วันศุกร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Prehistoric Britain : Britannia Romana

              บันทึกเกี่ยวกับหมุ่เกาะบริเทนมีขึ้นครั้งแรโดยพ่อค้าชาวกรีกโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อน
คริสตกาล พิธีแอสแห่งมาสซิเลีย นักสำรวจชาวกรีกมาเยือนเกาะอังกฤาใน 325 ปีก่อน คริสตศตวรรษ  พลีนีผู้พ่อ นักสำรวจชาวโรมันกล่าวว่าเกาะอังกฤษเป็นแหล่งดีบุกสำคัญ ทาซิตุส ชาวโรมันเป็นคนแรกที่กล่าวถึงบริตัน ที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะบริเตน ว่ามไ่มีความแตกต่างจากชาวโกล ในฝรั่งเศส(คือเป้นชาวเคลท์เหมือนกัน) ในด้านรูปร่างหน้าตาขนาดร่างกาย
             จูเลียส ซีซาร์พยายามจะพิชิตอังกฤผษในปีที่ 55 และ 54 ก่อนคริสตศตวรรษ แต่ไม่สำเร็จ นนจักรพรรดิคลอติอุส ส่งทัพมาพิชิตอังฏฟานค.ศ. 43 ชาวโรมัปกครองทั้งอังกฤษ เวลส์ เลยไปถึงสกอตแลนด์ ตั้งเมืองสำคัญต่างๆ เช่น ลอนดอน แต่ชาวโรมันทนการรุกรานของเผ่าเยอรมันต่างๆ ไม่ไหว ถอนกำลังออไปใน ค.ศ. 410 ชาวแองโกล ชาวแซกซัน และชาวจูทส์ มาปักหลักตั้งถ่ินฐานในอังกฤษ ต่อสู้กับชาวบริตันเดิม ผลักให้ถอยร่นไปทางตะวันตกและเหนือhttps://kimmayoungsoo.wordpress.com/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99/
           
ในการเดินทางมาครั้งสองของโรมัน เป็นการเดินทางมารุกราน ซีซาร์นำองทหารมาเป็นจำนวนมากกว่าเดิมและได้ชวนเชิญชนเผ่าเคลติดหลายเป่ามาเกลี้ยกล่อมให้มอบรรณาการให้แก่โรมเพื่อเป็นการและเปลี่ยนกับการคืนตัวประกันเพื่อควาสงบ ดรมันแต่างตั้งประมุขของเผ่าหนึ่งที่มาเป็นฝักฝ่ายกบโรมมานดูบราเซียส ให้เป็นผุ้ปกครองและกำจัดคาสสิเวลลอนัส ผุ้เป้นศัตรุของมานดูบราเซียส โรมันจับตัวประกันไปแต่นักประวัติศาสตร์ตกลงกันไม่ไ้ว่าชาวบริเตนตกลงจ่ายบรรณาการหลังจากที่ซีซาร์กลับไปกอลพร้อมกับพองทัพหรือไม่
            การรุกรานครั้งนี้ซีซาร์ไม่ได้อาณาบริเวณใดใดกลับไปด้วยและก็มิได้ทิ้งกองทหารไว้ดูแลแต่ได้ก่อตั้ง "Cliens" ในบริเตนซึ่งทำให้เกาะอังกฤษกลายมาเป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลในทางการเมืองจากโรมในปี 34,27 และ 25 ก่อนคริสต์ศักราช ออกัสตัส ซซาร์ วางแผนที่จะมารุกรานอังกฤษแต่สาถนะการณ์ไม่อำนวย ความสัมพันะ์ระหว่างบริเตนกับโรมจึงเป็นแต่เพียงความสัมพันะ์ทางการทูตและการค้าขาย สตราโบนักประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ปัชญาชาวกรีกบันทึกไว้ในปลายสมัยออกกัสตัส ซีซาร์ว่ารายได้จากภาษีและการค้าบริเตนเปนรายได้มีมากกว่ารายได้ที่ได้จากการได้รัับชัยชนะอื่นๆ ของโรมัน ซึ่งสนับสนุนได้จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบสินค้าฟุ่มเพฟื่อยทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นสตราโบก็ยังกล่าวถึงพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษผุ้ส่งทูตไปยังสำนักของออกัสสตัส และบันทึกของออกัสตัสเอง  “Res Gestae Divi Augusti” ที่กล่าวถึงกษัตรยิ์สองพระอง๕์ที่ออกัสตัสได้รับในฐานะผุ้ลี้ภัย ต่อมาใน ค.ศ. 16 เมื่อเรือบางลำของไทบีเรียสถูกพันไปยังเกาะอังกฤษ โดยพายะระหว่างการรณรงค์ในเจอร์มาเนย ทหารโรมัน ก็ถูกส่งตัวกลับโดยผุ้นำใท้องถ่ินในบริเตน ที่กลับไปเล่ากันถึงตำนานยักษณ์ร้ายต่าง ๆที่พบทีนั่น
            โรมดุจะสนับนุนการสร้างความสมดุลทางอำนจทางใต้ของบริเตนโดยสนับสนุนราชอาณาจักรสองราชอาณาจักรที่ีอำนาจ คาทูเวลลอนิ ที่ปกครองโดยผุ้ที่นือบเชื้อสายาจากทาสซิโอวานัน และอาเทรบาทีส ที่ปกครองโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากคอมเมียส นโยบายนี้ปฏิบัติติดต่อกันมาจนปี ค.ศ. 39 หรือ 40 เมื่อคาลิกูลา รับผุ้ลี้ภัยจากคาทูเวลลอนิและวางแผนการรุกรานเกาะอังกฤษที่แตกแผยกออกเป็นฝัฝักเป็นฝ่าย เมื่อคลอเดียสรุกรานอังกฤษสำเร็ในปี ค.ศ. 43 โดยได้รับความช่วยเหลือจากผุ้ปกครองบริเตนคนหนึ่ง เวอร์ติคาแห่ง เทรบาทส์
           การรุกรานบิรเตนโดยดรมัน กองทัพท่นำมารุกรานอังกฤษใน ค.ศ. 43 นำโอย ออลัส พอลเทียส แต่ไม่เป็นที่ราบว่าโรันส่งกองกำลังมาเป็นจำนวนเท่าใด นอกไปจาก "กองออกัสตาที่ 2 ฎ ที่นำโดยเวสเปเชียน ผุ้ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งโรมที่กล่าวว่ามีส่วนร่วม ส่วน "กองฮิลปานยาที่ 14 " และ "กองวาเลเรียเวทริกซ์ที่ 20 " มีส่วนร่วมในปี ค.ศ. 60/61 ระหว่างการปฏิวัติบูคิคา ซึ่งอาจจะเป็นกองที่ประจำอยู่ที่นั่นมาตั้งแต่การรุกรานครั้งแรก แต่โดยทั่วไปแล้วกองทัพโรมัน เป็นกองทัพี่มีความยืดหยุ่นในการโยกย้ายกองกำลังต่างๆ ไปยังที่ต่างๆ ในเวลาใดก็ได้แล้วแต่ความจำเ็ ซึ่ทำให้เป็นการยากที่จะสันนิษฐานโดยไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่ากองใดแน่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่ท่แน่ก็มีแต่ "กองฮิลปานยาที่ 9 " เท่านั้นที่ประจำการอยู่ในบริเตนจนถูกกำจัดโดยสกอต
         
การรุกรานมาช้าลงเพระาการแข็งข้อาภายในของทหารจนเมือได้รวสัญญาว่จะได้รับเสรีภาพถ้ายอมข้ามทะเลไปต่อสู้ในดนแดนที่ไม่คุ้นเคย การข้ามแบ่งเป็นสามหน่วยที่อาจจขึ้นฝั่งที่ริชบะระห์ ในเค้น
ท์ แต่บางหลักฐานก็กล่าวว่าบางส่วนขึ้นทางฝั่งทะเลด้านใต้ในบริเวณฟิบอร์ในเวสต์ซัสเซ็กซ์
            โรมันได้รับชัยชนะต่อคาทูเวลอนิและพันธิมิตรในยุทธการสองยุทธการๆ แรกยุทธการเม็ดเวย์ และยุทธการที่สองที่แม่น้ำเทมส์ โทโกดูมัส ผุ้นำของคาทูเวลลอนิถูกสังหารแต่น้องชายคารัททาคัส รอดมาต่อต้านที่อื่นต่อไป พลอเทียสหยุดยังอยู่ที่มแ่น้ำเทมส์และสงข่วไปยังคลอเดียสผุ้ตามมาพร้อมกับกองกำลังสนับสนุที่รวมทั้งอาวุธและช้างเพื่อที่จะเดินทัพไปยังที่มันสุดท้ายที่เมืองหลวงคามุโลดูนัม (โคลเซสเตรอื ในปัจจุบัน) เวสเปเซียน จึุงปราบปรามทางตะวันตกเฉียงใต้ของบริเตนได้ หลังจากนั้นโรมมก็แต่งตั้งให้ ไทบีเรียส คลอเดียส โคกิดูบนัส ผุ้เป็นพันธมิตรกับโรมเป็นผุ้ปกครองอาณาบริเวณหลายอาณาบริเวณ และภายนอกบริวเณที่ปกครองโดยโรมันโดยตรงก้มีการลงนามในสนธิสัญญากับกลุ่มต่างๆ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99
       

Prehistoric Britain

         
อังกฤษก่อนปรวัติศาสตร์ เป็นประวัติของการตั้งถิ่นฐานในบริเตนใหญ่ที่เร่ิมตั้งแต่ปลายสมัยก่อนประวัติศาสตร์และมาสิ้สุดลงเมื่อชาวโรมันเข้ามารุกราน
            บรเิตนเป็นที่ตั้งถิ่นฐานเป็นพักๆ ของมนุษย์ "จีนัสโฮโม" มาเป็นเวลาหลายแสนปี และต่อมาโดยมนุษย์ "โฮโมเซเปียน" เป็นเวลาอีหลายหมื่นปี..มนุษย์สมัยใหม่มาตั้งถ่ินฐานในบริเตนก่อนหน้ายุคน้ำแข็งครั้งสุดท้าย เมื่อยุคน้ำแข็งเร่ิมขึ้นอีกครั้ง เมื่อแผ่นดินบริเตนส่วนใหญ่ถูกปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งและส่วนอื่นๆ เป็นทุ่งทันตรา ผุ้ที่ตั้งถ่ินฐานอยู่ในบริเตนก็ย้ายหนีละไปทางใต้ของยุโรป ในช่วงนี้ระดับน้ำทะเลของยริเตนตำกว่าระดับปัจจุบันราม 127 เมตร แผ่นดินบริเตนึงเป็นแผ่นดินที่ติดต่อกับทั้งไอร์แลนด์และยุโรปทำให้สามารถเดินผ่านถึงกันได้โดยไม่ต้องข้าททะเลเช่นในปัจจุบัน
           หลังจากยุน้ำแข็งสิ้นสุดลง..แผ่นดินไอร์แลนด์ก็แยกจากบริเตน ต่อมาอีกพันปีก่อนคริต์ศตวรรษ บริเตนก็แยกออกจากแผ่นดินใหญ่ยุโรป  เร่ิมมีผุ้กลับมตั้งถ่ินฐานราว 12,000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษซึ่งเห็นได้จากหลัฐานทางโบราณคดี เมื่อราว 4000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษเกาะอังกฤษก็เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผุ้คนจากยุคหินใหม่ แต่ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานก่อนโรมันไ่มีหลักฐานว่ามีภาษาเขียนที่หลงเหลืออยู่ให้เห็น การที่ไม่มีหลักฐานทางวรรณกรรมจากสมัยนี้ทำให้เป็นการยากที่จะทราบโดยตรงถึงประวัติ วัฒนธรรมและความเป็นอยู่ ความรุ้ความเข้าใจจึง้งอมาจากการศึกษาจากหลักฐานจากสิ่งที่พบทางโบราณคดีประกอบกับหลักฐานทางพันธุกรรม ทางด้านภาษาก็มีหลักฐานเหลือยู่เพียงเล็กน้อยที่มาจากชื่อแม่น้ำ หรือเนินต่างๆ ที่อธิบายอย่างละเอียดในบทความสมัยก่อนเคลติต และสมัยเคลติค
          หลักฐานจากงานเขียนที่สำคัญชิ้นแรกที่กล่าวถึงบริเตนและผุ้อยู่อาศัยมาจาข้อเขชียนของไพเธียส นักเินเรือกรีกผุ้เดินทางมาสำรวจชายฝั่งทะเลในบริเวณบริเตนราว 325 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษ แต่ก็อาจจะมีข้อมูลเก่ยวกับบริเตนใน "โอรา มาริทิมา" ที่หายไปซึงรวมอยุ่ในข้อเขียนของนักเขียนผุ้อื่นในภายหลังชาวบริเตนโบราณทมีการติดต่อค้าขายและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธณณมกับทวีปยุโรปมาตั้งแต่ยุคหินใหม่ เป็นต้นมาโดยเฉพาะในการส่งดีบุกเป็นสิน้าออกึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติทีบริเตนมีากมาย หลันอื่นที่กล่าวถึงบริเตนมาจากจูเลียส ซีซาร์ ผุ้กล่าวถึงบริเตนราว 50 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษ...
            บริเตนเป็นที่รุ้จักกนมาตั้งแต่ในสมยกรีกโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช
เป็นต้นมา กรีก ฟินิเซีย และคาร์เธจ ก็มีการติดต่อค้าขาย ดีบุก กับ คอร์นวอลล์ ชาวกรีกเรียกบริเตนว่า "คาสซิเทอไรด์ส" หรือหมู่เกาดีบุกและบรรยายว่าตั้งอยู่ราวทางฝังทะเลตะวันตกของยโรปกล่าวกันว่า นักเดนเรือชาวคาร์เทจ "ฮิมิลิโค" ได้เดดนทางมาบังเกาะอังกฤษ ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช และนักสำรวจชาวกรีก ไพเธยส ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตืศักราช แตค่ถือกันว่าเป็นดินแดนที่ลึกลับและบ้างก็ไม่เชื่อว่าเป็ฯดินแดที่ม่อยุจริง
             การติดต่อกับโรมันโดยตรงเป้นการเดินทางมาสำรวจโดยจูเลียส ซีซาร์ สองครั้งในปี 55 และอีครั้งในปี 54 ก่อนคริสต์ศักราชซึ่ง เป้นการเดินทางที่เลยมาหลังจากได้รับชัยชนะต่อ"กอล" เพราะซีซาร์เชื่อว่าชาวบริเตนให้ความช่วยเหลือแก่ผุ้ต่อต้านชาวกอล การเดินทางมาสำรวจครั้งแรกเป็นการมาลาดตระเวณมากว่าทีจะเป็นการรุกรานเต็มตัวโยมาขึ้นฝังที่เค็นท์ แต่มาถุกพายุทำลายเรือไปบ้างและขาดทหารม้ทำให้ไม่สามารถไปได้ไกลกว่านั้น การสำรวจครั้งแรกเป็นความล้มเหลวทางทหารแต่เป็นความสำเร็จทางการเมือง ที่สภาเซเนโรมัน ประกาศหยุดราชการ 20 วันเพื่อเป็นการฉลอ
ความสำเร็จในการพบดินแดนใหม่ที่ไม่มีสิ่งใดเท่าเทียม...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Kelts

           เคลต์ หรือ เซลต์ เป้นคำทีใช้เรียกชนยุโปรที่เดิมพูดหรือบังพูดภาษากลุ่มเคลต์ นอกจากนั้นก็ยังเป้นคำที่ใช้ในความมหายหว้างๆ ในการบรรยายผุ้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่
       
  เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็ยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเร่ิมก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัย วัฒนธรรมฮัลล์ตัทท์ ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแคน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่างๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึง ไอร์แลนด์ และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเซีย (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์
           หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยุ่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรป มีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลก์เกาะ ปรากฎในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม วรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอรัชเก่า ตั้เงแต่รวมคริต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น"Táin Bó Cúailnge"  มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12
           เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังจากขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการยายถ่ินฐาน ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช และภาษาเคลต์ยุดรปก็อยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบิรตตานี บนสองฝั่งของ่องแคบอังกฤษ..
          .. ในปัจจับนคำว่า "เคลต์" โดยทั่วไปใช้ในการบรรยายภาษาและอารยธรรมของไอร์แลนด์ สกอตแลนด์, เวลล์, คอร์นวอลล์, เกาะแมนและบริตตานี หรือที่เรียกว่า ชาติเคลต์ทั้งหก  (Six Celtic Nations)ในปัจจุบันยังมีบริเวณสี่บริเวณที่เพ่งเร่ิมเข้ามาคอร์นิช (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิกและแมง.์ (หนึ่งในภาษากลุ่มกอยเดล) อกจากนั้นก็ยังมีการพยายามที่จะฟื้นฟูการใช้ภาษาคับริก (หนึ่งในภาษากลุ่มบริทอนิก จากทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษและตะวันตกเฉียงใต้ของสกอตแลนด์)
             "เดลต์" บางครั้งก็ใช้ในการบรรยายอาณาบริเวณในแผ่งดินใหญยุโรป ที่มีรากฐานมาจากเดลต์แต่ไมไ้ใช้ภาษาเดลต์ซึ่งได้แก่บริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย(โปรตุเกส) ทางตอนกลางตอนเหนือของสเปน (กาลิเซีย, อัสตูเรียส, กันตาเบรย, คาสตีลและเลออน, เอกซ์เตรมาตูรา) และบางส่วนของฝรั่งเศส
             "เดลต์ยุโรป" หมายถึงผู้ที่พูดภาษเคลตบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ส่วน "ชาวเดลต์เกาะ หมายถึงผุ้ที่พุดภาษาเคลต์บนหมุ่เกาะอังกฤษ ผุ้สืบเชื้อสายเดคต์ในบริตตานีที่มาจากชาวเดคลต์เกาะจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษจึงจัดอยุ่ในกลุ่มเดียวกัน
             กลุ่มภาษาเดลต์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เมื่อผุ้ใช้ภาษากลุ่มเดอลต์เข้ามามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ราาว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช หวเหน้าเเผ่าหนึ่งของกลอโจมตีโรม เมื่อ 387 ปีก่อนคริสตศักราช) ก็ได้เเยกตัวเป้นกลุ่มภาษาย่อยแล้วและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปตอนกลาง คาบสมุทรไอบีเรีย ไอร์แลนด์และบิรเตน
           
 นักวิชาการบางท่านมีความเห็นว่าเอิร์นฟิลด์ ของทางด้านเหนือของเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์เป็นบริเวณตนกำเนิดของเคลต์ที่เป็นอารยธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสาาอารยธรรมตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อารยธรรมนี้มีศุนย์กลางอยุ่ตอนกลางของทวีปยุโรป ระหว่งปลายยุคสำริดตั้งแต่รวม 1200 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่ง - 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่สืบเนื่องมรจาก อารยธรรมอูเญชิตเซ และ อารยธรรมทิวมิวลัส ระหว่างสมัยอารยธรรมเดิร์นฟิลด์ก็มีขยายจำนวนประชากรขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณที่ว่าซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการปรับปรุงวิะีการเกษตรกรรมนักประวัติศาสตร์กรีก เอโฟรัส แห่งไซม์ไในเอเ๙ียไม่เนอร์บันทึกเมื่อสี่ร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชว่าชาวเคลต์มาจากเกาะที่ปากแม่นำ้ไรน์ผู้ถูก "ชับจากบริเวณนั้นเพราะสงครามที่เกิดขึ้ย่อยๆ และความรุนแรงเมื่อน้ำทะเลสุงขึ้น"
              การเผยแพร่ของการตีเหล็กเป็นการวิวฒนาการของอารยธรรมฮัลล์ชตัทท์ โดยตรงจากอายธรรมเอิร์ทฟิลด์ (ราว 700 ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ภาาาเคลต์ดังเดิม ที่เป็นภาษาที่มาก่อนภาษากลุ่มเคลต์เชื่อก้นว่าเป็นภาษาที่ใช้พุดในปลายสมัยเอิร์นฟิลด์ หรือต้นสมยฮัลล์ชตัทท์ เมื่อต้นพันปีก่อนคริสต์ศักราช การแพร่ขยายของกลุ่มภาษาเคลต์ไปยังไอบีเรีย ไอร์แลนด์ และบริเตนสันนิษฐษนกันว่าเกิดขึ้นราวครึ่งแรกของพันปีก่อนคริสต์ศักราช - จากหลักฐานการฝังรถม้ากับผุ้ตายที่พบในอังกฤษที่คาดว่าเกิดขึ้นราาว 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หลายร้อยปีต่อมากลุ่มภาษาเดลต์ก็แบ่งแยกออกเป็น ภาษเคลต์ไอบีเรีย กลุ่มภาษากอยเดล และภาษากลุ่มบริทอนิก
           อายธรรมฮัลล์ชตัทท์ตามมาด้วยวัฒนธรรมลกแตนของยุโรปตอนกลางและรกว่งปลายสมัยยุคเลห็ก็ค่อยๆ กลายเป้นอารยธรรมเดคลต์ แม่น้ำหลายแม่น้ำที่มีชื่เอป้นภาษาเคลต์พบในบริเวณตอนบนของแม่น้ำดานูบ และแม่น้ำไรท์ที่นักวิชาการเกี่ยวกับการยธรรมเดลต์สันนิษฐานกันว่าเป้นบริเวณที่เป็นบ่อเกิดของชาติพันธ์ เคลต์
          นักประวัติศาสตร์กรีก ดีโอโตรุส ซีกูลุส และสตราโบ ต่างก็สันนิษฐานว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเดลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส ซีคัลลัสกล่าวว่ากอลอยุ่ทางเหนือของเดลต์ และโรมันเรียกคนทั้งสองกลุ่มว่า "กอล" ก่อนหน้าที่จะพบ อารยธรรมฮัลล์ซตัทท์ และวัฒนธรรมลาแตนเป็นที่เชื่อกัะว่าศุนย์กลางของอารยธรรมเคลต์อยุ่ทางใต้ของฝรั่งเศส
           อัลมาโกร-กอร์เบอา เสนอว่าที่มาของอารยธรรมเคลต์ เร่ิมขึ้นเมื่อสามพันปีก่อนคริสต์สํกราชที่เดมมีต้นตอมาจาก อารยธรรมเบล บีคเดอร์ ซึ่งเป้ฯการทำให้อารยธรรมนี้เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตกและสร้างความแตกต่างในหมู่ชาวเคลต์เอง นอกจากนั้นก็ยังเป้นการก่อสร้งางประเพณีโบราณต่างๆ
           ขณะเดียวกันการค้นคว้าทางด้านพันธุศาสตร์ ปรวัติศาสตร์ และโบราณคดีและนักเขียนสตีเฟน ออปเพนไฮเมอร์ก็เสนอว่าเคลต์เป็นชนเมดิเตอร์เรเนียนที่เข้ามาตั้งถ่ินฐานครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปลายยุคน้ำแขช้.ครั้งสุดท้ายราว 11.000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และตั้งแต่นั้นมาก็อาจจะรวมตัวกับ ชนกลุ่มบาสก์ตั้งเดิม และขยายตัวไปยังอิตาลี สเปน เกาะอักฤา และเยอรมนี ซึ่งตงกับตำนานที่มาจากเคลต์ที่บันทึกในสมัยกลางของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ที่กล่าวเป็นนัยยะถึงต้จตอว่ามาจากอานาโตเลียและต่อมาไอบีเรียโดยทางอียิปต์ แต่ในหนังสือ "ที่มาของชนบริติช" ฉบับปรับปรุง ออปเพนไฮเมอร์ด้านทฤษฎีเดิมว่าทั้งชาวแองโกล-แซกซัน และชาวเคลต์ไ่มีอิทธิพลต่อพันะูกรรมของผุ้อยุ่อาศัยในหมู่เกาะบริเตนเท่าใดนักและบรพบุรุษของชนบริติชส่่วนใหญ่สืบมาจากชนไอบีเรียของยูหินเก่าที่ปัจจุบันคือชาวบาสก์..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C

วันพุธที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Trojan War

           สงครามกรุงทรอย เป็นสงครามระหวางชาวอะคีอัสน์ (ชาวกรีก) กับกรุงทรอย หลังปารีสแห่งทรอยชิงเฮเลนมาจากพระสวามี พระเจ้าเมเนเลอัสแห่งสปาร์ตา สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งใเหตุการณ์สสำคัญที่สุดในเทพปกรณัมกรีก และมีการบอกเล่าผ่านงานวรรณกรรมกรีกหลายิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ อีิลียด และโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ อีเลียดเกี่ยวข้องกับกับการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของโอดิสเซียส ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลง วัฎจกรมหากาพย์ ได้แก่ ไซเพรีย, เอธิออพิ, อิเลียดน้อย, อีลิอูเพือร์ซิส นอสตอย และเทเลโกนี ซึ่งปัจจุบันเหลือรอดมาเพียงบางส่วนฯ การศึกาแห่งกรุงทรอยเป็นแหล่งวัตถุดิบสำคัญที่ กวีและนักประพันธ์โศกนาฎกรรมกรีก เช่น เอสติลัส โซโฟคลีส และ ยูริพิดีส นำมาใช้ประพันะ์บทละคร นอกจากนี้กวี ชขาวโรมัน โดยเฉพาะเวอร์จิล และโอวิด ก็ดึงเอาเหตุการณ์จากสงครามทอยมาเป็นพื้นเรื่อง หรือเนื้อหาส่วนหนึ่งในงานประพันะ์ของตนเช่นกัน
          สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทีพอธีนา เฮรา และแอโฟรไดที หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิดสีทอง ซึงบางครั้งรู้จักกันในนาม "แอปเปิลแห่งความบาดหมาง" แก่ ๐ผู้ที่งามที่สุด" ซูสส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผุ้ตัดสินว่าแอโฟร์ไดที เป็น "ผู้งดงามที่สุด" ควรได้รับแอเปิลไปเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดที เสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัสตกหลุรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้าอรู่ไม่ซีนี และพระเขษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะดีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้มกรุงไว้สิบปีหลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้งอคิลลิสและอาเจแ็กซ์ ของฝ่ายอะดีอันส์ และเฮกเตอร์ และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสยด้วยอุบายม้โทรจัน
          ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชวิตหรือขายเป็นทาส ) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ขาวอะคีอันส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในขชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผุ้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน
          ชาวกรีกโบราณคาดว่าสงครามกรุงทรอยตั้งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน ใกล้กับช่องแคบดาร์คาเนลส์เมือล่วงมาถึงสมัยใหม่ คนส่วนใหญ่เชื้อว่าทั้งสงครามและกรุงทรอยเป็นนิทานปรำปราที่แต่งชขึ้นอย่างไรก็ดี ในปี 1868 นักโบราณคดีชขาวเยอรมัน ไฮน์ริช ชไลมันน์พบกับแผรงก์ คัลเวิร์ท ผุ้โน้มน้าวชไลมันน์ว่า กรุงทรอยเป็นสถานที่ที่มีอยุ่จริง โดยตั้งอยู่ที่ฮิสซาร์รคิประเทศตุรกี และชดลมันน์เข้าควบคุมการขุดค้นของคัลเวิร์ทบนพื้นที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินองคับเลิร์ท คำถามที่ว่ามีความเป้นจริงทางประวัติศาสตร์ใดอยู่เื้องหลังสงครามกรุงทรอยหรือไม่นั้นยังไม่มีคำตอบ นักวิชาการจำนวนมากเชื่อว่านิยายดังกล่าวมีแก่นความจริงทางประวัติศาสตร์ แม้อาจหมายคึวามว่า เรื่องเล่าของโอเมอร์เป็นการผสมผสานของชาวกรีก ไม่ซีเนียนระหว่างยุคสัมฤทิธิ์ก็ตาม ผุ้ที่เชื่อว่าเรื่องเล่าสงครามกรุงทรอยมาจากความขัดแย้งในประวัติศาสตณ์อย่างเฉพาะมักระบุเวลาไว้ว่าอยุ่ในศตวรรษที่ 12 หรือ 11 ก่อนคริสตกาล ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดีของการเผาทำลายทรอย https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2

วันอังคารที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

Alexander the Great II

        พระเจ้าโปรุส, พระเจ้าเปาวระ อเล็กซานเดอร์มหาราช กับศึกพระเจ้าเปาวระ (พระเจ้าโปรุส)    กองทัพเกรียงไกรของ พระเจ้าอเล็กซานเอร์มหาราช จมราชันย์ผุ้พิชิตจักรวรรดิ์ต่างๆ ลงอย่างราบคาบ ได้กรีธาทัพทำศึกขึ้นแตกหักกับ พระเจ้าโปรุส จอมราชันย์แห่งรัฐ ปัญจาบ ซึ่งเป็นแค้วนหนึ่งของอินเดียโบราณ หรือชมพูทวีป
         แม้เวลาจะล่วงเลยมาเนิ่นนาม แต่ด้วยความกล้าหาญของโปรุส ที่ไม่สยบยอมผุ้รุกราน ยืนหยัดต่อสู้อย่างไม่หวั่นเกรง ก็ทำให้ศึกครั้งนั้นด้รับการจดจำว่า เป้นมหาสครามที่ยิ่งใหญ่ระหว่าง 2 จอมราชันย์ ที่ฝ่ายหนึ่งรบเพื่อเป็นผู้พิชิต โดยมีความปรารถนาที่จะครอบครองโลก ในขณะที่อีฝ่ายรบเพื่อปกป้องบ้านเมือง เพื่อสันติสุขในของประชาราษฎร
         อเล็าซานเดอร์ได้รับกายกย่อง่่า เป้น นักรบที่เก่งที่สุดในโลกยุคโบราณเปี่ยมไปด้วยความกล้าหาญ เป้นจอมทัพที่นำหน้าทหารบุกตะลัยไปในทุกๆ ที่ประกอบกับงความชาญฉลาดในการใช้ยุทธซิธีต่างๆ อย่างแยบยล ทไใ้พระองค์สามารถกำลัยได้ในทุกสมารภูมิ แม้กองทัพฝ่ายจรจะมีจำนวนน้อยกว่าก้ตาม
        โดยปัจจัยที่ทำให้พระองค์เป็นจอมราชันย์ที่เก่งทั้งบู๊และบุ๋น ที่เห็นแววว่า ต่อไปในภายภาคหน้พระโอรสจะต้องป็นกษัตรยิ์ท่ย่ิงใหย๋ ฟิลิปจึงถ่ายทอดความรู้ในด้านการทำศึก และเคี่ยวกรำฝึกฝนเพือให้พระองค์เติบใหญ่ตมแนวทางของมหารบุรุษ และได้เชื้อเชิญ อริสโตเติล สุดยอดนักปราชญ์ ผุ้รอบรู้ศาสตร์แขนงต่างๆ มาเป็นพระอาจารย์ให้กับพระโอรสอีกด้วย ซึ่งส่ิงที่พระเจ้าฟิลิปมุ่งหวัง ก็คือรวบรวมอาณาจักรกรีกให้เป็นหนึงเดียวและพระองค์ก็ทำได้สำเร็จในการรบกับพันรธมิตรกรีก บนทุ่งราบบีโอเชีย เชิงเขาปาร์นาสซัส โดยมีอเล็กซานเดอร์ ขณะพระชนมายุ 18 ชันษา ร่วมทำศึกด้วย
          ฟิลิปเป็นผุ้ที่คิดค้นยุทธวิะีที่แรียกว่า ฟาลังค์ โดยทหารแต่ละนายจะมีหอกยาวประมาณ 5 เมตร เป็นอาวุธคู่กาย ที่ใช้ป้องกันไม่ให้ข้าศึกบุกประชิดถึงตัว ในขณะเดียวกันก็ใช้เป็นอาวุธทำลายแนวตั้งรับของข้าศึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต่อมาอเล็กซานเดอร์ได้นำยุทธวิะีนี้มาประยุกต์ใช้ด้วยการฝึกฝนทหารของพระองค์ให้ช่ำชองในการใช้หอกยาว 5 เมตรบนหลังม้า ทำให้กองทัพม้าของพระองค์ได้ชื่อว่า เก่งกาจในระดับไร้เที่ยมทาน
          เมื่อพระเจ้าโปรุส ทราบว่าอเล็กซานเดอร์กำลังยกทัพมาบทขยี้แค้วนปัญจาบแต่ก็หาหวั่นเกรงไม่ เพราะพระองค์ก็มีความช่ำชองในยุทธวิะีเชนกัน และด้วยความเชี่ยวชาญในตำราพิชัยสงคราม โปรุสซึ่งทราบถึงความไร้เที่ยมทานของกองทัพม้าของกรีก จึงได้ใช้ยุทธวิธีที่แตกต่างออกไป เพราะถ้ารบกันด้วยกองทัพม้าเหมือนเมื่องอื่นๆ โอกาสที่จะมีชัยเหนือกองทัพอเล็กซานเดอร์ ก็แทบไม่มีทางเป็นไปได้
          โดยส่งิที่กองทัพกรีกได้ประสบเมื่อทั้งสองฝ่ายเผชิญหน้ากัน นั่นก็คือกองทัพช้างขนาดมนึมาจำนวนมหาศาล ที่สร้างความตื่นตะลึคงให้กับทั้งคนและม้้า ทำให้อเล็กซานเดอร์ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ชนิดที่เรียกว่า คิดนอกตำรา เพื่อไม่ให้โปรุสคาดเดาแนวทางการต่อสู้ของพระองค์ได้
           ประวัติศาสตร์ได้เล่าขานถึงการต่อสู่ระหว่าง 2 กองทัพว่าเป็นไปอย่างสูสี ซึ่งลึกๆ แล้ว น่าจะเป็นส่งิที่เอเล็กซานเดอร์ทรงโหยหามาเนิ่นนาน นั่นก็คือ ศัตรูที่คู่ควร ที่มีฝีมือและสติปัญญาทัดเทียมกัน
           เฮฟิสเทียน เป็นเม่ทัพชาวมาเกโดนีอา ของกองทัพอเล็กซานเดอร์มหาราช เขาเปนเพื่อสนิทกับอเล็กซานเดอต์มาตั้งแต่เยาว์วัย จนยในที่สุด ความสัมพันะ์ของทั้งสองก็ได้พัฒนาเหนือกว่ามิตรภาพระหว่งางเพื่อน เขาเป็นคนที่อเล็กซานเดอร์ไว้วางใจที่สุด แต่อย่งไรก็ตาม ด้วยความเสื่อขชองวัฒนธรรมกรีกและการมีอิทธิพลขึ้นมาของศาสนาคริสต์ซึ่งต่อต้านการรักร่วมเพศ ทำให้ประวัติศาสตร์ได้บันทึกเรื่องราวของทั้งสองว่าเป็น "เพื่อนที่ดีที่สุด" แทนเพื่อให้ได้รับการยอมรับ
         
ในบันทึก "อเล็กซานเดอร์ โรแมนซ์" บันทึกไว้ว่า "..วันหนึ่ง เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 15 ชันษา [...] ได้แล่นเรื่อไปกับสหายเฮไพส์ตีออนจนไปถึงปิซา แล้วจึงลงไปเดินเล่นกับแฮไพส์ตีออน ซึ่งอายุของอเล็กซานเดอรืในบันทึกนี้เอง เป็นเบาะแสที่สำคัญต่อการศึกษาที่มาของเฮผิสเทียน  เพราะขณะอเล็กซานเดอร์อายุ 15 ชันษา เขาต้องกำลังศึกษาอยุ่ที่มีเอซา ภายใต้การประสาทวิชาโดย อริสโตเติล และด้วยมิตภาพของทั้งสองที่แน่แฟ้นทำให้รู้ได้ว่า เฮฟิสเทียนเป็นหนึ่งในนักเรียนที่นี่เช่นกัน
          เป็นที่รู้กันว่า ความสัมพันะ์ของเฮฟิสเทียนและอเล็กซานเดอร์นั้นมีมากเกิดกว่ามิตรภาพระหว่างเพื่อน ดังที่ อริสโตเติล ครุของทั้งสอง ได้อธิบายความสัมพันะ์ของทั้งคุ่ว่าเปรียบดั่ง "หนึ่งวิญญาณที่ดำรงอยุ่ในสองร่าง"
          ครั้งที่อเล็กซานเดอร์ รบชนะเปอร์เซีย เฮฟิสเทียนได้เดินนำอเล็กซานเดอร์ไปยังกระโจมที่คุมตัวสมาชิกราชวงศ์เปอร์เซียไว้ เมื่อพระพันปีแกมบิสทอดพระเจตรเห็นก็รีับเข้าไปคุกเขาอ้อนวอนขอชีวิตสมาชิกราชวงศ์เปอร์เซียต่อเฮฟิสเทียนด้วยความเข้าใจผิดคิดว่าเฮฟิสเทียนคืออเล็กซานเดอร์ เนื่องจากเฮฟิสเทียนนั้นตัวสุงบกว่าอเล็กซานเดอร์ ประกอบกับทั้งคุ่ยังหนุ่มและสวมชุดที่เหมือนกัน ซึ่งเมื่อพระพันปีแกมบิสทรงทราบก็เกิดความอับอาย แต่อเล็กซานเดอร์ก็รับสังแก่พระพันปีว่า "ทานไม่ได้เข้าใจผิดไปหรอกท่านแม่ เขาคนนี้ก็คือเล็กซานเดอร์เช่นกัน"
         ในฤดุใบไม่ผลิ 324 ปีก่อนค.ศ. เฮฟิสเทียนพร้ออเล็กซานเดอร์ได้เคลื่อนพลไปยังเอกแบบทานา และไปถึงในฤดูใบไม้ร่วง วันหนึ่งเฮฟิสเทียนเดินทางไปยังโรลละคร และทานไก่ต้นและไวน์เย็น แล้วจึงเกิดอาการไข้ เขาผ่วยอยู่เจ็ดวัน วันที่เจ็ดนันมีอาการหนักมาก จนอเล็กซานเดอร์ต้องรีบละทิ้งการชมการแข่งขันและมาหาเฮฟิสเทียนในทันที แต่ก็มาไม่ทัน เมื่ออเล็กซานเดอร์มาถึง เฮฟิสเทียนได้เสียชีวิตแล้ว พลูทาร์ก บันทึกไว้ว่า เนื่องจากเฮฟิสเทียนคิดว่ายังอายุน้อยและแข.แรงจึงปฏิเสธยาและคำแนะนำจาหมอมาโดยตลอด
         อเล็กซานเดอร์บัญชาให้สงสารไปยังโหรหลวงเพื่อตรัสถาม ว่าจะสามารถสักการะเฮฟิสเทียนเยี่ยงเทพเจ้าได้หรือไม่ โหรหลวงตอบกลัยมาว่มิอาจสักการะเยี่ยงเทพได้ แต่สามารถกระทำเยี่ยงวีรบุรุษจากสวรรค์ได้ อเล็กซานเดอร์เคลื่อนพลสุ่บาบิโลนเพื่อสร้างสุสานเฮฟิสเทียนอย่างย่ิงใหญ่ในฐานะวีรบุรุษจากสวรรค์ ..
            อริสโตเติล ยอดนักคิดจาโลกโบราณ ผุ้นำสมองของโลกยุคก่อนคริสต์ศักราชส่งความคิดเนิ่นนานถึงพันปี อริสโตเติล คือ ผุ้คิดค้นทฤษฎีมากมาย และมีหลายฤษฎีที่เปลี่ยนมุมองของความเชื่อดังเดิมจากหน้ามือเป็นหลังมือ และอริสโตเติลยังมีบทบาทที่โดดเด่นคือ การเป็น "บิดาแห่งสัววิทยา"
           เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 13 ปี ฟิลปิโปสตัดสินพระทัยว่าอเล็กซานเดอร์ความได้รับกาณศึกษาขึ้นสุงขึ้น จึงเริ่มเสาะหาอาจารญ์ดีให้แก่บุตร เขาเปลี่ยนอาจารย์ไปหลายคน ซึ่งเป็นผู้สืบทอดของเพลโต ที่วิทยาลัยแห่งเอเธนส์ ซึ่งของลาออกเองเพื่อไปรับตำแหน่ง ในที่สุดฟิลิปโปสเสนองานนี้ใก้แก่ อริสโตเตลิ ฟิลิปโปสยกวิหารแห่งนิมฟ์ที่มีซษให้พวกเขาใช้เป็นห้องเรียน ค่าตอบแทนในกานสอนหนึังสือแก่อเล็กซษนเอร์ คือการสร้างเมืองเกิดของอริสโตเติล คือเมือง สตาเกราที่ฟิลิปโปสทำลายราบ ขึ้นมาใหม่ และให้ฟื้นฟูเมืองนี้โดยการซื้อตัวหรือปลดปล่อยอีดพลเมืองของเมื่องที่ถูกจับตัวไปเป็นทาศ และยกโทษให้แก่พวกที่ถุกเนรเทศไปด้วย
          นิเอซา เป็นเหมือนโรเงรียนประจำสำหรับอเล็กซานเดอร์และบรรดาบุตรขุนนางหรือเชื้อพระวงศ์ของมาเกโตนีอา นักเรียนที่เรียนพร้อมกับอเล็กซานเดอร์กลายเป็นเพื่อนของเขาและต่อมาได้เป็นแม่ทัพนายหารประจำตัว มักถูกกล่าวถึงด้วยคำว่า "สหาย" อริสโตเติลสอนเอล็กซานเดอร์กับบรรดาสหายในเรื่องการแพทย์ ปรัชญา ศีลธรรม ศาสนา ตรรกศาสตร์ และศิลปศาสตร์ ด้วยการสอนของอริสโตเติลทำให้อเล็กซานเดอร์เติบโตขึ้นมาด้วยแรงบันดาลใจอย่างสูงในงายเขียนของดอเมอร์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเรื่อง "อีเลียด" อริสโตเติลมอบงานเขียนฉบับคัดลอกของเรื่องนี้ให้เขาขุดหนึ่ง ซึงอเล็กซานเดอเอาติดตัวไปด้วยยามออกรบ
         อริสโดเติลเกิดที่สตายิรา ในแคว้นมาซิโดเนีย ประเทศกรซเมื่อ 384 ปี ก่อนคริสตกาล บิดาเป็นแพทย์ประจำราชสำนักพระจเ้าอมินทาสที่ 2 เนื่องจากเป็นบิดาเป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ทำให้อริสดตเติลในวัยเยาว์ได้ร่ำเรียนสรีรศาสตร์และสัตวศาสตร์จากบิดา เมื่อายุ 18 ปี เขาไปศึกษาอยุ่กับเพลโต ที่กรุงเอเธนส์ กระทั่งอายุ 38 ปี อาจารย์ได้ถึงแก่กรรมอริสโตเติลคิดว่า จะได้รับตำแหน่งหน้าที่การสอนแทน แต่ตรงกันข้าม กลับเป็นเซดนกราติส ที่ได้รับต่อมาเป็นเวลา 25 ปี ด้วยเหตุนี้จึงทำให้อริสโตเติลน้อยใจกลับไปยังแคว้นมาซิโเนียบ้านเกิดแล้วตั้งตนเป็นอาจารย์สอนหนังสือเพื่อเผยแพร่ทฤษฎีของตน
       
จนกระทั้งพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช พระโอรสของพระเจ้าฟิลปิส์ที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์ในมาซิโดเนีย อริสโตเติลก็กลับมายังกรุงเอเธนส์อีกครั้ง และยกบ้านของตนให้เป็นโรงเรียนเรียกว่า ไลเซียม อริสโตเติลจัดตั้งดรงเรียนสอนวิชาปรัชญาซึ่งมีการแลกเปลี่ยนทรรศนะระหว่าลูกศิษย์กับอาจารย์ขึ้น
          ความเลื่อมใสที่มีต่ออริสโตเติลนั้นค่อยๆ หมดไปตามกาลเวลา พร้อมกบการสิ้นพระชนม์ของพรเจ้าอเล็กซานเอร์มหาราชบวกกับการที่อรสโตเติลถูกความอิจแาริษยาและถูกใส่ร้ายป้ายสีไม่ไหม ทำให้เขาต้องเนรเทศตัวเองไปอยุ่ในเขตเมืองกาลาส และถึงแก่กรรมเมื่อ 322 ปีก่อนคริสต์ศักราชวรมอายุได้ 62 ปี...
           - https://kunlamai105.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A5-aristotle/
         - https://wikivisually.com/lang-th/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99
          - https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99
          - https://workpointnews.com/2018/02/04/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%AA-vs-%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AF-%E0%B9%80%E0%B9%80/
          -

วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561

Alexander the Great

           อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา 323 ปีก่อนคริสตกาล หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อเล็กซาน
เดอร์มหาราชเป็กษัตริย์กรีก จากราชอาณาจักมาเกโดนีอา ผุ้สร้างชื่อเสียงมากที่สุดของราชวง์อาร์กีด เป็นผุ้สร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคโบราณ เกิดที่เมืองเพลลา ตอนเหนือของมาเกโดนีอา เมื่อปีที่ 356 ก่อนคริสตกาล ได้รับการศึกษาตามแบบกรีกดั้งเดิมภายใต้การกำกับดูแลของอริสโตเติล นักปรัชญากรีกผุ้มีชื่อเสียง สืบทอดราชบัลลังก์ ต่อาก พีลิปโปสที่ 2 แห่ง มากเกโดนีอา เมื่อ ปีที่ 336 ก่อน คริสตกาลหลังจากที่พระบิดาถูกลอบสังหาร สวรรคตในอีก 13 ต่อมาเมื่อพระชมมายุเพียง 32 พรรษาแม้ว่าราชบัลลังก์และจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์จะอยู่เพียงชั่วครู่ยาม แต่ผลกระทบจากการพิชิตดินแดน
ของพระองค์ส่งผลสืบเนื่องต่อมาเป็นเวลาหลายศตวรรษท อเล็กซานเดอร์ถือเป็นหนึ่งในบุรุษผุ้มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณมีชื่อเสียงเลื่อลือในความสามารถทางการรบ ยุทธวิธีและการเผยแพร่อารยธรมกรก ไปในดินแดนตะวันออก
          พระเจ้าฟีลิปโปทรงนำแว่นเคว้นกรีกโดยมกบนแผ่นดินใหญ่กรีซให้มาอยู่ภายใต้การปกครองของมาเกโดนีอา โดยใช้ทั้งกลวิะีทางการทูตและทางทหาร เมื่อพลิปโปสวรรคต อเล็กซานเดอร์จึงได้สืบทอดราชอาณาจักรที่เข้มแข็งและกองทัพที่เปี่ยมประสบการณ์ พระองค์เป้นที่ยอมรับในด้านการรบจากแว่นเคว้นกรีซ และได้เร่ิมแผนการขยายอำนาจแผ่อาณาจักรเปอร์เซีย และกระทำการรณยุทธ์อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลาร่วมสิบปี อเล็กซานเดอร์เอาชนะชาวเปอร์เซียครั้งแล้วคั้งเล่า นำัพข้ามซีเรีย อัยิปต์ เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และแบคเทรีย ทรงโค่นล้มกษัตริย์พระเจ้าอาไรอัสที่ 3 แห่งเปอร์เซียและพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด พระองค์ไล่ตามความปรารถนาที่ต้องการเห็น "จุดส้ินุสดของโลลกและมหาสุมทรใหญ่ที่เบื้องปลาย" จึงยกทัพบุกอินเดียแต่ต่อมาถูกบีบให้ต้องถอยทัพกลับโดยบรรดาทหารท่กำเริบขึ้นเนืองจากเลื่อหน่ายสงคราม
          ปีที่ 336 ก่อนคริสตกาล ขณะที่พีลิปโปอยู่ที่ Aegae เข้าร่วมในพิธีวิวาห์ระหว่างคลีโอพัตรา บุตรสาวของตนกับโอลิเพียส กับอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเอพิรุส ซึ่งเป็นน้องชายของโอลิมเพียส พระองค์ถุกลอบสังหารโดยยานทหารราชองครักา์ของพระงค์เอง ค อเพาซานิอัสแห่งโอเรสติส ขณะที่เพาซานิอัสพยายาลหลบหนี ก็สะดุดล้มและถูกสังหารโดยสหายสองคนของอเลกซานเอร์ คือ เพอร์ติดคัส กับเลออนนาตุส อเล็กซานเดอร์อ้างสิทธิ์ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วยกาสนับสนุนของกองทัพมาเกโดนีอาและขุนนางแห่งมาเกโดนีอาเมืออายุได้ 20 ปี
         ศึกแห่งอสซุส
         
เมื่อ 333 ปี ก่อนคริสการ พ.ศ. 212 พระองค์ยกทัพสู่อาณาจักรเปอร์เซียเพื่อท้ารบกับกษัตริย์ดาไรอุสที่ 3 แห่งเปอร์เซีย ที่เชื่อว่าเป็นผุ้จ้างคนลอบสังหารพรเจ้าพีลิปโปที่ 2 พระบิดาของพระองค์ ในศึกแห่งอสซุส ทัพของทั้งคู่เผชิญหน้ากันที่กัวกาเมล่า (ในตะวันออกกลาง หรือพื้นที่ส่วนมากของระเทอิรักในปัจจุบัน) โดยที่กองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชมีเพียง 20,000 เท่่านั้น ขณะที่อกงทัพเปอร์เซียมีนบแสน แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารมาเกโดนีอาทุกคน กับการวางแผนการรบที่ชาญฉลาดอเล็กซานเดอร์มหาราช ทำให้พระองค์ได้รับชัยชนะแม้จะสูญเสียเป็นจำนวนมากก็ตาม ในการรบครั้งนี้นับเป็นการรบที่มีชื่อของอเล็กซานเอร์มหาราชที่สุด เนื่งอจากพระองค์ารงควบบูซาเฟลัสบุกเดียวฝ่ากองป้องกันของทหารเปอร์เซียแล้วข้างหอกใส่กษัรติย์ดาโไรอุส ทำให้กษัตริย์ดาไรอุสตกพระทัย และหบหนีขึ้นเขาไปในที่สุด ผลจากการบครั้งนี้ทำให้อเล็กซานเดอร์มหาราชได้เข้าสู่นครเปอร์ซีโปลิส ศุนย์กลางอาณาจักรเปอร์เซีย และได้เป็นพระราชาแห่งเอเชีย
          พ.ศ. 216 พระองค์ได้ทุลถึง กรุงตักศิลา แคว้นคันธาระ เมื่อที่มีชื่อเสียงด้านการศึกษาทั้งพุทธ
ศาสนา และพราหมณ์ ณ ที่นี้ พรเจ้าอัมพิราชา ไม่ได้ทรงต่อต้านเพราะเห็นว่าตัวเองมีกำลังอำนาจไม่เข้มแข็. พอท่จะต้านศัตรูต่างแดนได้ จึงได้เปิดเมืองต้อนรับอเล็กซานเดอร์ ซึ่งพระองค์ก็ไม่ได้ทำอะไร เพีงแต่ให้ตักกศิลาเป็นเมืองขึ้นต่อมาเดโดนีอาเท่านั้น แล้วให้ปกครองตามเดิมแลวทรงขอให้ตักกศิลาส่งทหารมาช่วยรบปัญจาบ 5,000 คน ซึ่งพระเจ้าอัมพิราชาก็ยินยอม
          การรับครั้งสุดท้าย ของอเล็กซานเดอร์กับพระเจ้าโปัศหรือ เจ้าพอรุศ (หากใชสำเรียงเอชียจะเรียกว่า พระเจ้าเปารวะ) แม้จะจบลงด้วยการหย่าศึก แต่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ก็ได้รับชัยชนะและสามารถจับตัวประเจ้าเปรุสเป็นเชลยศึกได้อีกด้วย
       
 หลังจากเสร็จศึกพระเจ้าเปาวระแล้ว อเล็กซานเดอร์ได้สดับถึงความมั่งคั่งสมบูรณ์ของ แคว้นมคธ และได้ตระเตรียมยาตราทัพมาตีแต่ทหารของพระองค์ที่ร่วมศึกกับพระองค์ พากันเบื่อหน่ายการรบ ซึ่งแต่แต่ศึกพระยุพราช เป็นเวลากว่า 15 ปีที่ทหารไม่ได้กลับบ้านเลย และใหนความเห็นว่าถ้าตีมคธได้ก็คงตีแคว้นอื่นต่อไปอีกไม่มีกำหนดสิ้นสุดประกอบกับ ทหารบางคนลังเลและก่อกบฎไม่ยอมสุ้รบอีกต่อไป อเล็กซานเดอร์จึงต้องจำพระทัยเลิกทัพกลับ..
           แม้อเล็กซานเอดร์จะมีมเหสีอยุ่ 3 อค์ แต่สาเหตุที่ทำการอภิเษกสมรนั้นก็ล้วนเกิดจาปัจจัยทางการเมืองเป็นสำคัญ ดังที่คนส่วนใหญ่ทราบกันดีว่าความสัมพันธ์ของพระองค์กับทหารและเพื่อสนิทที่มีนามว่า เฮฟีสเทียน นั้นเกิดกว่าคำว่าเพื่อสนิทหรือเจ้ากับขา อริสโตเติล อธิบายว่าอเล็กซานเดอร์กับเฮฟีสเทียนนั้น เป็น "หนึ่งวิญญาณที่ดำรงอยุ่ในสองร่าง เมื่อเฮฟีสเทียนเสียชีวิตจากอาการป่วย อเล็กซานเดอร์โทมนัสนอนกอดศพของเฮฟีสเทียนและร้องไห้อยู่สองวันสองคืนโดยที่ไม่ได้เสวยอะไรเลย ไม่ตอบสนองต่อส่ิงรอบข้าง
           พลูตาร์ก ได้บันทึกว่า ในปี พ.ศ. 220 ตรงกับฤดูใบไม่ผลิ เมื่อเอล็กซานเดอร์เสด็จฯ ไปถึงเมืองบาลิโลนเพื่อไปทอดพระเนตรสุสานที่เก็บศพ"เฮฟิสเทียนพระสหายสินท แต่กลับยังสร้างไม่เสร็จ ปรากฎว่า พระองค์ทรงยกเลิกพิธีเคารพศพกลับมาเสวยน้ำจันฑ์ติดต่อกันหลายวัน ด้วยความตรอมใจและพระวรกายทรุดโทรด ทำให้อเล็กซานเดอร์เสด็จสวรรคตเพียงไม่กี่เดือนให้กลังเฮฟีสเทียนเสียชีวิต อย่างไรก็ตามสาเหตุการสวรรคตยังไม่เป็นที่แน่ชัด บ้างสันนิษฐานว่า ทรงถุกบอลปลงพระชนม์โดยการวางยาพิษในไวน์...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A#%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2_(%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%B8%E0%B8%AA)

วันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2561

Julius Caesar II

            หลังเข้าควบคุมรัฐบาล ีซาร์ เร่ิมโครงการปฏิรูปสังคมและสังคมและรัฐบาล รวมที้งการสถาปนา ปฏิทินจูเลียน ปฏิทินเจูเลียดคือ ปฏิทินที่สร้างขึ้นดดยกงศุล จูเลียส ซีซาร์ แห่ง โรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปี ก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวน วัน 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันะ์จะเพิ่มอธิกวาร ทุกๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน
          Et tu Brute"  เจ้าเองหรือบรูตุส สงครามแลางเมืองชุดใหม่ อุบัติ และรัฐบาล สาธารณรัฐอันมีรัฐธรรมนูญไม่เคยถูกฟื้นฟูอย่างสมบูรณ์ อ็อกตาวิอุส ทายาทบุญธรรมชองซีซาร์ ซึงภายหลังรู้จักกันในพระนาม จักพรรดิเอากุสตุส เถลิงอำนาจแต่ผุ้เียวหลังพิชิตศัตรูในงครามกลางเมืองนั้น อ็อกตาวิอุสรวบรวมอำนาจและเร่ิมสมัยจักรวรรดิโรมัน
 เขารวมระบบข้าราชการประจำของสาธารณรับเข้าสุ่ศุนย์กลางและสุดท้ายประกาศตนเป้น "ผู้เผด็จการตลอดชีพ" ทำให้เขายิ่งมีอำนาจมากขึ้นไปอีก แต่ความขัดแย้งทางการเมืองใต้น้ำยังไม่สงบ และใน ไอดส์มีนาคม คือ 15 มีนาคม 44 ปี ก่อน ค.ศ. ซีซาร์ถูกลุ่มสมาชิกวุฒิสภากบฎลอบสังหาร นำโดยมาร์กุส ยูนิอุส บรูตุสผุ้ลูก  ผู้ซึ่งเป็นคนสนิทและเป็นเสมือนลูกศิษย์ โดยพูดเป็นประโยคสุท้ายเป้นภาษาละตินว่า
           คนรู้จักชีวิตส่วนมากของซีซาร์จากบันทึกการทัพของเขาเองและจากแหล่งข้อมุบร่วสมัยอื่น ส่วนใหญ่เป็นจดหมายและสุทรพจน์ของกิแกโรและงานเขียนประวัติศาสตร์ หลายคนถือซีซาร์เป็นผุ้บัญชาการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์คนหนึ่งhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AA_%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
            จุดจบรัฐบุรุษผุ้ิย่งใหญ่ "จูเลียส ซีซาร์"
            ซีซาร์ เกิด เมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริศต์ศักราช ครอบครัวเป้นตระกูลขุนนางเก่าแก่ ฐานะมั่งคั่ง บิดาชื่อว่า "เคอุส จูเลียส ซีซาร์" ส่วนมารดาคือ "ออเรเลีย คอตต้า" เข้าเป็น มนุษย์คนแรกที่เกิดโดยวิธีผ่าตัดหน้าท้อง แต่กำพร้าพ่อตั้งแต่อายุ 16 ปี จึงต้องเป็นหัวหน้าครอบครัว
            ในยุคนั้น สาธารณรัฐโรมัน กำลังตกอยุ่ในวิกฤตการณ์เลวร้ายหลังสงครามพุนิคครั้งที่สอง ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยุ่ยากจนข้นแค้น บ้านเมืองเต็มไปด้วยความวุ่นวายและแตกสามัคคี มีการก่อกบฎต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง รุนแรง เพราะชนชั้น ปกครองเอาแต่เสวยสุขไม่สนใจบ้านเมือง และแข่งขันแย่งชิงอำนาจกัน ขาดผุ้นำที่มาสร้างความเป็นปึกแผ่นในชาติ แต่แล้วฟ้าก็ประทาน "จูเลียส ซีซาร์" ให้มาเป็นรัฐบุรุษผุ้ยิ่งใหญ่
           หลังสะสมบารมีทางการเมืองได้มากพอ โดยไต่เต้าจากทหารหนุ่มตัวเล็กๆ ขึ้นมาเป้นผุ้กำกับดูแลการเงินการคลังของรัฐ ผุ้ว่าการสเปน และกงศุล เขาได้ร่วมมือกับสองนายพลผุ้ทรงอิทธิพบของสาธารรรับโรมันคือ "ปอมเปย์" และ "คราสซุส" จัดตั้งคณะไตรมิต ขึ้นปกครองโรมัน ด้วยเสียงสนับสนุนจากสภาสูงเป็นครั้งแรก จากนั้นจึงได้รับเลือกเป็นแม่ทัพใหญ่ยกพลออกไปรบกับพวกกอล หรือฝรั่งเศสในปัจจุบัน ตีเมืองเล็กเมืองน้อยมาอยุ่ในอาณัติโรมากมาย
           บารมีของเขาแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างไกล พร้อมกับฐานะที่มั่งคั่งขึ้น และศัตรูมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ดดยภายหังเขากับสองนายพลคู่มิตรเปิดศึกชิงดีชิงเด่นกันเองจนแกตหัก เพราะต่างก็อยากจะผุกขาดการปกครองโรม ผลสุดท้ายด้วยกำลังทหารและอำนาจบารฒีที่เหนือกว่า ทำให้ "ซีซาร์" ยึดอำนาจสำเร็จ และได้รับเลือกเป็นผุ้ชี่ำของโรม คุมการปกครองเบ็ดเสร็จแต่เพียงผุ้เดียวสมใจปรารถนาถึง 10 ปีเต็ม ต่อมาเมือยกพลปราบปรามดตีดินแดรแอฟริกาและสเปนได้สำเร็ จึงได้รับการยกย่องเป็น "หัวหน้าผุ้เผด็จการ" ตลอดชีวิต
           อย่างไรก็ดี คนที่เป็นใหญ่และอยุ่ในอำนาจนานๆ มักจะลุแก่อำนาจและหวงแหนเก้าอี้ จนยอมทำทุกวิถีทางเพื่อรักษาไว้ "ซีซาร์" ก็เช่นเดียวกัน จารัฐบุรุษผุ้ยิ่งใหญ เขากลายเป้นผุ้ทำลายสาธารณรับดรมั แม้จะเป้นักรบที่เก่งกล้าสามารถในศึกสงคราม แต่ "ซีซาร์" ก็มีความทะเยอทะยานกระหายอำนาจ จนขึ้นชื่อเรื่องความโหดร้ายทารุณ
           กระนั้น จุดอ่อน สำคัญที่นำไปสู่จุดจบคือ ความเมตตาที่เขามัหยับยืนให้ศัตรุ ทั้งๆ ที่จับได้หลายหนว่ามีแผนลอบสังหารตน แต่เขากลับน่ิงนอนใจไว้ชีวิตซะทุกครั้ง กระทั่งต้องมาจบขีวิตโดยไม่ทันระวังตัว จากการถูกลอบสังหารของลูกเลี้ยงทรพี "มาร์คุส จนิอุส บรูตุส" ขณะอายุ 55 ปี
         
ก่อนปิดฉากชีวิต มีลางบอกเหตุหลายอย่างที่บ่งชีว่า ดรมกำลังจะสุญเสียนักรบและนักปกครองผุ้ยิ่งใหญ่ โดยหนึ่งวันก่อนวันเกิดเหตุ จู่ๆ พายุก็โหมกระพือย่างหนัก และมีดาวหางปรากฎบนท้องฟ้า ภรรยา ของ "ซีซาร์ รู้สักสังหรณืใจไม่ดี จึงอ้อนวอนสามี มิให้เดินทางไปประขุมสภาเชเน? รุปปั้นของเขาได้หล่นลงมาแตกละเอดียเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ระหว่งนั้นมีชายผุ้หวังดีแอลสงจดหมายที่มีรายชือผุ้บอลทำร้ายและรายละเอดียดเป็นชิ่นเล็กชิ้นน้อย ระหว่างนั้นมีชายผุ้หังดีแอบส่งจดหมายที่มีรายชื่อผุ้ลอบทำร้ายและรายละเอดียดเกี่ยวกับแผนการบอลสังหารทั้งหมด กระนั้น "ซีซาร์" ไม่ใยดีแม้แต่จะเปิดจดหมายอ่น กระทังวินาที สุดท้ายของขชีวิตมาถึง ของวันหนึ่ง 44 ปีก่อนคริสต์ศักราช ขณะที่ำลังยืนอ่านรายงานประชุม สภาเซเนท "ซีซาร์" ถุกลูกเลี้ยงทรพีปลิดชีพอย่างไม่ทันตั้งตัว ด้วยคมดาบที่ปักทะลุลำคอ สงผลให้ลมลงขาดใจตาย จมกองเลือด
            ความบ้าอำนาจและกระหายสงคาม เพื่อแผ้วถางทางสุ่ความยิ่งใหญ่ ทำให้รัฐบุรุษขอกงกรุงโรมสร้างศัตรุไว้มากมายรอบตัว แต่แล้วเขาก็ไปไม่ถึงฝั่งฝันที่อยากจะขึ้นเป็นจักรพรรพิปกครองโรมั เพราะสุดท้ายตำแหน่งจักพรรดิองค์แรกของจักรวรรดิโรมันตกเป็ของ "กายุส ยูลิอุส "กซาร์ ออกุสตุส" บุตรลุญธรรมที่ถุกวางตัวให้เป็นทายาทการเมืองของ "จูเลียส ซีซาร์" https://www.thairath.co.th/content/417260

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...