Social Contract (Jean Jacques Rousseau)

          ".. มนุษย์เกิดมาเสรี แต่ทุกหนหทุกแห่งเขาอยู่ในเครื่องพันธนาการ ตราบเท่าที่ราษฎรถูกบังคับให้เชขื่อฟัง และก็เชื่อฟัง เขาก็ทำดีแล้ว แต่ทว่าเขาจะทำดียิ่งขึ้น ถ้าหากเขาสลัดอกจากบ่าในทันที่ที่เขาสามารถสลัดได้ เื่อมีใครถือสิทธิเข้าแย่งชิงเสรีภาพราษ๓ร ราษฎรก็ย่อมจะมีสิทธิเช่นกันที่จะยื้อแย่งเสรีภาพกลับคืน ราษฎรมีสิทธิจะกู้เสรีภาพของตนได้ แต่ไม่มีใครจะมีสิทธิชิงเอาเสรีภาพไปจากราษฎร.."
           Jean Jacques Rousseau ฌ็อง ฌัก รุสโซ เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพนธ์เพลงที่ฝึกหันด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญา
           คำสอนของเขาสอนให้คนหันกลัยไปหาธรรมชาติ เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า "ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทำใหนไม่เสมอภาคกัน" เขาบอกว่า "เหตุผลมีประโยชน์ แต่มิใช่คำตอบของชีวิต ดังนั้นเราจึงต้องพึงความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของเราเอง ให้มากกว่าเหตุผล"
           ทฤษฎีคนเถือนใจธรรม รุสโซ่ เชื่อว่ามนุษย์นั้นเป็นคนดีโดยธรรมชาติ หรือเป็น "คนเถือนใจธรรม" เมื่ออยู่ในสภาวะธรรมชาติเดียวกนกับสัตว์อื่นๆ และเปนสภาพที่มนุษย์อยุ่มาก่อนที่จะมีการสร้างอารยธรรม แลสังคมแต่ถูกทำให้เเปดเปื้อนโดยสังคม เขามองสังคมว่าเป็นส่ิงที่ถูกประดิษฐ์ขึ้น และเชื่อว่าการพัฒนาของสังคม ดดยเฉาพะการเพิ่มขึ้นของการพึงพากันในสังคมนั้น เป็นสิ่งที่อันตรายต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
         
ในหนังสือ "สัญญาประชาคม" รุสโซ กล่าวถึงสัญญาประชาคมว่า หมายถึง สัญญาที่แต่ละคนเข้าร่วมกับทุกคนภายใต้เอกภาพและเจตจำนงอันเดียวกัน โดยที่ประาชนสามารถก่อตั้งรัฐบาลขึ้นได้และให้อำนาจแก่รัฐบาลเพื่อรับใช้ประชาชนแต่ถ้าเมื่อใดที่ประชาชนไม่พอใจรัฐบาลก็อาจเปลี่ยนแปลงรัฐบาลได้ รุสโซ่ ชี้ให้เห็นว่าสภาวะธรรมชาตินั้นเป็นสภาวะที่มนุษย์มีความผาสุก มีอิสระเสรี และความเสมอภาคอย่างไรก็ตามแม้มนุษย์จะเกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งมนุษย์ก็ถูกตรึงด้วยโซ่ตวนแห่งพันธนาการ แนวความคิดของรุสโซถือว่าเป็นรากฐานของระบอบประชาธิไตยในเวลาต่อมา
         รุสโซอธิบายการกำเนิดสังคมว่ามีสาเหตมาจากการเกิดและการขยายการปฏิสัมพันะ์ระหว่างครอบครัวและการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวก็บังเกิดขึ้น รุสโซ ชี้ถึงปัจจัยสำคัญคื อพัฒนาการทางเสณษบกิจ และความรักแบบโรแมนติก เขาเน้นถึงบทบาทสำคัญของเศรษบกิจที่มีค่อการก่อตัวของสังคมเมือง ดังที่กล่าวได้ว่า "คน แรกที่กั้นรั่วแผ่นดินคือผุ้เร่ิมสังคมเมืองที่แท้จริง" การคิดค้นการเกษตรกรรมที่นำไปส.ู่การสร้าง กฎ กติกา เพื่อความยุติธรรมขึ้นเป็นครั้งแรก ลบะในที่สุดแล้ว ด้วยการแนะนำของผุ้มั่งคั่ง ก็จะนำไปสู่การสถาปนาการเมืองการปกคอรงขึ้นมาหมายความว่าการเกิดการปกครองขึ้นมานั้นจะเป็นไปไม่ได้เลยถ้าปราศจาก เงื่อนไขของการเกิดกรรมสิทธิในทรัพย์สินส่วนตัวในที่ดิน มาก่อนหน้าและแท้ที่จริงแลว พัฒนาการการเกษตรที่เกิดขึ้นั้น เป็นผลพวงมาจากการเกิดครอบครัวก่อนหน้านี้ แต่กระนั้น ก็เสนอด้วยว่า
"เศรษฐกิจการเกษตรในตัวของมันเอง เป็สิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองพัฒนาการของความต้องการทางเพศ เรื่อง เพศ คือสะพานนำไปสู่การเมือง โดยมีนัยของการเปลี่ยนแปลงเรื่องความสัมพันะ์ทางเพศของมนุษ์เป็นปัจจัย เงือนไขที่จำเป็นอย่างยิ่งในการกำเนิดสังคมการเมือง รุสโซ อธิบาย ความขัดแย้ง ความไร้ระเบียบ ที่อุบัติขึ้นเมื่อสังคมได้ถือกำเนิดไว้ดังนี้คือความขัแย้งจะเกิดขึ้นเมื่อสภาวะของมนุษย์ในสงคมไม่เพื่ออำนวย หรือไม่เหมาะสมกับพวกเขา ความขัดแยง เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อมนุษญ์มองมนุษย์ด้วยกันว่า เป็นศัตรูที่แข่งขันกับพวกเขา เพื่อความโดดเด่นหรือเพื่อความเหนือกว่า หรือเพื่อสิงที่พึงปรารถนา และสุดท้ายความขัดแย้งยังคง่ำรงอยู่ ภายในปัจเจกบุคคล เมื่อจิตใจของเขาตกอยู่ภายใต้พันธนาการของกิเลสตัณหาอันไม่มีขีดจำกัด อารยธรรมหรือความเจริญก้าวหน้าของศิลปะวิยากานี้ทำให้ศัลธรรมการดำเนินชีวิตของมนุษย์เสื่อทรามลงเสียมากกว่าที่จะทำให้ดีขึ้น เมื่อมนุษย์ตกเป็นทาสของศิลปะวิทยาการเสรีภาพที่เคยมีและเป็นแก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ก้ไ้สูญหายไป
            http://www.stou.ac.th/forum/page/Answer.aspx?idindex=142283
ด้วยเหตุนี้เองที่รุสโซ ได้กล่าวขึ้นต้นใน "สัญญาประชาคม" ไว้ว่า มนุษย์เกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งเขาอยู่ในพันะนาการ ใครที่่คิดว่านเป็นนายคนดื่อน ย่อมไม่วายจะกลับเป็นเสียทาศยิ่งกว่า" ความผันแปรเช่นนี้เกิดขึ้นได้อย่างไรไม่ทราบ อะไรเล่าที่จะพึงทำให้ความผันแปรนั้นกลายเป็นส่ิงที่ชอบด้วยกฎหมาย ข้อนี้คิดว่าจะตอบปัญหาได้เพราะในสภาวะสังคมมันเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิดระเบียบเงือ่นไขที่กลีเลี่ยงไม่ได้ที่มนุษย์จะดำรงชีวิตอยู่โดยไม่เหยียบหัวแย่งชิง หลอกลวง ทรยศ และทำลายซึ่งกันและกัน การแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ มนุษย์มาอยุ่ร่วมกันเป้นสังคมเขาเสนอให้มีการสร้าง หรือการจัดระเบียบสังคมใหม่ขึ้นมา นั้นคือเราจะทำอย่างไรที่จะหารูปแบบของการอยู่ร่วมกันที่ สามารถปกป้องบุคคล และส่ิงที่พึงปรารถนาของสมาชิกแต่ละคนในสังม ดดยการ่วมพลังของทุกคน และเป้นรูปแบบการอยู่ร่วมกันที่ปัจเจกบุคคลแต่ละคน แม้ว่าจะรวมตัวเข้ากันกับคนอื่น แต่ก็มิได้ต้องเชื่อฟังใคร นอกจากตัวเขาเอง และยังควมีอิสรเสรีเหมือนแต่ก่อนคำตอบนั้นคือ "สัญญาประชาคม" และคือคำตอบสำหรับการหลุดจากสภาวะอันไม่อำนวย่อการดำรงชีวิตความเป็นมนุษย์มาทำใัญญา่วกัน หมายถึงการยอมเสียเสรีภาพตามธรรมชาติที่ติดตัวมาแต่กำเนิดของเขาเพื่อแลกกับเสรีภาพทางสังมการเมือง รุสโซ กล่าวว่าแก่นของ
สัญญาประชาคม คือการที่พวกเราแต่ละคนยอมเเละตัวเอง และอำนาจหน้าที่ ที่เขามีอยุ่ทั้งหมดให้กับส่วนร่วม ภายใต้การนำสุงสุดของ "เจตนำนงร่วม" และในฐาานะองค์ร่วม เราได้รวมสมาชิกทุกคนเข้าไเปนเนื้อเดียวกันในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทั้ง หมดที่แบ่งแยดไม่ได้ อันประกอบด้วยจำนวนสมาชิกที่มีจำนวนเท่ากับผุ้ออกเสียงในที่ประชุมซึงทำให้องค์รวม ดังกล่าวมีชีวิต มีเจตจำนง และในฐานะองค์รวม เราไมด้รวมสมาชิกทุกคนเข้าเป็นเนื้อเดียวกันในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทั้ง หมดที่แบ่งแยกไม่ได้ อันประกอบด้วยจนวนสมาชิกที่มีจำนวนเท่ากับผู้ออกเสียงในที่ประชุมซึ่งทำให้ องค์รวม ดังกล่าวมีชีวิต มีเจตจำนง มีตัวตน และมีเอกภาพ ของตัวเองขึ้นมา องค์รวมทางการเมืองหรือ บุคคล สาธารณะที่ก่อตัวขึ้นนี้ คือสังคมเมือง หรือสาธารณรัฐ และในสภานะที่เป็นผู้ถูกกระทำซึ่งเรียกว่ารัฐ  แต่ถ้าอยุ่ในสภานะ ผุ้ถูกกระทำ เรียกว่ องค์อธิปัตย์ และเมื่อมีการเปรียบเทียบระหว่างองค์อธิปัต ด้วยกน เราเรียกว่า "อำนาจ"และสำหรับผุ้ที่เข้าร่วมอยู่ภายใต้อำนาจของรัฐ เรียกว่า "ประชาชน" และเรียกว่า "พลเมือง" ตราบเท่าที่พวกเขามีส่วนร่วมในอำนาจอธิไตย และเรียกวพเขาว่ "ราษฎร" ตรบเท่าที่พวเกขาอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐ...

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)