผ่านคำชมของโอเมส์ ว่่า "คุณงามราวกับงีนัส" ..การเปรียบเทียบเอ็มมากับวินัส กล่าวคือ วีนัสเป็นชื่อเรียกตาทเทพปกรณัมโรมันของเทวีแอโฟไดต์ ในเทพปกรณัมกรีก และเป็นเทพธิดาแห่งความงามแบบเย้ายวน ความปรารถนา และกามารมณ์ เมื่อแอโฟรไดต์ผุดขึ้นจากฟองสมุทรและถูกนำตัวไปยังภูเขาโอลิมปัสซึ่งเป็นที่สถิตแห่งทวยเทพ เอรอส หรือเทพแห่งความรัก และเทพฮิเมรอส หรือเทพแห่งความปรารถนา ได้ร่วมเดินทางไปด้วย นัยยะเชิงนิทานเปรียบเทียบ จากเทพปรกณัมกรีก-โรมัน ได้แก่ ความงาม ความรัก และความปรารถนา เป้นสิงที่ไ่อาจแยแยกจากกันได้ ... บางส่วนจาก บทความ มาดามโบวารี : เพศหญิง เพศชาย ความตาย ชายชู้ โดยวรุณีอุดมศิลป

วันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561

Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises (François-Marie Arouet : Voltaire)

         
  ฟร็องซัว มารี อรูเอ หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ เป็นปราชย์ นักเขียนและนักปรวัติศาสตร์ในยุคเรื่องปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผุ้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรังเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา เสรีภาพในการพูดและยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรัฐ
            ผลงานองวอลแตร์มีจำนวนมากมายหลากหลายประเภททั้ง บทละคร นิยาย นิทาน เชิงปรัชญา ประวัติศาสตร์ และบทกวี เขาได้รับยกย่องจากคนร่วมสมัยว่าเป็นนักเขียนบทละครชั้นนำและกวีชั้นนำ แต่ในปัจจบันเขากลับเป็นที่ยกย่องในฐานะนักเขียนเชิงเสียดสี วิพาก วิจารณื ผลงานของเขาส่วนใหญ่เป็นการเผยแพร่ความคิดทางปรัชญาไปสู่สาะารณชน เพื่ปลุกความคิดวิพากษืวิจารณืให้แก่ชาวฝรั่งเส เพื่อต่อต้านความคิดระบบสภาบันแบบเก่า การต้อสู้เพื่อขจัดความอยุติธรรมในสังคม ารวมทั้งความเชื่อที่งมงายและความบ้าคลั่งทางศาสนา นอกจากนี้เขายังส่งเสริมเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพและการแสดงความคิดเห็นอีกด้วย
            ผลงานของวอลแตร์เกิดสิ่งที่เรียกว่า "ความคิดวิพากษ์วิจารณื" แก่ชาวฝรั่งเศสโดยรวม ความคิดวิพากวิจารณ์นี้ทำให้ชาวฝรั่งเศสตั้งคำถามต่อทุกเรื่องทุกเหตุการณืที่ปากฎในสังคมขอฦ.ตน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านสถาบันการเมืองการปกครอง โดยเขาได้โจมตีระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิาชย์ สถาบันกษัตริย์ การใช้อำนาจตามอำเภอใจของกษัตริย์ สถาบันศาสนา โจมตีคำสอนความเชื่อที่
งมงาย เป็นต้น
            วอลแตร์ได้นำหลักการใช้เหตุผล มาแพร่หลายให้แก่ประชาชน เพือมาใช้ในการดำเนินชีวิต โดยการใช้เหตุผลแก้ปัญหา และรู้จักคิดพิจารณาก่อนจะเชื่ออะไรง่ายๆ เขาใช้ผลงานของเขามาเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่แนวความคิดทางปรัชญาและนำไปสู่สาธารณชน เืพ่อทไใ้ประชาชนได้เห็นได้เข้าใจและตระหนักถึงส่ิงเหล่านั้น วางแนวคึิดและควารู้เหล่านี้จึงเปรียบเสมือนกับแสงสว่างทางปัญญาให้แก่ประชาชน วอลแตร์จึงเป้นผู้ที่มีส่วนทำให้ประชาชนมีเสรีภาพทางความคิดและทำให้ผุ้คนสนใจการเมืองการปกครองแบบอังกฤษ
       
 ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าวาอลแตร์มีอิทะิพลต่อคริสตวรรษที่ 18 เป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นผลนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งย่ิงใหญ่ทั้งทางด้านการเมือง เศราฐกิจ สังคมและศาสที่รุ้จักกันในนาม "การปฏิวัติฝรั่งเศส พ.ศ. 2332"
        Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises  หรือ Letters on the Rnglish จดหมายปรัชญา
หรือ จดหมายจากอังกฤษ ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษ ที่กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1733 และปีต่อมาจึงตีพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศส ผลงานช้ินนี้เขียนขึ้นในรูปแบบขอจดหมายรวมทั้งสิ้น 25 ฉบับ ซึ่งเหนื้อหาส่วนใหญ่จะเล่าถึงสภาพสังคมของประเทศอังกฤษ ผ่านประสบการณ์ขงตัววอลแตร์ โดยเชียนด้วยโวหารที่คมคายและสอดแทรกด้วยการเสียดสีถากถางวอลแตร์ได้ใช้สภาพสังคมดงกล่าวเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้ชาวฝรั่งเศสได้รู้จักถงศาสนา เศรษฐกิจการเมือง ปรัชญาและวันธรรมของประเทศอังกฤษ แล้วนำมาเปรียบเทีียบกับประเทศฝรั่งเศสทำให้เห็นว่าประเทศฝรั่งเศนั้นยังล้าสมัยอยู่ อีกทั้งเขายังต้องการให้เกิดความเท่าเทียมกันในการเสียภาษีระหวา่งชนชั้นสามัญกับชนชั้นอภิสิทธิ์ ต้องการให้เกิดความสมดุลของอำนาจทางการเมืองและต้องการให้รัฐบาลส่งเสริมเสรีภาพด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์อีกด้วย ส่วนตอนท้ายของผลงานชิ้นนี้ วอลแตร์ได้กล่าววิจารณ์ ปาสกาล นักคิดคนสำคัญในศตวรรษที่ 17 อย่างดุเดอดในแง่ความเชื่อความสรัทธาในพระจ้า เนื่องจากปาสคาเห้ฯว่า "ความทุกข์ของมนุษย์จะเกิขึ้นเมื่อมนุษย์ปราศจากพระเจ้า และมนุษย์จะค้นพบความสุขได้เื่อมีศรัทธาในพระเจ้า "ซึงแนวคิดนี้ได้ขัดแย้งกับความิด้านศษสนาของวอลแตร์โดยสิ้นเชิง อาจกล่าวไดว่าผลงานชิ้นนี้ทำให้วอลแตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C    

วันเสาร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2561

Social Contract (Jean Jacques Rousseau)

          ".. มนุษย์เกิดมาเสรี แต่ทุกหนหทุกแห่งเขาอยู่ในเครื่องพันธนาการ ตราบเท่าที่ราษฎรถูกบังคับให้เชขื่อฟัง และก็เชื่อฟัง เขาก็ทำดีแล้ว แต่ทว่าเขาจะทำดียิ่งขึ้น ถ้าหากเขาสลัดอกจากบ่าในทันที่ที่เขาสามารถสลัดได้ เื่อมีใครถือสิทธิเข้าแย่งชิงเสรีภาพราษ๓ร ราษฎรก็ย่อมจะมีสิทธิเช่นกันที่จะยื้อแย่งเสรีภาพกลับคืน ราษฎรมีสิทธิจะกู้เสรีภาพของตนได้ แต่ไม่มีใครจะมีสิทธิชิงเอาเสรีภาพไปจากราษฎร.."
           Jean Jacques Rousseau ฌ็อง ฌัก รุสโซ เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพนธ์เพลงที่ฝึกหันด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญา
           คำสอนของเขาสอนให้คนหันกลัยไปหาธรรมชาติ เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า "ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทำใหนไม่เสมอภาคกัน" เขาบอกว่า "เหตุผลมีประโยชน์ แต่มิใช่คำตอบของชีวิต ดังนั้นเราจึงต้องพึงความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของเราเอง ให้มากกว่าเหตุผล"
           ทฤษฎีคนเถือนใจธรรม รุสโซ่ เชื่อว่ามนุษย์นั้นเป็นคนดีโดยธรรมชาติ หรือเป็น "คนเถือนใจธรรม" เมื่ออยู่ในสภาวะธรรมชาติเดียวกนกับสัตว์อื่นๆ และเปนสภาพที่มนุษย์อยุ่มาก่อนที่จะมีการสร้างอารยธรรม แลสังคมแต่ถูกทำให้เเปดเปื้อนโดยสังคม เขามองสังคมว่าเป็นส่ิงที่ถูกประดิษฐ์ขึ้น และเชื่อว่าการพัฒนาของสังคม ดดยเฉาพะการเพิ่มขึ้นของการพึงพากันในสังคมนั้น เป็นสิ่งที่อันตรายต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
         
ในหนังสือ "สัญญาประชาคม" รุสโซ กล่าวถึงสัญญาประชาคมว่า หมายถึง สัญญาที่แต่ละคนเข้าร่วมกับทุกคนภายใต้เอกภาพและเจตจำนงอันเดียวกัน โดยที่ประาชนสามารถก่อตั้งรัฐบาลขึ้นได้และให้อำนาจแก่รัฐบาลเพื่อรับใช้ประชาชนแต่ถ้าเมื่อใดที่ประชาชนไม่พอใจรัฐบาลก็อาจเปลี่ยนแปลงรัฐบาลได้ รุสโซ่ ชี้ให้เห็นว่าสภาวะธรรมชาตินั้นเป็นสภาวะที่มนุษย์มีความผาสุก มีอิสระเสรี และความเสมอภาคอย่างไรก็ตามแม้มนุษย์จะเกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งมนุษย์ก็ถูกตรึงด้วยโซ่ตวนแห่งพันธนาการ แนวความคิดของรุสโซถือว่าเป็นรากฐานของระบอบประชาธิไตยในเวลาต่อมา
         รุสโซอธิบายการกำเนิดสังคมว่ามีสาเหตมาจากการเกิดและการขยายการปฏิสัมพันะ์ระหว่างครอบครัวและการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวก็บังเกิดขึ้น รุสโซ ชี้ถึงปัจจัยสำคัญคื อพัฒนาการทางเสณษบกิจ และความรักแบบโรแมนติก เขาเน้นถึงบทบาทสำคัญของเศรษบกิจที่มีค่อการก่อตัวของสังคมเมือง ดังที่กล่าวได้ว่า "คน แรกที่กั้นรั่วแผ่นดินคือผุ้เร่ิมสังคมเมืองที่แท้จริง" การคิดค้นการเกษตรกรรมที่นำไปส.ู่การสร้าง กฎ กติกา เพื่อความยุติธรรมขึ้นเป็นครั้งแรก ลบะในที่สุดแล้ว ด้วยการแนะนำของผุ้มั่งคั่ง ก็จะนำไปสู่การสถาปนาการเมืองการปกคอรงขึ้นมาหมายความว่าการเกิดการปกครองขึ้นมานั้นจะเป็นไปไม่ได้เลยถ้าปราศจาก เงื่อนไขของการเกิดกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนตัวในที่ดิน มาก่อนหน้าและแท้ที่จริงแลว พัฒนาการการเกษตรที่เกิดขึ้นั้น เป็นผลพวงมาจากการเกิดครอบครัวก่อนหน้านี้ แต่กระนั้น ก็เสนอด้วยว่า
"เศรษฐกิจการเกษตรในตัวของมันเอง เป็สิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองพัฒนาการของความต้องการทางเพศ เรื่อง เพศ คือสะพานนำไปสู่การเมือง โดยมีนัยของการเปลี่ยนแปลงเรื่องความสัมพันะ์ทางเพศของมนุษ์เป็นปัจจัย เงือนไขที่จำเป็นอย่างยิ่งในการกำเนิดสังคมการเมือง รุสโซ อธิบาย ความขัดแย้ง ความไร้ระเบียบ ที่อุบัติขึ้นเมื่อสังคมได้ถือกำเนิดไว้ดังนี้คือความขัแย้งจะเกิดขึ้นเมื่อสภาวะของมนุษย์ในสงคมไม่เพื่ออำนวย หรือไม่เหมาะสมกับพวกเขา ความขัดแยง เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อมนุษญ์มองมนุษย์ด้วยกันว่า เป็นศัตรูที่แข่งขันกับพวกเขา เพื่อความโดดเด่นหรือเพื่อความเหนือกว่า หรือเพื่อสิงที่พึงปรารถนา และสุดท้ายความขัดแย้งยังคง่ำรงอยู่ ภายในปัจเจกบุคคล เมื่อจิตใจของเขาตกอยู่ภายใต้พันธนาการของกิเลสตัณหาอันไม่มีขีดจำกัด อารยธรรมหรือความเจริญก้าวหน้าของศิลปะวิยากานี้ทำให้ศัลธรรมการดำเนินชีวิตของมนุษย์เสื่อทรามลงเสียมากกว่าที่จะทำให้ดีขึ้น เมื่อมนุษย์ตกเป็นทาสของศิลปะวิทยาการเสรีภาพที่เคยมีและเป็นแก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ก้ไ้สูญหายไป
            http://www.stou.ac.th/forum/page/Answer.aspx?idindex=142283
ด้วยเหตุนี้เองที่รุสโซ ได้กล่าวขึ้นต้นใน "สัญญาประชาคม" ไว้ว่า มนุษย์เกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งเขาอยู่ในพันะนาการ ใครที่่คิดว่านเป็นนายคนดื่อน ย่อมไม่วายจะกลับเป็นเสียทาศยิ่งกว่า" ความผันแปรเช่นนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรไม่ทราบ อะไรเล่าที่จะพึงทำให้ความผันแปรนั้นกลายเป็นส่ิงที่ชอบด้วยกฎหมาย ข้อนี้คิดว่าจะตอบปัญหาได้เพราะในสภาวะสังคมมันเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิดระเบียบเงือ่นไขที่กลีเลี่ยงไม่ได้ที่มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่โดยไม่เหยียบหัวแย่งชิง หลอกลวง ทรยศ และทำลายซึ่งกันและกัน การแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ มนุษย์มาอยุ่ร่วมกันเป้นสังคมเขาเสนอให้มีการสร้าง หรือการจัดระเบียบสังคมใหม่ขึ้นมา นั้นคือเราจะทำอย่างไรที่จะหารูปแบบของการอยู่ร่วมกันที่ สามารถปกป้องบุคคล และส่ิงที่พึงปรารถนาของสมาชิกแต่ละคนในสังม ดดยการ่วมพลังของทุกคน และเป้นรูปแบบการอยู่ร่วมกันที่ปัจเจกบุคคลแต่ละคน แม้ว่าจะรวมตัวเข้ากันกับคนอื่น แต่ก็มิได้ต้องเชื่อฟังใคร นอกจากตัวเขาเอง และยังควมีอิสรเสรีเหมือนแต่ก่อนคำตอบนั้นคือ "สัญญาประชาคม" และคือคำตอบสำหรับการหลุดจากสภาวะอันไม่อำนวย่อการดำรงชีวิตความเป็นมนุษย์มาทำใัญญา่วกัน หมายถึงการยอมเสียเสรีภาพตามธรรมชาติที่ติดตัวมาแต่กำเนิดของเขาเพื่อแลกกับเสรีภาพทางสังมการเมือง รุสโซ กล่าวว่าแก่นของ
สัญญาประชาคม คือการที่พวกเราแต่ละคนยอมเเละตัวเอง และอำนาจหน้าที่ ที่เขามีอยุ่ทั้งหมดให้กับส่วนร่วม ภายใต้การนำสุงสุดของ "เจตนำนงร่วม" และในฐาานะองค์ร่วม เราได้รวมสมาชิกทุกคนเข้าไเปนเนื้อเดียวกันในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทั้ง หมดที่แบ่งแยดไม่ได้ อันประกอบด้วยจำนวนสมาชิกที่มีจำนวนเท่ากับผุ้ออกเสียงในที่ประชุมซึงทำให้องค์รวม ดังกล่าวมีชีวิต มีเจตจำนง และในฐานะองค์รวม เราไมด้รวมสมาชิกทุกคนเข้าเป็นเนื้อเดียวกันในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทั้ง หมดที่แบ่งแยกไม่ได้ อันประกอบด้วยจนวนสมาชิกที่มีจำนวนเท่ากับผู้ออกเสียงในที่ประชุมซึ่งทำให้ องค์รวม ดังกล่าวมีชีวิต มีเจตจำนง มีตัวตน และมีเอกภาพ ของตัวเองขึ้นมา องค์รวมทางการเมืองหรือ บุคคล สาธารณะที่ก่อตัวขึ้นนี้ คือสังคมเมือง หรือสาธารณรัฐ และในสภานะที่เป็นผู้ถูกกระทำซึ่งเรียกว่ารัฐ  แต่ถ้าอยุ่ในสภานะ ผุ้ถูกกระทำ เรียกว่ องค์อธิปัตย์ และเมื่อมีการเปรียบเทียบระหว่างองค์อธิปัต ด้วยกน เราเรียกว่า "อำนาจ"และสำหรับผุ้ที่เข้าร่วมอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐ เรียกว่า "ประชาชน" และเรียกว่า "พลเมือง" ตราบเท่าที่พวกเขามีส่วนร่วมในอำนาจอธิไตย และเรียกวพเขาว่ "ราษฎร" ตรบเท่าที่พวเกขาอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐ...

วันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561

Les Misérables (Victor-Marie Hugo)

       
เลมีเซราบล์ หรือ เหยืออธรรม เป็นนวนิยายประพันธ์โดย วิกเตอร์ อูโก ชาวฝรั่งเสส และเรียกได้ว่าเป็นหนึง่ในนิยายที่ดีที่สุดในศตวรรษที่ 19
         วิตอร์-มารี อูโก เป็นกวี นักเขียนบทละคร นักประพันธ์ ศิลปิน รัฐบุรุษ และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนชาวฝรั่งเศส เป็นผุ้มีบทบาทอย่างสูงสำหรับการเคลื่อนไหวทางวัฒธรรมยุคโรแมนติกในประเทศฝรั่งเศส
         ชื่อเสียงของอูโกทางด้านงานวรรณกรรมในประเทศฝรั่งเศสมาจากงานกวีนิพนธ์และบทละคร ส่วนงานนวนิยายเป็นที่รู้จักรองลงมา ในบรรดางาน กวีนิพนธ์ของเขา คือLes Contemplations และ La Légende des siècles  จัดเป็นงานที่โดดเด่นและถุกวิพากษ์วิจารณือย่างมาก บางครั้งอูโกได้รัยการกล่าวขวัญถึงในฐานะกวีผุ้ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศสขณะที่เขาเป็นที่รู้จักภายนอกประเทศจากผลงานนวนิยาย เรื่อง เหยือ่อธรรม
          ตัวละคร
          ฌอง วับฌอง นายมาดแลน อูลติม โฟชเลอวองต์ นายเลออล็อง, อูร์แบง ฟาบร์ หรือ 20601 เป็นตัวละครหลักของเรื่อง เขาต้องโทษฐานขโมยขนมปัง้ก้อนหนึ่ง แต่อีกสิบเก้าปีต่อมาก็พ้นโทษโดยมีทัณฑ์บน เขาไม่ได้รับการต้อนรับจากสังคมโดยหาวาเขาเคยเป็นนักโทษ บิชอบมีเรียล จึงเข้ามาอ้มขูเขา และชี้ทางสว่างในเขาดำเนินชีวิตใหม่อันสะอาดบริสุทธิ์กระทั่งเขาได้เป็นเจ้าของโรงงานและเป็นนายกเทศมนตรีตามลำดับ ต่อมาเขาได้รับบุตรสาวของฟองตีน นามว่า "โกแซต"  ไว้เป็นบุตรบุญธรรมและอุปการะจนกระทั่งเธอเติบใหญ่ แต่ต้องการไม่ให้โกแซตรู้ถึงอดีตของเขา จึงตัดสินใจกันตนออกห่างทำให้เขาอ่อนแอลง และล้มป่วย แต่ท้ายสุดมริอุสและโกแซตก็มาเยี่ยม เขาจึงสิ้นใจที่นั่น
       

 ฌาแวร์ เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีบุคลิกภาพย้ำคิดยำ้ทำ และปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานสืบสวน เขาได้รับหน้าที่ให้ตามล่าตัวฌอง วัลฌองหลายครั้งหลายครา ครั้งหนึ่ง ฌอง วับฌองมีโอกาสสังหารเขาแต่ก็ปล่อยเขาไป ในครั้งต่อมาที่เจ้าหน้าที่ฌาแวร์เผชิญหน้ากับฌอง วัลฌอง เขารู้สึกว่าการกระทำความผิดของฌอง วัลฌองเป็นส่งิอันมิชอบด้วยกฎหมาย ขณะที่อีกใจหนึ่งของเขากลับบอกว่าฌอง วัลฌอง มีบุญคุณต่อเขา ท้ยที่สุดแล้วเจ้าหน้าที่ฌาแวร์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรม โดยกระโดดลงแม่น้ำแซน เพื่อยุตความขัดแย้งในจิตใจ
       
 บิชอบมีเรียล สัฆราชแห่งดีญ ผุ้มีจิตใจเมตตาอารี เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งบิชอบในครั้งที่ได้เข้าเผ้าจักรพรรดินโปรเลียนที่ 1 โดยบังเอิญ  บิชอบมีเรียลได้ชีทางสว่างให้ฌอง วัลฌอง ดำเนินชีวิตใหม่หลังจากที่ฌอง วัลฌอง เข้ามาขโมยเครื่องเงินและเชิงเทียนของเขา
           ฟองดีน กรรมกรหญิงชาวปรรีสผุ้ถุกสามีคือ เฟล็กซ์ โตโลมีแย ทอดทิ้งให้อยู่กับทารกน้อยเพศหญิง นาม "โกแซต" ซึ่งเป็นบุตของทั้งสอง ฟองดีนนั้นได้ฝากบุตรสาวให้อยู่ในความดุแลของคู่สามีภรรยาเตนาร์ดีแยร์ซึ่งมีอาชีพเป็นผู้จัดการรเตี๊ยมในหมู่บ้านมงต์แฟร์ แมย โชคร้ายที่สามีภรรยาคู่นี้มักข่มเหงโกแซตและบังคับใช้แรงงานเยี่ยงทาส ระยะนั้นฟองดีนก็ได้งานทำที่โรงงานของนายมาดแลน และครั้งหนึงเธอซึ่งไม่รู้หนังสือวานให้คนช่วยเขียนจดหมายไปถึงคู่สามาีภรรยาเจ้าของ
โรงเตี๊ยมให้ ทำให้นายหญิงจับได้ว่าเธอให้กำเนิดบุตรทั้งที่ยังมิได้สมรสและไล่เธอออกจากงาน ซ้ำร้ายถุกเตนาร์ดิเยร์หลอกว่าโกแซตป่วยเป็นโรคไข้ผื่นคัน เพื่อให้ได้เงินมาช่วยลูกของตน ฟองดีนจึงขายเส้นผมและฟันหน้าของเธอ สุดท้ายแล้วก็ขายตัวเป็นหญิงโสเภณี ต่อมา ฌอง วัลบฌอง ทราบถึงชะตากรมอันรันทดของฟองตีนขณะที่เธอถูกเจ้าหน้าที่เาแวร์จับกุมตัวเพราะเข้าทำร้ายชายคนหนึ่งที่ร้องด่าเธอและทุ่มหิมะใส่หลังเธอ และก่อนที่ ฌอง วัลบฌอง จะสามารถนำโกแซตมาพบกับฟองตีน เธอก็หมดลมหายใจไปก่อนด้วยโรค ซึ่งคล้ายวัฒโรค
            โกแซต, ยูฟราซี, เป็นบุตรสาวของฟงอตีนกับเฟล็กซ์ โตโลมีแย เมื่ออายุได้สามขวบมารดาฝากเธอไว้ในวามดุแลของคู่สามีภรรยาแห่งสกุลเตนาร์ดีเยร์ เธอถูกสามีภรรยาคุ่นี้เฆี่ยนและบังคับให้ใช้แรงงานอย่างหนักกระทั่งฌอง วัลฌอง เข้าช่วยเหลือเมื่อเธอมีอายุได้แปดปีโดยำนเงินมาไถ่ตัวโกแซตไปจากสามีภรรยาคู่นี้ และขณะที่จะนำเธอไปพบกับฟองตีนผุ้เป็นมารดานั้น ฟองตีนก็หมดลมหายใจลงก่อน ฌอง วัลฌอง จึงรับเธอไว้เป็นบุตรบุญธรรม โกแซตมีความรักกับมารียูส ปงต์แมร์ซีและสมรสกับเขาในตอนท้ายของเรื่อง...เป็นต้นhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%AD%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%81
           นอกจากนี้ยังมีตัวละครตัวหลักอีกหลายตัวละคร และตัวและครตัวรอง อีกหลายตัวละครเช่นกัน หาอ่านฉบับสมบุรณ์กันได้ โดย "เลส์ มี -เซ-ราบลส์" เคยได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้วตั้แต่ปี พ.ศ.2503 ในชื่อ "เหยื่ออธรรม" แปลเพียง 2 ภาคจากทั้งหมด 5 ภาคและไม่สมบูรณ์
           ต่อมาในปี 2545 สำนักพิมพ์ข้าวฟ่างได้จักให้มีการแปล ออกมาอีกครั้งในชื่อ "ตรวนชีวิต"  ซึ่งเป็นเพียงฉบับย่อ
           ปี พ.ศ. 2546 ได้มีการแปลชื่อภาษาไทยว่า "เหยื่ออธรรม" ฉบับสมบูรณ์ขึ้นมา โดย วิภาดา กิตติโกวิทhttps://web.facebook.com/notes/10150187153513139/
         

วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2561

Lyrical Ballads (William Wordsworth)

       Age of Enlightenment คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกา ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งสเริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, คามเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรุทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์ โมหาคติ การชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล
ยุคเรืองปัญญา
      ยุคเรื่องปัญญาเร่ิมต้นขึ้นในช่วงประมาณปี ค.ศ. 1650-1700 และถูกจุดประกายโดยเหล่าปัญญาชน เช่น บารุค สิโนซา จอห์น ล็อก ปิแยร์ เบย์ล, ไอแซก นิวตัน, วอลแต่ร์ นอกจานี้เจ้าผุ้ปกครองก็มักจะรับรองและคล้อยตามบุคคลสำคัญเหล่านี้จนในที่สุดก็รับเอาแนวคิดจากชนชั้นปัญญามาปรับใช้กับรัฐบาลของตน จึงมีการเรียกเจ้านายเหล่านี้ว่า ประมุขผู้ทรงภุมิธรรม การเรืองปัญญานี้อยู่จนกระทั่งช่วงปี ค.ศ. 1790-1800 เมื่อความสำคัญของเหตุผลุูกแทนที่ด้วยความสำคัญ
ของอารมณ์ความรู้สึกนแนวคิดแบบศิลปะจิตตนิยม ซึ่งเป็นฝ่ายต่อต้านการเรืองปัญญา
       ศิลปะจิรตนิยม เร่ิมต้นขึ้นในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในยุโรปตะวันตก เป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทาง ปรัชญา วรรณกรรม และศิลปกรรม อันนำมาซึงการปฏิวัิตอุตสาหกรรมในยุโรป กำเนิดของศิลปะจิตตนิยมมีสวนมาจาการต่อต้านแนวคิดทงสังคแมละการเมืองแบเก่าของยุคเรื่องปัญญา รวมถึงปฏิกิริยาต่อต้านการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมากแนวคิดของศิลปะ ใน
ยุคนี้จะสะท้อนออกมาในงานศิลปะแบบภาพวาด ดนตรี และวรรณกรรม
      วิลเลียม เวิร์ดสเวิร์ธ William Wordsworth เป็นกวีจินตนิยมชวอังกฤษผู้เริ่มยุคจิตนิยมของวรรณกรรมอังกฤษร่วมกับแซมมวล เทย์เลอร์ คอเลริดจ์ ในปี 1798 ด้วยงานตีพิมพ์ร่วม ชื่อ Lyrical Ballads งานที่ได้รับยกย่องว่าเป็นผลงานชิ้นเอกของเวิร์ดThe Prelude บทกวีกึงอัตชีวประวัติในช่วงแรกในชีวิตของเขาซึ่งได้ผ่านการปรับปรุงแก้ไขและต่อเติมมาเป้นจำนวนหมายครั้ง ชื่อผลงานนี้ตั้งขึ้นในโอกาสทีตีพิมพ์หลังจากเขาเสียชีวิตแล้ว
สเวิร์ธ คือ
       วิลเลียม เวิร์ดสเวอิร์ธ กวีแนวโรแมนติกผู้ยิ่งใหญ่ชาวอังกฤษ เข้าเรียนที่วิทยาลัยเซนต์จอห์น มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ระหว่างนั้นได้เข้าร่วมปฏิวัติฝรั่งเศส เมื่อเรียนจบเดินทงไปท่องเที่ยวฝรั่งเศสและอิตาลี ผลงานบทเล่มแรกคือ An Evening Walk และ Descriptive Sketches  บทกวีของเขามักได้แรงบันดาลใจจากความงดงามของทิวทัศน์ในธรรมชาติ ผลงานบทกวีเรื่อง Lyrical Ballads ได้มส่วนในการสร้างกระแสโรแมนติก ซึ่งหลีกเลี่ยงรูปแบบกฎเกณฑืฉันทลักษณ์แบบเดิมๆ แต่เน้นแสดงความรู้สกภายในจองกวีออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ ผลงานของเขาแสดงทัศนะต่อชีวิตในแนวจิตนิยม ซึ่งเชื่อในความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างธรรมชาติและจิตวิญญาณของมนุษย์ 
       Lyrical Ballads คือการรวบรวมบทกวีโดย เวิเลียมเวิร์ดสเวิร์ธ และ ซามูเอลเทย์เลอร์โคลริดจ์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1798 และเป็นจุดเร่ิมต้นของการเคลื่อนไหววรรณกรรมแนวโรแมนติก ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงวงการวรรกรรม และบทกวีของอังกฤษ
      บทกวีในฉบัยที่ 1798 เขียนขึ้นโดยเวิร์ดสเวิร์ด และ คอเลอริจ เป็นบทกวีเพียง สี่บทที่ได้รับความตอบรับและโด่งดังมากที่สุด
       แซมมวล เทย์เลอร์ คอเลริดจ์ เป็นกวี นักวิจารณ์ และนักปรัชญาชาวอังกฟษ เป็นหนึ่งในผู้ริเร่ิมการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของยุคโรแมนติกในประเทศอังกฤษ ร่วมกับสหายของเขาคือ วิลเลียม
เวิร์ดสเวิร์ธ เขามีชื่อสเียงเป็นทีุ่้จักในผลงานกวีนพนธ์ชุด บทกวีของกละาสีชรา..
       The Rime of the Ancient Mariner เป็นบทกวีที่สำคัญ กล่าวคือ ความมั่คงคั่งของกะลาสีเรือโบราณเกี่ยข้องกับประสบการณ์ของกะลาสีที่เดินทงกลับจากการเดินทางด้วยทะเลเป็นเวลานาน เรือเดินสมุทรซึ่งมีผุ้ที่กำลังจะไปพิธีแต่งงานอยู่บนเรือเดินสมุทรนั้น และเร่ิมเล่าเรืองปฏิกิริยาของแขกรับเชิญ ที่จะเปลี่ยนจากความสับสนวุ่นวายไปสู่ความไ่อดทนต่อความกลัว ผุ้เขยนใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง อาทิ การสร้างตัวตน การทำซ้ำเพื่อสร้างความรู้สึคกอันตราย ความเหนือธรรมชาิตหรือสันติสุข ซึ่งขึ้นอยู่กับอารมณ์ในส่วนต่างๆ ของบทกวีนั้น

       เรื่องของกะลาสีเร่ิมต้นด้วยเรือของเขาที่ออกเดินทาง แม้จะมีความโชดดีในเริ่มต้นซึ่งแม้จะเจอเข้ากับพายุก็สามารถมาถึงน่าน้ำแอนตาร์กติด เมื่องฝูงนกอัลบาทรอปรากฎและน้ำทางเรือให้ออกจากธารน้ำแข็ง แต่ฝูงนกกับได้รับการตอบแทนด้วยการถูกยิง

           With my cross-bow,
   I shot the albatross.

ลูกเรือโกรธกละาลสีเรือ เพราะเชื่อว่า ฝูงนกอัลบาทรอ จะนำลมไใต้ และพาพวกเขาออกจากแอตแลนติก แต่สถานะการณ์ดีขึ้นเมื่ออากาศร้อนและหมอกที่หายไปเปลี่ยนแปลงความคิดของลูกเรือ

'Twas right, said they, such birds to slay,
         That bring the fog and mist.

 ในไม่ช้าพวกเขาก็พบว่าการกระทำของพวกเขาเป็นความผิดพลาดร้ายแรง ทีสนับสนุนให้มีการยิ่งฝูงนกนั้น ความโกรธเกรียวของวิญญาณที่ติตามเรือ "จากแผนดินหมอกและหิมะ" ทำให้ลมใต้ซึ่งในตอนแรกพาพวกเขาออกจาดินแดนแห่งน้ำแข็ง กลับพาเรือเข้าสุ่น่าน้ำใกล้เส้นศุนย์สูตรซึ่งเป็นที่อับลม

Day after day, day after day,
        We stuck, nor breath nor motion;
        As idle as a painted ship
        Upon a painted ocean.

        Water, water, every where,
        And all the boards did shrink;
        Water, water, every where,
        Nor any drop to drink.

         The very deep did rot – Oh Christ!
         That ever this should be.
         Yea, slimy things did crawl with legs,
         Upon the slimy sea.

 ลูกเรือพากันตำหนิกะลาสีเรือ และสำหรับการลงโทษ ของการกระทำนี้ ด้วยความโกรธลูกเรือบังคับให้กะลาสีเรือ นำซากศพนกอัลบาทรอส มาแขวนที่คอ เพือตระหนักถึงสิ่งที่กระทำและเพื่อแสดงความเสียใจ...https://en.wikipedia.org/wiki/The_Rime_of_the_Ancient_Mariner




        

วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561

Printing (Johannes Gutenberg)

         กระบวนการพิมพ์เร่ิมต้นับตั้งแต่ พณฯ ไซหลิน เสนาบดีเกษตรของจีนในสมัยแผ่นดินของจักรพรรดิ์
โฮวเต้ ได้นวัตกรรมกระดาษขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกเมื่อ พ.ศ. 648 ต่อมาชาวจีนได้คิดประดิษญ์หมึกจีนจากเขม่าและกาว ใน พ.ศ. 943 และได้สร้างตัวพิมพ์ไม้บล๊อคไม้แกะขึ้นใช้พิมพ์ โดยการทาตัวพิมพ์ไว้ด้วยหมึกน้ำ แล้วใช้กระดาษที่ทำขึ้นด้วยมือวางทับลงบนตัวพิมพ์ ใช้ลูกประคบถูหลังของกระดาษ หรือใช้แรงปัดและใชไ้ตะเกียบถู ซึ่งจัดเป็นวิธีการพิมพ์ที่ใช้ในยุคแรกเร่ิมเื่อราว พ.ศ. 1283 -1289
         
 ต่อมาญี่ปุ่นซึ่งได้รับอารยธรรมและเทคโนโลยีในด้านภาษา อักษร และการทำกระดาษจากจีน โดยผ่านทางเกาหลี ได้สร้างวงล้อสำหรับใส่ตัวพิมพ์เรียงไว้ในขอบของวงล้อไม้ เมื่อถุด้วยหมึกน้ำล้วรีบนำไปกลิ้งนนกระดาษที่ทำขึ้นด้วยมื อและวง้อสำหรับใส่ตัวเรียงพิมพ์เพื่อนำไปกล้ิงพิมพ์ เมื่อเลิกใช้งานพิมพ์แล้วจะนำไปรวมตั้งซ้อนกันไว้บนฐานแลบะสวมยอดข้าบน ตั้งซ้อนแล้วก็จะมีรูปเป็นองค์ฺพระเจดีย์แบบญี่ปุ่นขนาดเล็กที่งดงาม ชาวญี่ปุ่นเรียกว่า "เฮียกกึมันโต ดาละนิ" สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1307-1313
           ต่อมาชาวจีนชื่อ ไปเซง ได้คิดประดิษฐ์ตัวพิมพ์สำหรับใช้เรียงพิมพ์ โดยใช้ผงของหินชนิดหนึ่งผสมกับน้ำพอเหลว เทใส่แบบหล่อตัว
พิมพ์ เมื่อแห้งแล้วนำออกจากพิมพ์ไปเผาอบด้วยความร้อนจนแข็งแกร่ง สามารถนำไปใช้ในการพิมพ์ได้ ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1584-1592
           ต่อมาชาวเกาหลีได้คิดประดิษฐ์พิมพ์หล่อด้วยโลหะเจือทองแอง และดีบุกหรือบรอนซ์
           กระทั้ง กเตนเบิร์ก ( ค.ศ. 1941-2011) ได้นวัตกรรมกระบวนการพิมพ์หนังสือ ขึ้นอย่างสมบูรณืครบวงจร โดยสร้างแม่แบบหล่อตัวอักษร ทำการหล่อตัวพิมพ์แบบหล่อด้วยมือ คืดประดิษฐ์โลหะสำหรับใช้หล่อตัวพิมพ์ด้วยตะกั่วเจือ คือประดิษฐ์หมึกพิมพ์ เกลียวกดพิมพ์ ด้วยไม้ เป็นเครื่องพิมพ์เครื่องแรกของโลก..http://library.dip.go.th/multim/edoc/01839.pdf
         Johannes Gutenberg โยฮันส์ กูเตนเบิร์ก เป็นที่ยอมรับว่าเป็น บิดาแห่งการพิมพืขจองโลก และเป็นผู้คิตคค้น การเรียงพิมพ์ การพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพราะ (กดพิมพ์) ซึ่งเป็นรากฐานการพิมพ์ระบบเฟลกโซกราฟี ในเวลาต่อมาอีกด้วย
         
 กูเทนเบิร์ก เป็นชาวเยรอมัน เป็นช่างตีเหล็ก ช่างทอง ช่าวเครื่องพิมพ์ และมีสำนักพิมพ์ เป็นผุบุกเบิกการพิมพ์ในยุโรป ด้วยการกดพิมพ์ การพิมพ์แพบบกลไก ด้วยวิธีการเรียงอังกษ เปนระบบ โดยเครือ่งพิมพ์สามารถเคลบื่อนย้ายได้ ทำให้เกิดการปฏิวัติการพิมพ์ขึ้นใยุโรป และได้รับการยอย่องว่ามเป็นก้าวใหม่แห่งสหัสวรรษที่2 นำประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติเข้าสู่สมัยใหม่ ซึ่งมีบทบามสำคัญในการพัฒนาในสมัยฟื้นฟู้ศิลปวิทยาในยุโรป และการปฏิรูปในยุคเรื่องปัญญา และปฏิวัติทางวิทาศาสตร์ และวางพื้นฐาน ในเศรษฐกิจฐานความรู้ และการแพร่กระจายของการเรียนรู้เพื่อมวลชน
           กูเทนเบิร์ก เป็นคนยุโรปคนแรกที่สามารถประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบเคลื่อนย้ายได้ ใน ค.ศ. 1439 เขา ทำการประดิษฐญ์กระบวนการผลิตแแบบเคลื่อนย้ายได้ การใช้หมึกนำ้มันสำหรับพิมพ์หนังสือ แม่ประดิษฐ์แม่พิมพ์ที่ปรับได้ โดยเคลื่อนย้ายด้วยกลไก  และการใช้ไม่กดพิมพ์ คล้ายกับการเกษตรที่เรียกว่าเครื่องรีดสกรู เข้าได้รวบรวมองค์ประกอบต่างเข้าลงในระบบปฏิบัติที่สามารถใช้ในการพิมพ์หนังสือพิมพ์ ซึ่งประหยัดค่าใช้จ่าย กว่าวิธีเดิม
              ในสมัยฟื้นฟูศิปลวิทยาการ การพิมพ์ของกูเทนเบิร์กได้ทำให้ยุคของการสื่อสารมวลชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง และรวมถึงโครงสร้างของสังคมด้วย การไหลเวียนของข้อมูลที่ไ่จำกัด รวมถึงแนวความคิดในการปฏิวัติ ข้ามพรมแดน การปฏิรูป อนาจาทางการเมืองและศาสนา เพิ่มมากขึ้นเมื่องคนเร่ิมอ่านออกเขียนได้ การเรียรู้ การศึกษา และการหมุนเวียนข้อข้อมูลทำให้เกิดชนชั้นกลาง ขึ้นทั่วยุโรป ซ฿่งเป็นการเ่พมิความตระกนักในวัฒนธรรมของตน ทำให้เกิดชาตินิยม
             ครื่องกดแบบโรตารีแบบขับเคลื่อนด้วยมือ แบบใช้มือ ของ กูเทนเบิร์กได้รับอนุญาตให้ใช้ในการพิมพืในระดับอุตสาหกรรม จึงทำให้การพิมพ์แบบตะวันตกถูกนำไปใช้ทั่วโลก กลายเป็นเครื่องมื่อที่ใช้ในการพิมพ์ที่ทันสมัย เทคโนโลยีการพิมพ์ของกูเทินเบิร์ก แพร่หลายไปทั่วยุโรปและทั่วโลกhttps://en.wikipedia.org/wiki/Johannes_Gutenberg
         
       

วันอังคารที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2561

Astrophel and Stella (Sir Philip Sidney)

         sirPhilip Sidney เป็นกวีชาวอังกฤษ, ข้าราชสำนักวิชาการ และทหารซึ่งเป็นหนึ่งในผุ้ที่มีความโด่ดเด่นในยุคสมัยของ อลิสเบธ ที่ 1
 แอสโตเพล และ เสตลล่า เป็นงานเขียนชิ้นเอกของ เซอร์ฟิลิป ซิดนีย์
            เกิดในมณฑลแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของอังกฤษ เป็นลูกชายคนโตของ เซอร์เฮนรี่ซิดนีย์และเลดี้ แมรีดัดลีย์ แม่เป็นลูกสาวคนโตของ นอห์นดัดลีย์ 1 ดยุแห่งนอร์  ธ
            เมื่ออายุไ้ 18 ปี เขาได้รับเลือกในเป็นสมาชิกรัซสภาในฐานะที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนที่ได้รับเลือกเข้าโดยสภา และในปีเดียวกันเขาได้เดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสเป็นส่วนหนึ่งของสถานทูตในการเจรจาการอภิเษกระหว่าง ลิซาเบ ธ และ ดยุค แห่ง อาเลกอน เขาใช้เวลาหลายปีหลังจากนั้น ท่องไปในแผ่งดินยุดโรป เยอรมนี, อิตาลี,
โปแลนด์ราชอาณาจักรฮังการีและออสเตรีย ในการเดินทางครั้งนี้เขาได้พบกับปัญญาชนและนักการเมืองยุโรปหลายคน
          เมื่อกลังไปยังอังกฤษในปี ค.ศ. 1575 ซิดนีย์ ได้พบกับ เพโนฌลพี เดโวเรอซ์ ซึ่งจะเป็น เลดี้ ริช ในอนาคต (ถูกหมั้นหมายให้อภิเษกกับเจ้าชายเดนมาร์ก) ซึ่งเชื่อว่าเป็นแรงบันดาลใจในผลงานชินเอกเอกของ ฟิลิป ซิดนีย์
       
 "แอสโตเพล และสเตลล่า" เป็นภาษาอังกฤษที่มีฃำดับโคลง ซึ่งเป็นกลุ่มของบทกวี หัวเรื่องเืพ่อสร้างงานเขียนขนาดยาว ถึงแม้ทั่วไปจะมีความแตกต่างกันแต่ละบท แต่โคลงจะเชื่อมต่อเืพ่อนอกจากกันทั้งโคลงและยังสามารถอ่านแยกเป็นหน่วยย่อยๆ คงความหมายของแต่ละโคลงไว้อีกด้วย
            บทกวีมี 108 บทกวี คำว่า aster แปลว่า ดาว และ phil แปลว่า คนรัก และคำว่า stella เป็นภาษาละติน astrophil เป็นดาวรักของสเตลล่า เป็นดาวรักของเขา ซิดนีย์คงความสำคัญของรุปแบบของ เป-ตราจ กวีอิตาลีผุ้มีชื่อเสียง รวมถึงการเล่าเรื่องอย่งต่อเนื่อง แต่ปิดบังปรัชญาบางส่วนด้วยชั้นเชิงกวี
            ความสัมพันธ์กับความรักและความปรารถนาและความคิดที่เกี่ยวกับศิปละ ของการสร้างบทกวี ซิดนีย์ยังใช้รูปแบ เป-ตราจชาน
           ตัวอย่าง โคลง และการใช้คำจาก แอสโพเสล และสเตลล่า

          On Cupid's bow how are my heartstrings bent,
That see my wrack, and yet embrace the same?
When most I glory, then I feel most shame:
I willing run, yet while I run, repent.
My best wits still their own disgrace invent:
My very ink turns straight to Stella's name;
And yet my words, as them my pen doth frame,
Avise themselves that they are vainly spent.
For though she pass all things, yet what is all
That unto me, who fare like him that both
Looks to the skies and in a ditch doth fall?
Oh let me prop my mind, yet in his growth,
And not in Nature, for best fruits unfit:
"Scholar," saith Love, "bend hitherward your wit."https://en.wikipedia.org/wiki/Astrophel_and_Stella
 
         
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...