พระเจ้าโปรุส, พระเจ้าเปาวระ อเล็กซานเดอร์มหาราช กับศึกพระเจ้าเปาวระ (พระเจ้าโปรุส) กองทัพเกรียงไกรของ พระเจ้าอเล็กซานเอร์มหาราช จมราชันย์ผุ้พิชิตจักรวรรดิ์ต่างๆ ลงอย่างราบคาบ ได้กรีธาทัพทำศึกขึ้นแตกหักกับ พระเจ้าโปรุส จอมราชันย์แห่งรัฐ ปัญจาบ ซึ่งเป็นแค้วนหนึ่งของอินเดียโบราณ หรือชมพูทวีป
แม้เวลาจะล่วงเลยมาเนิ่นนาม แต่ด้วยความกล้าหาญของโปรุส ที่ไม่สยบยอมผุ้รุกราน ยืนหยัดต่อสู้อย่างไม่หวั่นเกรง ก็ทำให้ศึกครั้งนั้นด้รับการจดจำว่า เป้นมหาสครามที่ยิ่งใหญ่ระหว่าง 2 จอมราชันย์ ที่ฝ่ายหนึ่งรบเพื่อเป็นผู้พิชิต โดยมีความปรารถนาที่จะครอบครองโลก ในขณะที่อีฝ่ายรบเพื่อปกป้องบ้านเมือง เพื่อสันติสุขในของประชาราษฎร
อเล็าซานเดอร์ได้รับกายกย่อง่่า เป้น นักรบที่เก่งที่สุดในโลกยุคโบราณเปี่ยมไปด้วยความกล้าหาญ เป้นจอมทัพที่นำหน้าทหารบุกตะลัยไปในทุกๆ ที่ประกอบกับงความชาญฉลาดในการใช้ยุทธซิธีต่างๆ อย่างแยบยล ทไใ้พระองค์สามารถกำลัยได้ในทุกสมารภูมิ แม้กองทัพฝ่ายจรจะมีจำนวนน้อยกว่าก้ตาม
โดยปัจจัยที่ทำให้พระองค์เป็นจอมราชันย์ที่เก่งทั้งบู๊และบุ๋น ที่เห็นแววว่า ต่อไปในภายภาคหน้พระโอรสจะต้องป็นกษัตรยิ์ท่ย่ิงใหย๋ ฟิลิปจึงถ่ายทอดความรู้ในด้านการทำศึก และเคี่ยวกรำฝึกฝนเพือให้พระองค์เติบใหญ่ตมแนวทางของมหารบุรุษ และได้เชื้อเชิญ อริสโตเติล สุดยอดนักปราชญ์ ผุ้รอบรู้ศาสตร์แขนงต่างๆ มาเป็นพระอาจารย์ให้กับพระโอรสอีกด้วย ซึ่งส่ิงที่พระเจ้าฟิลิปมุ่งหวัง ก็คือรวบรวมอาณาจักรกรีกให้เป็นหนึงเดียวและพระองค์ก็ทำได้สำเร็จในการรบกับพันรธมิตรกรีก บนทุ่งราบบีโอเชีย เชิงเขาปาร์นาสซัส โดยมีอเล็กซานเดอร์ ขณะพระชนมายุ 18 ชันษา ร่วมทำศึกด้วย
ฟิลิปเป็นผุ้ที่คิดค้นยุทธวิะีที่แรียกว่า ฟาลังค์ โดยทหารแต่ละนายจะมีหอกยาวประมาณ 5 เมตร เป็นอาวุธคู่กาย ที่ใช้ป้องกันไม่ให้ข้าศึกบุกประชิดถึงตัว ในขณะเดียวกันก็ใช้เป็นอาวุธทำลายแนวตั้งรับของข้าศึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต่อมาอเล็กซานเดอร์ได้นำยุทธวิะีนี้มาประยุกต์ใช้ด้วยการฝึกฝนทหารของพระองค์ให้ช่ำชองในการใช้หอกยาว 5 เมตรบนหลังม้า ทำให้กองทัพม้าของพระองค์ได้ชื่อว่า เก่งกาจในระดับไร้เที่ยมทาน
เมื่อพระเจ้าโปรุส ทราบว่าอเล็กซานเดอร์กำลังยกทัพมาบทขยี้แค้วนปัญจาบแต่ก็หาหวั่นเกรงไม่ เพราะพระองค์ก็มีความช่ำชองในยุทธวิะีเชนกัน และด้วยความเชี่ยวชาญในตำราพิชัยสงคราม โปรุสซึ่งทราบถึงความไร้เที่ยมทานของกองทัพม้าของกรีก จึงได้ใช้ยุทธวิธีที่แตกต่างออกไป เพราะถ้ารบกันด้วยกองทัพม้าเหมือนเมื่องอื่นๆ โอกาสที่จะมีชัยเหนือกองทัพอเล็กซานเดอร์ ก็แทบไม่มีทางเป็นไปได้
โดยส่งิที่กองทัพกรีกได้ประสบเมื่อทั้งสองฝ่ายเผชิญหน้ากัน นั่นก็คือกองทัพช้างขนาดมนึมาจำนวนมหาศาล ที่สร้างความตื่นตะลึคงให้กับทั้งคนและม้้า ทำให้อเล็กซานเดอร์ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ชนิดที่เรียกว่า คิดนอกตำรา เพื่อไม่ให้โปรุสคาดเดาแนวทางการต่อสู้ของพระองค์ได้
ประวัติศาสตร์ได้เล่าขานถึงการต่อสู่ระหว่าง 2 กองทัพว่าเป็นไปอย่างสูสี ซึ่งลึกๆ แล้ว น่าจะเป็นส่งิที่เอเล็กซานเดอร์ทรงโหยหามาเนิ่นนาน นั่นก็คือ ศัตรูที่คู่ควร ที่มีฝีมือและสติปัญญาทัดเทียมกัน
เฮฟิสเทียน เป็นเม่ทัพชาวมาเกโดนีอา ของกองทัพอเล็กซานเดอร์มหาราช เขาเปนเพื่อสนิทกับอเล็กซานเดอต์มาตั้งแต่เยาว์วัย จนยในที่สุด ความสัมพันะ์ของทั้งสองก็ได้พัฒนาเหนือกว่ามิตรภาพระหว่งางเพื่อน เขาเป็นคนที่อเล็กซานเดอร์ไว้วางใจที่สุด แต่อย่งไรก็ตาม ด้วยความเสื่อขชองวัฒนธรรมกรีกและการมีอิทธิพลขึ้นมาของศาสนาคริสต์ซึ่งต่อต้านการรักร่วมเพศ ทำให้ประวัติศาสตร์ได้บันทึกเรื่องราวของทั้งสองว่าเป็น "เพื่อนที่ดีที่สุด" แทนเพื่อให้ได้รับการยอมรับ
ในบันทึก "อเล็กซานเดอร์ โรแมนซ์" บันทึกไว้ว่า "..วันหนึ่ง เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 15 ชันษา [...] ได้แล่นเรื่อไปกับสหายเฮไพส์ตีออนจนไปถึงปิซา แล้วจึงลงไปเดินเล่นกับแฮไพส์ตีออน ซึ่งอายุของอเล็กซานเดอรืในบันทึกนี้เอง เป็นเบาะแสที่สำคัญต่อการศึกษาที่มาของเฮผิสเทียน เพราะขณะอเล็กซานเดอร์อายุ 15 ชันษา เขาต้องกำลังศึกษาอยุ่ที่มีเอซา ภายใต้การประสาทวิชาโดย อริสโตเติล และด้วยมิตภาพของทั้งสองที่แน่แฟ้นทำให้รู้ได้ว่า เฮฟิสเทียนเป็นหนึ่งในนักเรียนที่นี่เช่นกัน
เป็นที่รู้กันว่า ความสัมพันะ์ของเฮฟิสเทียนและอเล็กซานเดอร์นั้นมีมากเกิดกว่ามิตรภาพระหว่างเพื่อน ดังที่ อริสโตเติล ครุของทั้งสอง ได้อธิบายความสัมพันะ์ของทั้งคุ่ว่าเปรียบดั่ง "หนึ่งวิญญาณที่ดำรงอยุ่ในสองร่าง"
ครั้งที่อเล็กซานเดอร์ รบชนะเปอร์เซีย เฮฟิสเทียนได้เดินนำอเล็กซานเดอร์ไปยังกระโจมที่คุมตัวสมาชิกราชวงศ์เปอร์เซียไว้ เมื่อพระพันปีแกมบิสทอดพระเจตรเห็นก็รีับเข้าไปคุกเขาอ้อนวอนขอชีวิตสมาชิกราชวงศ์เปอร์เซียต่อเฮฟิสเทียนด้วยความเข้าใจผิดคิดว่าเฮฟิสเทียนคืออเล็กซานเดอร์ เนื่องจากเฮฟิสเทียนนั้นตัวสุงบกว่าอเล็กซานเดอร์ ประกอบกับทั้งคุ่ยังหนุ่มและสวมชุดที่เหมือนกัน ซึ่งเมื่อพระพันปีแกมบิสทรงทราบก็เกิดความอับอาย แต่อเล็กซานเดอร์ก็รับสังแก่พระพันปีว่า "ทานไม่ได้เข้าใจผิดไปหรอกท่านแม่ เขาคนนี้ก็คือเล็กซานเดอร์เช่นกัน"
ในฤดุใบไม่ผลิ 324 ปีก่อนค.ศ. เฮฟิสเทียนพร้ออเล็กซานเดอร์ได้เคลื่อนพลไปยังเอกแบบทานา และไปถึงในฤดูใบไม้ร่วง วันหนึ่งเฮฟิสเทียนเดินทางไปยังโรลละคร และทานไก่ต้นและไวน์เย็น แล้วจึงเกิดอาการไข้ เขาผ่วยอยู่เจ็ดวัน วันที่เจ็ดนันมีอาการหนักมาก จนอเล็กซานเดอร์ต้องรีบละทิ้งการชมการแข่งขันและมาหาเฮฟิสเทียนในทันที แต่ก็มาไม่ทัน เมื่ออเล็กซานเดอร์มาถึง เฮฟิสเทียนได้เสียชีวิตแล้ว พลูทาร์ก บันทึกไว้ว่า เนื่องจากเฮฟิสเทียนคิดว่ายังอายุน้อยและแข.แรงจึงปฏิเสธยาและคำแนะนำจาหมอมาโดยตลอด
อเล็กซานเดอร์บัญชาให้สงสารไปยังโหรหลวงเพื่อตรัสถาม ว่าจะสามารถสักการะเฮฟิสเทียนเยี่ยงเทพเจ้าได้หรือไม่ โหรหลวงตอบกลัยมาว่มิอาจสักการะเยี่ยงเทพได้ แต่สามารถกระทำเยี่ยงวีรบุรุษจากสวรรค์ได้ อเล็กซานเดอร์เคลื่อนพลสุ่บาบิโลนเพื่อสร้างสุสานเฮฟิสเทียนอย่างย่ิงใหญ่ในฐานะวีรบุรุษจากสวรรค์ ..
อริสโตเติล ยอดนักคิดจาโลกโบราณ ผุ้นำสมองของโลกยุคก่อนคริสต์ศักราชส่งความคิดเนิ่นนานถึงพันปี อริสโตเติล คือ ผุ้คิดค้นทฤษฎีมากมาย และมีหลายฤษฎีที่เปลี่ยนมุมองของความเชื่อดังเดิมจากหน้ามือเป็นหลังมือ และอริสโตเติลยังมีบทบาทที่โดดเด่นคือ การเป็น "บิดาแห่งสัววิทยา"
เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 13 ปี ฟิลปิโปสตัดสินพระทัยว่าอเล็กซานเดอร์ความได้รับกาณศึกษาขึ้นสุงขึ้น จึงเริ่มเสาะหาอาจารญ์ดีให้แก่บุตร เขาเปลี่ยนอาจารย์ไปหลายคน ซึ่งเป็นผู้สืบทอดของเพลโต ที่วิทยาลัยแห่งเอเธนส์ ซึ่งของลาออกเองเพื่อไปรับตำแหน่ง ในที่สุดฟิลิปโปสเสนองานนี้ใก้แก่ อริสโตเตลิ ฟิลิปโปสยกวิหารแห่งนิมฟ์ที่มีซษให้พวกเขาใช้เป็นห้องเรียน ค่าตอบแทนในกานสอนหนึังสือแก่อเล็กซษนเอร์ คือการสร้างเมืองเกิดของอริสโตเติล คือเมือง สตาเกราที่ฟิลิปโปสทำลายราบ ขึ้นมาใหม่ และให้ฟื้นฟูเมืองนี้โดยการซื้อตัวหรือปลดปล่อยอีดพลเมืองของเมื่องที่ถูกจับตัวไปเป็นทาศ และยกโทษให้แก่พวกที่ถุกเนรเทศไปด้วย
นิเอซา เป็นเหมือนโรเงรียนประจำสำหรับอเล็กซานเดอร์และบรรดาบุตรขุนนางหรือเชื้อพระวงศ์ของมาเกโตนีอา นักเรียนที่เรียนพร้อมกับอเล็กซานเดอร์กลายเป็นเพื่อนของเขาและต่อมาได้เป็นแม่ทัพนายหารประจำตัว มักถูกกล่าวถึงด้วยคำว่า "สหาย" อริสโตเติลสอนเอล็กซานเดอร์กับบรรดาสหายในเรื่องการแพทย์ ปรัชญา ศีลธรรม ศาสนา ตรรกศาสตร์ และศิลปศาสตร์ ด้วยการสอนของอริสโตเติลทำให้อเล็กซานเดอร์เติบโตขึ้นมาด้วยแรงบันดาลใจอย่างสูงในงายเขียนของดอเมอร์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเรื่อง "อีเลียด" อริสโตเติลมอบงานเขียนฉบับคัดลอกของเรื่องนี้ให้เขาขุดหนึ่ง ซึงอเล็กซานเดอเอาติดตัวไปด้วยยามออกรบ
อริสโดเติลเกิดที่สตายิรา ในแคว้นมาซิโดเนีย ประเทศกรซเมื่อ 384 ปี ก่อนคริสตกาล บิดาเป็นแพทย์ประจำราชสำนักพระจเ้าอมินทาสที่ 2 เนื่องจากเป็นบิดาเป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ทำให้อริสดตเติลในวัยเยาว์ได้ร่ำเรียนสรีรศาสตร์และสัตวศาสตร์จากบิดา เมื่อายุ 18 ปี เขาไปศึกษาอยุ่กับเพลโต ที่กรุงเอเธนส์ กระทั่งอายุ 38 ปี อาจารย์ได้ถึงแก่กรรมอริสโตเติลคิดว่า จะได้รับตำแหน่งหน้าที่การสอนแทน แต่ตรงกันข้าม กลับเป็นเซดนกราติส ที่ได้รับต่อมาเป็นเวลา 25 ปี ด้วยเหตุนี้จึงทำให้อริสโตเติลน้อยใจกลับไปยังแคว้นมาซิโเนียบ้านเกิดแล้วตั้งตนเป็นอาจารย์สอนหนังสือเพื่อเผยแพร่ทฤษฎีของตน
จนกระทั้งพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช พระโอรสของพระเจ้าฟิลปิส์ที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์ในมาซิโดเนีย อริสโตเติลก็กลับมายังกรุงเอเธนส์อีกครั้ง และยกบ้านของตนให้เป็นโรงเรียนเรียกว่า ไลเซียม อริสโตเติลจัดตั้งดรงเรียนสอนวิชาปรัชญาซึ่งมีการแลกเปลี่ยนทรรศนะระหว่าลูกศิษย์กับอาจารย์ขึ้น
ความเลื่อมใสที่มีต่ออริสโตเติลนั้นค่อยๆ หมดไปตามกาลเวลา พร้อมกบการสิ้นพระชนม์ของพรเจ้าอเล็กซานเอร์มหาราชบวกกับการที่อรสโตเติลถูกความอิจแาริษยาและถูกใส่ร้ายป้ายสีไม่ไหม ทำให้เขาต้องเนรเทศตัวเองไปอยุ่ในเขตเมืองกาลาส และถึงแก่กรรมเมื่อ 322 ปีก่อนคริสต์ศักราชวรมอายุได้ 62 ปี...
- https://kunlamai105.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A5-aristotle/
- https://wikivisually.com/lang-th/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99
- https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99
- https://workpointnews.com/2018/02/04/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%AA-vs-%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AF-%E0%B9%80%E0%B9%80/
-
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น