วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Freyja
ในเทพปกรณัมนอร์ส เฟรยา อ่านว่า "ฟราญา" ในภาษาเดนมาร์ก, ภาษานอร์สโบราณ หมายถึง "หญิงสาว") เป็นที่พีแห่งความรัก, ความงาม, ความอุดมสมบูร์, ทอง, เซย์ท, สงคราม และความตาย เฟรยา เป็นเจ้าของสร้อยไบรซิกาเมน ขีรถลากที่เทียมแมวสองตัว, หมู่ป่าฮีลดีสวีนี, เสื้อคลุมขนเหยี่ยว มีโอเดอร์เป็นสามี มีลูกสาวสององค์คือ นอส และเจอเซมิ มีเฟรย์เป็นพี่ชาย (ภษานอร์สโบราณ, "ลอร์ด" )รวมบิดา( ยเยิร์ด) และ มารดา (น้องสาวของจอร์ด) เฟรยาเป็นเทพในวงศ์วาเนอร์ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2
เฟรยาปกครองดินแดนหลังความตายโฟล์กแวงเกอร์ ที่จะรับวิญญาณนักรบครึ่งหนึ่งที่ตายในสนามรบ ขณะที่อีกครึ้งหนึ่งจะไปยังโถงของโอดิน วัลฮัลลา โถงของโฟล์กแวงเกอร์คือ เซสริมเนียร์ โอเอร์ผุ้เป็นสามีได้หายตัวไปบ่อยๆ เฟรยาร้องไห้เป็นทองสีแดง น้ำตาของเธอร่วงยังพื้นโลก และเปลี่ยนเป็นสายแร่ทองคำ เธอได้ออกตามหาสามีภายใต้ชื่อปลอม..
เฟรย่า เป็นเทพิดาแห่งความอุดมสมบูร์ คามรัก ความมั่งมี ทรัพย์สิน แมว การทำนายทายทักลแะสงครา เธอเป็นเพทที่มีความงดงามที่สุด เฟรย่าเป็นเจ้าของสร้อยคอบริสซิงกาเมน และยังมีเส้อลุมขนนกวิเศษกับรถม้าที่จะพาเธอบินไปได้รอโลก และรถม้าของเธอนันต้องใช้แมวตัวผุ้ 2 ตัวลากรถของเธอ เธอเป็นเทพวานีร์ที่ถุกส่งให้มาอยู่ ณ ดินแดนเทพอแสการ์ดของเอซีร์พร้อมกับบิดาและพี่ชาย เพ่อเป็นพันธ์สัญญาสงบศึกของเทพทั้งสองฝ่าย เฟรย่าอาศํยอยู่ประจำ ณ ฟอล์กวัน นอกจากนี้ยังเป็นท่อยุ่ของเหล่านักรบสวรรค์และโอดินด้วย..
.. เฟรย่าเป็นคนมีสองบุคลิก ด้านหนึ่งของความสวยงามเธอมีความอ่อนไหวของผุ้หยิ.เต็มเปี่ยมยามที่เธอปฏิบัติงานในหน้าที่เทพีแห่งความรัก เธอจะสวมเสื้อผ้าบางเบาเน้นให้เห็นร่างกายอันงดงาม แต่ในอีกบุคลิกหนึงเธอดุเหมือนเสือ ทั้งนี้เพราะเฟรยามีความรุ้ศาสตร์แม่ม รู้เรื่องพลังมที่มีเหนือชีวติและความตายสิ่งนี้เป็นสิ่งที่โอดินโปรดปรานาก ขอเรียนจากเฟรยาและมอบตำแหน่งให้เธอเป็นหัวหน้านางวัลคีรี นางฟ้าดำของพระองค์ เวลาปฏิบัติงานหน้าที่นี้หล่อนจะสวดเสื้อเกราะติดอาวุธแล้วขึ้นม้พาบริวารลงไปโฉบเหนือทุ่งสงคราม เลื่อกวิญญาณผุ้กล้าขึ้นหลังม้าแล้วกลับมาทางสะพานรุ้ง
https://my.dek-d.com/flowerpink/writer/viewlongc.php?id=75949&chapter=68
วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Odin
โอดิน เทพเจ้าสูงสุดของชาวยุโรปเหนือ เป็นเทพเจ้าที่ใว่หาความรู้ ยึดมั่นในสัจจะ ช่วยเหลือผุ้อืน และออกผจญภัยเพื่อใช้ชีวิตให้คุ้มค่า รบอย่างกล้าหาญเพื่อให้ได้ตายอย่างมีเกี่ยรติในนามรบ ให้ลูกหลานนำเรื่องราวของตนไปเล่าขานในฐานะวีรบุรุษ แลเพื่อให้ดวงวิญญาณได้รับเลือกให้เข้าร่วมับกองทัพเทพ ร่วมต่อสู้กับยักษ์ในันสิ้นโลก (ไวกิ้งเป็นตัวอย่างหนึงของชนที่นับถือศาสนานี้)
แม้เทพโอดินทรงสร้างโลกแต่พระองค์ก็ไม่สามารถล่วงอนาคตของโลกได้ โดยเฉาพะความลับสูงสุดของจักรวาล การถือกำเนิด ชีวิตหลังความตาย และอนาคตของโลก เพื่อให้ทรงทราบความลับเหล่านี้ จึงทรงทรมาณองค์เองโดยผูกเท้าข้างหนึ่งกับพฤาษาที่เป็นแกนกลางของโลก แทงหากที่สีข้าง ทรมานอยู่ 9 วัน 9 คื อจนถึงกับสิ้นพระชนม์ แต่แล้วก็ทรงฟื้นคืนขึ้นมาใหม่โดยไม่เจ็บปวด แต่เต็มเปี่ยมไปด้วยปรีชาญาณ ทรงบันทึกสิ่งที่พระองค์ค้นพบในรูปแบบอังษรศักดิ์สิทธิ์ 24 ตัว เรียกว่า รูนส์ ซึ่งต่อมาทรงพระราชทานรุนส์แก่ชาวโลกเพื่อให้ใช้ในฐานะเทพยากรณ์
ในที่สุด ทรงล่วงรุ้อนาคต รู้วันสิ้นโลก รู้ว่าในวันข้างหย้า ดลกจะถึงกาลแตกดับ แต่ก่อนจะถึงการแตกดับ พระองค์จะทะนุถนอมโลกที่ทรงสร้างอย่างดี เพื่อเมื่อถึงวันโลกาวินาส จะไ้ดมีเทพและอนนุษย์ที่หลงเหลืออยู่ไปสร้างโลกใหม่ที่มีความสุข แต่ยังทรงต้องการความรู้เพื่อเติม จึงทรงไปที่รากของต้นไม่อีกก์ตราซิลเพื่อดื่อมน้ำพุวิเศษที่ทำให้กลายเป้นผุ้รอบรู้ ที่บ่อน้ำพุนี้มียักษ์ตนหนึงเผ้าอยุ่ ชื่อมีเมียร์ กากจะทรงถืออำนาจดื่มนำพุเลย ในฐานะจอมเทพย่อทรงกระทำได้ แต่พระองค์ไม่ทำเพราะเห็นว่าเป็นการกระทำของครโฉด จึงทรงแลกเปลี่ยนดวงตาข้างหนึ่งเพ่อการได้ด่ืมน้ำ ยักษ์ยินยอม แล้วพระองค์ก็ทรงดื่มน้ำนั้นจนหมดบ่อ
แม้จะทรงมีหอกวิเศษกุงเนยร์ อันเป็นหอกที่ไม่เขนยพลาดเป้าเป็นอาวุธแต่กลับไม่่อยได้ใช้อาวุธขงอพระองค์เท่าใดนัก ว่ากันว่าพระองค์จะได้ใช้หาอนี้อย่างแท้จริงก็คือในวันที่สงสรามแร็คนาร็อก แต่อย่างใดก็ดี ก็ไม่ช่วยให้พระองค์รอดพ้นจากคมเขียวองพยาสุนัขป่าเฟนริส์ได้
ทรงมีสัตว์คืออีกาคู้ และถือเป็นสัญลักษณ์ของพระองค์ ชือ ฮุกิน (ความคิด) และมูนีน (ความจำ) อีกาทั้งสองจะบินไปรอบโลก เพื่อนำข่าวคราวของสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกมาแจ้งแก่พระองค์ แทรงเลียงสุนัขป่าขนสีเงินอีกสองตัวคือ เกรี และเฟรคี สุัขทั้งอสงมันั่งอยุ่แทบพระบาท คอยกินอาหารที่ถุกนำมาถวาย ด้วยพระองค์ไม่โปรดอะไรนอกจากเลห้าน้ำฝึ่ง ทรงมีพาหนะคือม้าสเลปไนร์ ซึ่งมีขาถึง 8 ขา จึงทำให้มันวิ่งเร็วกว่าม้าใดๆ
ทรงมีมเหสีเอกคือเทวี ฟริกก์ และต่อมาทรงรับเทวีเฟรยาเป็นมเหสีอีกองค์ เทวีฟริกกาทรงเปี่ยมไปอ้วยเมตตา ปราศจากความอจฉาริษยา เทวีเฟรายาจึงเคารพพระนางเป็นอย่งยิ่ง ไม่เคยทำอะไรให้มเหสีเอกต้องขุ่นเคื่องพระทัย...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99
โอดินดำรงฐานะจอมเทพ (เทพแห่งเทพ สูงทีสุในบรรดาเทพชาวเหนือทั้งหลาย แต่พระองค์กลับมีความรัดทนมาตลอด สิ่งที่พระองค์ทรงมีคือวามแข็งแกร่ง ความแข้งแหร่งของชาตนักรบที่ถึงแม้จะรู้จุดจบของตัวแงและพวกพ้อง ก็ไม่เคยแสดงความอ่อนแอหรือขลาดเขลาใดๆ ออกมา ความแข็งแกร่งชองจิตใจเป็นจุดเด่นของเทพโอดิน ทำให้ผุ้คนยุดรปภาคกลางซึ่งก็คือคนเชื้อชาติเยรมันยอมรับนับถือเป็นอย่งยิ่งแต่เรียกชื่อโอดินเพืนไปจากเดิมบ้ง ซึ่งในความหมายเทพพิทักษ์นักรบ เป็นที่มาของชื่อวันพุทธ ในภาษาอังกฤษนันเอง
โอดินเป็นบุตรของบอร์ เทพเริ่มแรกของโลก และบรรดาเทพอื่นๆ ที่อยู่บนแอสการ์ด ต่างก็เป็นลูกหลายของเทพองค์นี้ชะเหือบทั้งสิ้น รูปร่างของโอดินในความนึกคิดของชาวเหนือส่วนใหญ่จึงเป็นชายชราส่วมหมากปีกกว้างซ่อนใบหน้าไว้ในเงามือด นั่งอยุ่บน "ลัลลักง์กฮลิสเกียบ " ซึ่งทำให้สามารถสอดส่องความเป็นไปต่างๆ ในโลกทั้งเก้าได้โดยมี "หรีกก้า" ชายาคนที่สอง นั่งเคียงข้างบนลัลลังก์องค์นี้เได้เพียงผู้เดียว..
โอดินมีเมียหลายคน มีทั้งเทพด้วยกันและยักษีประเภทต่างๆ ทว่า พวกที่ไดรับการยกยอ่งมีอยุ่ ก็คือเม่ียคนแรก จอร์ด หรือ เออดา เป็นลูกของภาวะหมุนวนสับสนรอบๆ กินนันกาแก๊บกับยักษีตนหนึ่งไม่ปรากฎนาม
โอดินมีลูกับชายผุ้มีกำเนิดค่อนข้างประหฃลาดคนหนึ่ง คือ "ธอร์" เทพแห่งสายฟ้าผุ้ซึ่่งแข็งแกร่งที่สุด ชายาคนที่สามชื่อว่า "รินด้า" คนนี้เป้นตัวแทนของความแห้งแล้ง ชองแผ่นดินที่หนาวเหน็บในช่วงหน้าหนาว ตอนไหนที่เจ้าหลอนไปอยู่กับสามี แผ่นดินที่เคยหนาวเหน็บจะอุ่นขึ้น (ก็เจ้ามแม่แห่งความหนาวไม่อยุ่เสียแล้วนี่) เป็นช่วงที่ตรอนเหนือมีฤดูร้อนช่วงสั้นๆ ความที่รินด้าเจ้าแม่แห่งความแห้งแล้งจากแ่นดินถ่ินที่อยู่ของมนุษย์แค่ช่วงสั้นๆ ชาวเหนือเลยทึกทัให้หล่อนเป็นภรรยาที่มีนิสัยค่อนข้างรังเกียจสามี นางให้เวลาโอดินอยู่ด้วยเพียงปีละช่วงสั้น ๆ เท่านั้น แต่กับรินด้า คนนี้ โอดินก็มีลูกด้วย ชือว่า "วาลี" เป็นหนึ่งในบรรดาเทพ ไม่กีองค์ทีเหลือรอดจากแร็กนาร็อคและเป็นคนสำคัญอีกคนหนึ่งเกี่ยวกับความตายของ "บาลเดอร์" เทพแห่งสัจจะและแสงสว่าง
โอดินจะแต่งตัวแบบนักรบเสมอๆ เทพจะถือ "หอกกังเนอร์ หรือ กุลงนิล" อาวุธประจำกาย ใส่ "แหวนดรอพเนอร์" มันคือวงกลมซึ่งเป็นูปทรงที่พลังของมันจะหมุนอยู่ตลอดไป มีอีกาชื่อ "ฮิวกิน" (ความคิด) และ "มิวนิน" (ความจำ) เกาะบนไหล่ซ้ายขวาคอยกระซบบอกข่าวใหม่ๆ ที่นายสังให้มันบินออกไปสังเกตเป็นพิศษ นอกจากนกทั้งสองตัวนีอดินยังมีสัตว์เลี่ยงแสนรักเป็นหนามป่าอีกสองตัวชือ "เอกรี่ไ และ "เฟรกี้" ซึ่งมีอุปนิสัยคล้ายคลึงกับเขามาก นัยว่านิสัยของมันคือสัญชาตญาณการล่าที่มีอยู่ในตัวมหาเทพนั้นเอง หมาป่าทั้งสองตัวมักจะคอยอยู่ข้างๆ นาย รับอาหารจำพวกเนื้องที่เขาเอามาวางไว้ตรงหน้าโอดิน ในเมื่อจอมเทพ ไม่กินเนื้อ สิ่งเดียวที่ทำให้เขายังชีพในสวรรค์ได้เป็นอย่างดีคือ เหล้าน้ำผึ้ง...
โอดินคิดจะสะสมกำลังไว้วันข้างหน้าอย่างน้อยก็ไม่ได้ตายอย่างเสียเกี่ยติเกนไป เทพจัดตั้งกองทัพ "วัลคีรี่" ขึ้น คือ นางฟ้าดำแห่งความตาย ทั้งๆ ที่รูปลักษณืงดงาม ผิวขาว ผมทอง เป็นสาวพรหมจรรย์ซึ่งมฐานะกึ่งเทพ วัลคีรีที่แท้คือแรงเร้าแห่งการฆ่า พวงหางมีหนาที่สองอย่งคื อสรรหาเลือกเฟ้นวิญญานักรบผุ้กล้ากับคอยดุแลเลี้ยงดุเขาในวัลฮัลลา
เมื่อไรก็ตามที่เกิดการบในโลกมุย์ โอดินจะสงวัลคีรี่ไปรอดู นักรบคนใดสู้ตายชนิดที่ยังมีความกระหายสงคราม ค้างอยู่ในแววตา แม้มือจะเต็มไปด้วยเลือด วัลคีรีก็จะเลื่อกคนนั้นไปกับพวกหล่อนข้ามสะพานรุ้งน้ำแข็งขึ้นไปบนวัลฮัลลา วิญญาณ นักรบพวกนี้เรียกกันว่า พวกเอนเฮเรียร์
โอดินมีราชวังใหญ่ ๆอยู่สามแห่งในแอสการ์ด คือ "แกลดเฉม" โถงที่ประชุมของเทพ "วาลาเคียฟ" ฮลิคสเคียฟ" และ "วัลฮัลลา" พระราชวังซึ่งเป็นที่อยุ่ของพวกวิญญาณนักรบที่ได้รับเลือกขึ้นมา อันนี้ตั้งอยุ่ใ "เกลเซอร์" กลางป่าวิเศษซึ่งใบไม้ในป่านี้เป็นสีทองอดแดง
วัลฮัลล คือพระราชวังที่มีขนาดมหัศจรรย์ เล่ากันว่ามีประตูเข้าออกถึง 540 แห่ง แต่ละแห่งกว้างพอที่จะให้นักรบตัวโตๆ แปดคนเดนเรียงแถวหน้ากระดานเข้าไปได้อย่างสบายๆ ที่นีมีโต๊ะยาวเป็นจำนวนมากให้พวกเอนเฮเรียร์เขาประจำที่ คบไฟจุดไว้ตามผนัง แสงคบเพลิงสะท้อนใบหอกเป็นประกายวาววับอยู่ในแสงไฟ อาหารเตรียมพร้อมไวมากมาย ไม่่ว่าจะเป็นหมูย่างเบียร์หรือเหล้าน้ำผึ้ง
วัคีรีตะมีหน้าที่ คอนดูแลเหล่านักรบ ในเรื่องอหารและคเรื่องดื่ม เนื้อที่ใช้เสริ์บนวัลฮัลาเป็นเนื้อที่มาจากหมูป่าของเพทตัวหนึ่งชือ "แซ่ริมนอร์" มันจะถูกพ่อครั้ง "แอนด์ริมเนอร์" เชื่อดทุกวัน อพการเลี้ยงเสร็จสิ้นลง หมู่แซริมเนอร์ก็รวมตัวกันขึ้นใหม่ กลายเป็นหมูป่าสำหรับพ่อครัวเชื่อดวนเวียนไม่รุจบ ทำให้วัลฮัลลาไม่เคยขาดเนื้อในการเลี้ยงเลย
หลังจากกินอาหารแล้ว นักรบเอนเฮเรียร์จะพากันจบอาวุธออกไปที่ลามรอบวัง ฝึกปรือการต่อสู้ หรือส่วนใหญ่ต่อสู้กันจริงให้ตาย รอจนกระทั้งเสียงเป่าแขาเรียกกินอาหารเย็น จึงเขัาร่วมโต๊ะกันอีกหน โยมีโอดินนั่งเป็นปรธานที่สุดห้องโถง พระองค์จะนั่งดุนัรบเหล่านนั้นสนทนาพูดคุยกันอย่างมีความสุข หวังเพียงแค่ักวันหนึ่งเมื่อถึงเวลานักรบพวกนี้จะสามัคีร่วมมือในศึกครั้งสุดท้ายอย่างดีที่สุดhttps://my.dek-d.com/Darkzear/writer/viewlongc.php?id=508212&chapter=6
วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Thor
ในเทพปรกณัมนอร์ส ธอร์ เป็นเทพถือค้อนซึ่งเกี่ยวข้องกับสายฟ้า ฟ้าร้อง พายุ ต้นโอ๊ก พละกำลัง การคุ้มครองมนุษชาติ และตลอดจนการทำให้ศักดิ์สิทธิ์ การรักษาและความอุดมสมบูรณ์ เทพที่มาจากกำเนิดเดียวกันในเทพปกรณัมเยอรมัน และเพเกิน ที่กว้างกว่k เป็นที่รุ้จักกันในภาษาอังกษว่า punor และภาษาเยอรมันในเขตเหนือ่า Donar ซึ่งกำเนิดจาภาษาโปรโตเยรมัน หมายถึง สายฟ้า
ธอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของชาวเยรมัน จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าในสมัยการโยกย้ายถ่ินฐาน ไปจนถึงการไ้รับการนิยมอย่างสุงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับการะบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนจอลนีร์ ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อขอวเทพเจ้าป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่ออย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ธอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ะอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อ สถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ วันพฤหัสบดี (วันของธอร์) ปรากฎนามของพระงอค์ และชื่อซึงมาจากยุคเพเกิน ที่มีนามพระองค์นั้นังมีใช้กันอยุ่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป้นที่มาของคำว่า "ฟ้าร้อง " หรือ "ฟ้าผ่า" ในภาษาอังกฤษ อีกด้วย นอกจานี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผุ้หนึ่งบังเชื่อว่า ค้อนจอลนีร์ที่มีลักษณะข้างไปแล้วสามารถหวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือนบูมเมอรแรงเป้นที่มรของสัญลักษณ์ สวัสดิกะ ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของชาวอารยัน อีกด้วย
ธอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจาโอดินและจอร์ดน่ง ยักษ์แห่งแผ่นดิน...
"เพแกน" มาจากภาษาละติน แปลว่ "ผู้ที่อยุ่ในชนบทเป้นคำที่มีความมหายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์สาสาในยุโรป หรือถ้าขยายความหมายก็ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็คือ ผุ้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายพระองค์ หรือศานาพื้นบ้าน โดยทั่วไปในโลกจากมุมองของผุ้ที่นับถือคริสต์สาสนาในดลกตะวัรตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผุ้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม วิญญาณนิม หรือลัทธิเซมั่น เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพรเจ้าหลายองค์หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่
คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยุ่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมท้งศษสนาตะวันออก ปรัมปราวิ
ทยาอเมิรกันพื้นเมือง และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปทีั่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายคที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก ที่เป็นศาสนาที่เป้นที่ยอมรับกันอย่งเป็นทางการแต่จะจำกัดอยุ่ในศาสรนาท้องถ่ินที่ยังไม่ได้จดอยุ่ในระบบศาสนาของดลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก และความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่างๆ
"ลัทธินอกศาสรา" เป็นคำที่ผุนับถือคริสต์ศษสานำมาใช้สำหรับ "เจนไทล์" ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยาม โดยหมู่ผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิมของโลกตะวันตก เที่ยบเท่ากับการใช้คำว่า "ฮีทเธน" หรื อ"อินฟิเดล" หรือ "กาฟิร" และ "มุชริก ในการเรียกผุ้ที่นับถือศาสนอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยา จึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่วถึง ความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม วิญญาณนิยม ลัทธบามัน หรือสรรพเทวนิยม แต่ก็มีผุ้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป้นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุทมองหนึ่ง และมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ธอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของชาวเยรมัน จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าในสมัยการโยกย้ายถ่ินฐาน ไปจนถึงการไ้รับการนิยมอย่างสุงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับการะบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนจอลนีร์ ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อขอวเทพเจ้าป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่ออย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ธอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ะอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อ สถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ วันพฤหัสบดี (วันของธอร์) ปรากฎนามของพระงอค์ และชื่อซึงมาจากยุคเพเกิน ที่มีนามพระองค์นั้นังมีใช้กันอยุ่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป้นที่มาของคำว่า "ฟ้าร้อง " หรือ "ฟ้าผ่า" ในภาษาอังกฤษ อีกด้วย นอกจานี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผุ้หนึ่งบังเชื่อว่า ค้อนจอลนีร์ที่มีลักษณะข้างไปแล้วสามารถหวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือนบูมเมอรแรงเป้นที่มรของสัญลักษณ์ สวัสดิกะ ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของชาวอารยัน อีกด้วย
ธอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจาโอดินและจอร์ดน่ง ยักษ์แห่งแผ่นดิน...
"เพแกน" มาจากภาษาละติน แปลว่ "ผู้ที่อยุ่ในชนบทเป้นคำที่มีความมหายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์สาสาในยุโรป หรือถ้าขยายความหมายก็ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็คือ ผุ้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายพระองค์ หรือศานาพื้นบ้าน โดยทั่วไปในโลกจากมุมองของผุ้ที่นับถือคริสต์สาสนาในดลกตะวัรตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผุ้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม วิญญาณนิม หรือลัทธิเซมั่น เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพรเจ้าหลายองค์หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่
คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยุ่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมท้งศษสนาตะวันออก ปรัมปราวิ
ทยาอเมิรกันพื้นเมือง และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปทีั่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายคที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก ที่เป็นศาสนาที่เป้นที่ยอมรับกันอย่งเป็นทางการแต่จะจำกัดอยุ่ในศาสรนาท้องถ่ินที่ยังไม่ได้จดอยุ่ในระบบศาสนาของดลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก และความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่างๆ
"ลัทธินอกศาสรา" เป็นคำที่ผุนับถือคริสต์ศษสานำมาใช้สำหรับ "เจนไทล์" ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยาม โดยหมู่ผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิมของโลกตะวันตก เที่ยบเท่ากับการใช้คำว่า "ฮีทเธน" หรื อ"อินฟิเดล" หรือ "กาฟิร" และ "มุชริก ในการเรียกผุ้ที่นับถือศาสนอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยา จึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่วถึง ความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม วิญญาณนิยม ลัทธบามัน หรือสรรพเทวนิยม แต่ก็มีผุ้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป้นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุทมองหนึ่ง และมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Norseman
ตำนานเทพเจ้าชาวนอร์สเป้นตำนานที่เล่าสืบต่อกันมาของชาวไวกิ้ง แถวดินแดนสแกนดิเนเวีย (สวีเดน เดนมาร์ก นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์) ทวีปยุดรปเหนือปัจจุบัน ซึ่งเป็ฯพวกไวกิ้งนั้นเป็นชนเผ่าหนึ่งซึ่งเรียกว่าชาวนอร์ส เรื่องเล่าตำนานชองชาวนอร์สหรือไวกิ้งถุกเล่าขานปากต่อปากมาเป็นเวลานาน ซึงบางเรื่องก้ฒีส่วนคล้ายกับตำนานเทพเจ้าของกรีและดรมัน เรื่องราวของเทพเจ้าชาวนอร์สถุกเขียนไว้ในวรรณกรรมของเอ็ดดา ซึงที่ทั้งหมด 2 เล่ม นอกจากนี้เรื่องรวของชาวไวกิ้งยังมีการบันทึกไว้เป็นบทกวี เรียกว่า ซาก้า อีกด้วย
เทพปกรณัมนอร์ส หรือ เทพปกรณัมสแกนดิเนเวีย เป็เทพปกรณัม ของขนเจร์แมนิกเหนือ และเป็นส่วนหนึ่งขอวศาสนาเก่าแก่ของชาวนอร์สซึ่งเป็นความเชื่อพหุเทวนิยม และยังคงเล่าสืบเนื่องกันมาแม้ภายหลังจากชาวสแกนดิเนเวียดิเนเวียแห่งสมัยใหม่ เทพปกรณัมนอร์สเป็นการกจะรจายขึ้นเหนือสุดของเทพปกรฌัมเจอร์มานิก โดยประกอบด้วยนิทานเทวดาและวีรบุรุษต่างวๆ จากแห่งที่มาจำนวนมากทั้งก่อนและหลังยุคเพกัน ซึ่งรมถึงวรรณกรรมของชาวไอซ์แลนด์ที่เขยขึ้นในสมัยกลาง หลักฐานทางโบราณคดีและประเพณีพื้นบ้าน
เทพเจ้าองค์สำคัญในเทพปรณัมนอร์ส ได้แก่ ธอร์ เทพสายฟ้าผู้มีค้อนใย่เป็นอาวุธ โดยเป็นเพทนักรบผุ้พิทักษ์มนุษยชาติฯ
โอดินเทพพระเนตรเดียว ผุ้ทรงขวนขวายหาความรุ้ในโลกธาตุทั้งหลย และพระราชทานอัษรรูนให้แก่มนุาย์
เฟรยา เทพสตรีผุ้ทรงสิริโฉม ผุ้ใช้เวทมนตร์ และทรงฉลองพระองค์คลุมขนนก ผุ้ทรง้าเข้าสู่สมรภูมิเพื่อเลือกเอาดวงวิญญาในหมู่ผู้ตาย
สคาคดี ยักขินีและเทวีแหงการสกี ผุ้อาศัยอยู่ท่ามกลางผุงหมาป่าบนภูเขาในฤดูหนาว
นโยร์ด เทพเจ้าทรงฤทธิผุ้อาจปราบได้ทั้งทะเลและไฟ และยังประทานความมังคั่งและที่ดิน
เฟรย์ ผู้นำสันติสันตติภาพและความเพลิดเพลินสู่มนุษย์ชาติผ่านทางฤดูกาลและการกสิกรรม
อีดุนน์ เทพเจ้าผุ้ทรงรักษาแอปเปิลที่ให้ความเยาว์วัยชั่นนิรันดร์
เฮม์คาลร์ เทพเจ้าลึกลับผุ้ประสูติแต่มารดาเก้าตน ทรงสามารถฟังเสียงหญ้าโต มีพระทนต์เป็นทองคำและมีเขาสัตว์ที่เป่าได้ดังกึกก้อง
และ โยตุนโลกิ ผุ้นำโศกนาฎกรรมมาสู่ทวยเทพโดยวางแผนให้บัลเอร์พระดอรสแห่งเทพเจ้าฟริกก์ ต้องตาย เป็นต้น...
เทพปกรณัมนอร์ส จัดเหล่าเทพเจ้าออกเป็นสองกลุ่ม คือ พวกอัศร์ ซึ่งมีรากคำเดียวกันอสูร ในภาษาสันสกฤต ได้แก่ เทพเจ้าองค์สำคํญๆ ในเทพวิหารของนอร์ส (เช่น โอดิน ธอร์, ฟริกก์, บัลเดอร์ ฯลฯ) พวกหนึ่ง และพวกวาเน็น หรือวานร์ อันเป็นเหล่าเทพที่มีความเกี่ยวพันกับความอุดมสมบุร์ ปัญญา
เฉลี่ยวฉลาด ธรรมชาติ และการรู้อนาคตอีกพวกหนึ่ง ทั้งสองพวกเข้ามทำสงครามกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ จนในที่สุดรุ้วาตนมีอำนาจเท่าๆกัน นอกจากนี้ในโลกยังมีสัตว์และเผ่าในเทพนิยายอยู่อีกนานับประการ (เช่น ยักษ์, คนเเคระ, เอลฟ์ และภูตในแผ่นดิน)
จักรวาลวิทยาของนอร์สประกอบด้วยโลกเก้าโลก ซึงขนาบอิตระซิล ต้นไม่แห่งเอกภพ โลกมนุษย์ในจักรวาลวิทยานอร์สมีชื่อเรียกว่า มิคการ์ นอกจจากนี้ยังมีภพหลังความตายอยุ่หลายภพซึงมีเทพเจ้าพิทักษ์รักษาอยู่แตกต่างกัน ในตำนานของนอร์มีตำนานสร้างโลกอยู่หลายแบบ มีการทำนายว่าโลกเหล่านี้จะกำเนิดใหม่หลังเหตุกาณ์แรกนะร็อก เมื่อเกิดการยุทธมโหฬารระหว่างเหล่าทวงเพทและฝ่ายศัตรู และมนุษย์สองคนจะเพ่ิมประชากรโลกอีกครั้ง....https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA
สแดนดิเนีเวีย เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และปวัติศาสตร์ มีศุนย์กลางอยุ่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดมว่ มณฑลสกาเนีนย ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่นๆ ในกลุ่มนอร์ติก เช่น ประเทศ ไอซืแลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันะ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมรีการพุดภาษานอร์เวย์โบราณ และดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์ และ หมู่เกาะแฟโร
นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนา ถึงแม้ว่าฟินแลดน์จะมีความเีก่ยว้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่้อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกนิก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก
ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยุ่กับบริบท กลุ่มนอร์ตกิ นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลคงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2
วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Peter the Great
พระเจ้าเปโดร ที่ 3 แห่ง อารากอน หรือ พระเจ้าเปโตรมสหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศือารา
กอนแห่งราชอาณาจักรอารากอน (ในพระนาม เปโตรที่ 3) และพระมหกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบาเลนเซีย (ในพระนามเปโตรที่ 1 ) และเคานต์แห่งบาร์เซโลน่า (ในพระนาม เปโดรที่ 2 ) ตั้งแต่ ค.ศ. 1276 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1285 พระเจ้าเปโดรทรงพิชิตราชอาณาจักชิชิลีได้ในปี ค.ศ. 1282 พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ผุ้ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดองค์หนึ่งของราชอาณาจักรอารากอนในยุคกลาง
ราชอาณาจักรอารากอน เป้นาชอาณาจักรที่ตั้งอยุ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเปนระหวงปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกาัตรย์องค์แรกอาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตยอาณาบริเวณเป็นบริวเณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดมเป็นส่วนหนึ่งของ "ราชบัลลังก์อารากอน" ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน
ราชอาณาจักรเดิมเป็นแค้วฟิดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตวกับราชอาราจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แค้วนอารากอนแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ และเลือนฐานะเป็นอาณาจักรเต็มตัวดดยพระเจ้ารามีดรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่วปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจามัว์
..พระเจ้าแผ่นดินแก่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผนดินแห่งบาเลนเซียพระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา(ชัวระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชัวระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือสียไปก็เป็นการเพ่ิมหรือลดดินแดนภายใจ้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง "สหภาพอารากอน"
ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลงจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยุ่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานาวบาปลันตา...
ทรูบาดูร์, แบร์นาร์์ต โดริแยค, เปอเรอ ซาลวัตจ์, ได้นำ โรเจรียร์ที่ 3 แห่งฟัวซื และปีเตอร์ที่ 3 แห่งอารากอน มรแต่งเป็น siventes ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สงครามครูเสดอารากอน..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94
กอนแห่งราชอาณาจักรอารากอน (ในพระนาม เปโตรที่ 3) และพระมหกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบาเลนเซีย (ในพระนามเปโตรที่ 1 ) และเคานต์แห่งบาร์เซโลน่า (ในพระนาม เปโดรที่ 2 ) ตั้งแต่ ค.ศ. 1276 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1285 พระเจ้าเปโดรทรงพิชิตราชอาณาจักชิชิลีได้ในปี ค.ศ. 1282 พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ผุ้ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดองค์หนึ่งของราชอาณาจักรอารากอนในยุคกลาง
ราชอาณาจักรอารากอน เป้นาชอาณาจักรที่ตั้งอยุ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเปนระหวงปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกาัตรย์องค์แรกอาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตยอาณาบริเวณเป็นบริวเณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดมเป็นส่วนหนึ่งของ "ราชบัลลังก์อารากอน" ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน
ราชอาณาจักรเดิมเป็นแค้วฟิดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตวกับราชอาราจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แค้วนอารากอนแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ และเลือนฐานะเป็นอาณาจักรเต็มตัวดดยพระเจ้ารามีดรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่วปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจามัว์
..พระเจ้าแผ่นดินแก่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผนดินแห่งบาเลนเซียพระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา(ชัวระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชัวระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือสียไปก็เป็นการเพ่ิมหรือลดดินแดนภายใจ้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง "สหภาพอารากอน"
ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลงจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยุ่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานาวบาปลันตา...
ทรูบาดูร์, แบร์นาร์์ต โดริแยค, เปอเรอ ซาลวัตจ์, ได้นำ โรเจรียร์ที่ 3 แห่งฟัวซื และปีเตอร์ที่ 3 แห่งอารากอน มรแต่งเป็น siventes ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สงครามครูเสดอารากอน..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94
วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
The Ring of the Nibelung
Das Rheingold (The Rhine Gold), Die Walküre (The Valkyrie) ,Siegfried, Götterdämmerung (The Twilight of the Gods), ปกรฌัมแหวนนิเบลุงเกน มีเนื้อเรื่องกล่าวถึงเรื่องราวของคนแระ เผ่านิเบลุง กับแหวนวิเศษ ตำนานวาลคีรี, โศกนาฎกรรม ของซิกฟรีด กับบรุนฮิลด์ บางครั้งปกรฌัมชุมนี้ อาจเรียกวสั้นๆ ว่า "ปกรณัมแหวน"
ปกรฌัมแหวงแห่งนิเบลุงเกน เป็นปกรณัมชุดของ ริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวี ชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1848-1874 โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานเทพเจ้านอร์ส และนิทานปรัมปราของชาวเบอร์กัันดี ประกอบด้วยอุปรากร จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งผู้แต่งระบุว่าเป็นอุปรากรไตรภาค และอีกนึ่งบทนำ ประกอบด้วย
ตนตรีจากช่วงโหมโรง ช่วงหนึ่ง มีท่วงทำนองที่ได้รับความนิยม มีชื่อเรียกว่า"ไรด์ออฟเดอะวาลคีรี" และได้มีการนำมาประกอบภายยนต์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้
- ริชาร์ด วากเนือ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883 เป็นหนึ่งในคตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์สตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหย่แล้วผลงานของวากเนอร์เป้นรู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรืองราวโศกนาฎกรรม ประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
- โรงละครเทศกาลไบรอยท์ เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยุ่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1872 และเปิดเป็นครั้งแรเมื่องันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 โรงละครเทศกาลไบรอยท์เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์โดยเฉาพะระหว่างเทศกาลไบลรอยท์ซึ่งเป็ฯเทศกาลประจำปีที่มีแต่การแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์เท่านั้น โรงละครเป็นความคิดของวากเนอร์หลังจากที่ถูกขับจากราชสำนักมิวนิคของพระเจ้าลุควิกคที่ 2 แห่งบาวาเรีย วากเนอร์ต้องการจะมีสาถนที่สำหรับแสดงอุปรากรที่จรเองเขียนที่ห่างไกลจาก
วัฒณธรรมคู่แข่งอื่นๆ และนอกจากจะเป็นที่แสดงตามปกติแล้วก็ยังเป็นที่จัดเทศกาลอุปรากรประจำปีซึ่งเป็นงานที่เชิดหน้าชูตาของไบรอยท์ วากเนอร์เลือกไบรอยท์ด้วยเหตุผลหลายประการ โรละครเทศกาลสร้างสำหรับมากราฟเฟรดริคแห่งไบรอยท์และภรรยาหรีเดอริเค โซฟี วิลเฮลมีนแห่งไบรอยท์ พระขนิษฐาของพระเจ้าฟรีคริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1747 ซึ่งมีระบบเสียงดีและเหมาะกับความคิดของวากเนอร์ ประการที่สอง เมืองไบรอยท์อยู่นอกบริเวณที่วากเนอร์ไม่สามารถแสดงอุปรากรของตนเองเพราะได้ขายลิขสิทธิ์ไปหมด
เมือปี 1864 เพราะปัญหาทางการเงินประการสุดท้ายไบรอยท์ขณะนั้นไม่มีวัฒนธรรมที่เด่นที่จะเป็นคู่แข่งได้ทำให้วากเนอร์เป็นที่เด่นโดยไม่มีใครลบได้ เมื่อเทศกาลอุปรากรเริ่มขึ้นก็จะกลายเป็นจุดสนใจทางวัฒนธรรมของไบรอยท์ วากเนอร์นำการออกแบบมาจากสถาปนิกกอดฟรีด เซมเพอร์ซึ่งวากเนอร์มิได้รับการอนุญาต แบบของเซมเพอร์เดิมออกแบบสำหรับโรงละครเทศกาลที่มิวนิค ที่สร้างภายใต้การควบคุมของวากเนอร์ทุนการก่อสร้างส่วนใหญ๋มาจากพระเจ้าบลุควิกที่ 2 วากเนอร์วางศิลาฤกษ์ในวันเกิดของตนเองเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 สิ่งก่อสร้างเปิดเป็นครั้งแรกด้วยการแสดงอุปรากร "แหวนแห่งนิเลลุงเก็น" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "แหวน" ทั้งสีทองค์อย่างสมบุรณ์เป็นครั้งแรก (ความยาวทั้งหมดประมาณ 15 ชัวโมง) ตั้งแต่วันที่13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 -17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
อุปรากรเรื่องนี้มักจะแสดงทั้งชุดในงานเทศกาลอุปรากรที่ไบรอยท์ ด้านหน้าของโรงละครเท่านั้นที่มีัลักาณะการตกแต่งที่พบกันในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากน้นภายนอกก็มีลักษระเรียบง่ายไม่มีการตกแต่งเท่าใดนัก นอกไปจากอิฐที่ก็มิได้มีการตกแต่ง ลักษณะที่เด่นของโรงละครแห่งนี้คือทีนั่งของหลุมวงออร์เคสตรา ซึ่งตั้งลึกเเข้าไปภายใต้เวทีและคลุมด้วยเพดานบางๆ เพื่อที่จะซ่อนวงดนตรีของผุ้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่วากเนอร์เน้นเพื่อที่จะให้ผุ้ชมสนใจแค่เฉพาะอุปรากรบนเวทแทนที่จะมีผุ้กำกับดนตรี ที่โบกบาททองทำให้เสียสมาธิ
https://th.unionpedia.org/i/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
นอกจากนั้นการออกแบบก้ยังพยายามแก้ความสมดุลระหวางนักร้องและออร์เคสตราซึ่งทำให้เป็นเสียงออกมาอย่างที่วากเนอร์ต้องการ แต่การจัดระบบเสียงเช่นนี้ทำความลำบากให้แก่ผุ้กำกัดนตรีเป็นอัมากแม้ว่าจะเป็นผุ้กำกับที่มีชื่อเสียงก็ตาม นอกจากผุ้ชมที่ถูกซ่อนอยู่ในความมือแล้วเสียงสะท้อนกังวานทำให้การประสานเสียงระหว่างวงออร์เคสตรากับนักร้องเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นผุ้กำกับดนตรีจึงจำต้องไม่สนใจสัญญาจากนักร้อง นอกจากนั้นผุ้กำกับดนตรียังพบว่าการกำกับดนตรีที่ไบรอยท์เป็นงานที่ท้าทายความสามารถมากที่สุดในอาชีพของตนเองงานหนึ่ง ลักษณะที่เด่นทางสถาปัตยกรรมอีกอย่างหนึ่งคือการใช้เพดานโค้งซ้อน ซึ่งทำให้ผุ้ชมมีความรู้สึกว่าโรงละครลึกกว่าความเป็นจริง เพดานโค้งซ้อนและหลุมสำหรับวงออร์เคสตราเกือบใต้เวทีทำให้เกิดบรรยากาศที่วากเนอร์เรียกว่า "เหวแห่งความลึกลับ" ระหว่างผุ้ชมและเวที อันทำให้การแสดงที่ออกมาบนเวทีเหมือนฝันซึ่งเป็นการย้ำความลึกลับของเนื้อหาและบรรยากาศของอุปรากรที่วากเนอร์ต้องการ...
,
,
,
ปกรฌัมแหวงแห่งนิเบลุงเกน เป็นปกรณัมชุดของ ริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวี ชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1848-1874 โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานเทพเจ้านอร์ส และนิทานปรัมปราของชาวเบอร์กัันดี ประกอบด้วยอุปรากร จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งผู้แต่งระบุว่าเป็นอุปรากรไตรภาค และอีกนึ่งบทนำ ประกอบด้วย
ตนตรีจากช่วงโหมโรง ช่วงหนึ่ง มีท่วงทำนองที่ได้รับความนิยม มีชื่อเรียกว่า"ไรด์ออฟเดอะวาลคีรี" และได้มีการนำมาประกอบภายยนต์ จนกระทั่งปัจจุบันนี้
- ริชาร์ด วากเนือ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883 เป็นหนึ่งในคตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์สตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหย่แล้วผลงานของวากเนอร์เป้นรู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรืองราวโศกนาฎกรรม ประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
- โรงละครเทศกาลไบรอยท์ เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรที่ตั้งอยุ่ที่ทางเหนือของเมืองไบรอยท์ ในแคว้นบาวาเรียในประเทศเยรมนี สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1872 และเปิดเป็นครั้งแรเมื่องันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 โรงละครเทศกาลไบรอยท์เป็นโรงละครที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์โดยเฉาพะระหว่างเทศกาลไบลรอยท์ซึ่งเป็ฯเทศกาลประจำปีที่มีแต่การแสดงอุปรากรโดยริชาร์ด วากเนอร์เท่านั้น โรงละครเป็นความคิดของวากเนอร์หลังจากที่ถูกขับจากราชสำนักมิวนิคของพระเจ้าลุควิกคที่ 2 แห่งบาวาเรีย วากเนอร์ต้องการจะมีสาถนที่สำหรับแสดงอุปรากรที่จรเองเขียนที่ห่างไกลจาก
วัฒณธรรมคู่แข่งอื่นๆ และนอกจากจะเป็นที่แสดงตามปกติแล้วก็ยังเป็นที่จัดเทศกาลอุปรากรประจำปีซึ่งเป็นงานที่เชิดหน้าชูตาของไบรอยท์ วากเนอร์เลือกไบรอยท์ด้วยเหตุผลหลายประการ โรละครเทศกาลสร้างสำหรับมากราฟเฟรดริคแห่งไบรอยท์และภรรยาหรีเดอริเค โซฟี วิลเฮลมีนแห่งไบรอยท์ พระขนิษฐาของพระเจ้าฟรีคริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1747 ซึ่งมีระบบเสียงดีและเหมาะกับความคิดของวากเนอร์ ประการที่สอง เมืองไบรอยท์อยู่นอกบริเวณที่วากเนอร์ไม่สามารถแสดงอุปรากรของตนเองเพราะได้ขายลิขสิทธิ์ไปหมด
เมือปี 1864 เพราะปัญหาทางการเงินประการสุดท้ายไบรอยท์ขณะนั้นไม่มีวัฒนธรรมที่เด่นที่จะเป็นคู่แข่งได้ทำให้วากเนอร์เป็นที่เด่นโดยไม่มีใครลบได้ เมื่อเทศกาลอุปรากรเริ่มขึ้นก็จะกลายเป็นจุดสนใจทางวัฒนธรรมของไบรอยท์ วากเนอร์นำการออกแบบมาจากสถาปนิกกอดฟรีด เซมเพอร์ซึ่งวากเนอร์มิได้รับการอนุญาต แบบของเซมเพอร์เดิมออกแบบสำหรับโรงละครเทศกาลที่มิวนิค ที่สร้างภายใต้การควบคุมของวากเนอร์ทุนการก่อสร้างส่วนใหญ๋มาจากพระเจ้าบลุควิกที่ 2 วากเนอร์วางศิลาฤกษ์ในวันเกิดของตนเองเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 สิ่งก่อสร้างเปิดเป็นครั้งแรกด้วยการแสดงอุปรากร "แหวนแห่งนิเลลุงเก็น" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "แหวน" ทั้งสีทองค์อย่างสมบุรณ์เป็นครั้งแรก (ความยาวทั้งหมดประมาณ 15 ชัวโมง) ตั้งแต่วันที่13 สิงหาคม ค.ศ. 1876 -17 สิงหาคม ปีเดียวกัน
อุปรากรเรื่องนี้มักจะแสดงทั้งชุดในงานเทศกาลอุปรากรที่ไบรอยท์ ด้านหน้าของโรงละครเท่านั้นที่มีัลักาณะการตกแต่งที่พบกันในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากน้นภายนอกก็มีลักษระเรียบง่ายไม่มีการตกแต่งเท่าใดนัก นอกไปจากอิฐที่ก็มิได้มีการตกแต่ง ลักษณะที่เด่นของโรงละครแห่งนี้คือทีนั่งของหลุมวงออร์เคสตรา ซึ่งตั้งลึกเเข้าไปภายใต้เวทีและคลุมด้วยเพดานบางๆ เพื่อที่จะซ่อนวงดนตรีของผุ้ชม ซึ่งเป็นสิ่งที่วากเนอร์เน้นเพื่อที่จะให้ผุ้ชมสนใจแค่เฉพาะอุปรากรบนเวทแทนที่จะมีผุ้กำกับดนตรี ที่โบกบาททองทำให้เสียสมาธิ
https://th.unionpedia.org/i/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%99
นอกจากนั้นการออกแบบก้ยังพยายามแก้ความสมดุลระหวางนักร้องและออร์เคสตราซึ่งทำให้เป็นเสียงออกมาอย่างที่วากเนอร์ต้องการ แต่การจัดระบบเสียงเช่นนี้ทำความลำบากให้แก่ผุ้กำกัดนตรีเป็นอัมากแม้ว่าจะเป็นผุ้กำกับที่มีชื่อเสียงก็ตาม นอกจากผุ้ชมที่ถูกซ่อนอยู่ในความมือแล้วเสียงสะท้อนกังวานทำให้การประสานเสียงระหว่างวงออร์เคสตรากับนักร้องเป็นไปได้ยาก ฉะนั้นผุ้กำกับดนตรีจึงจำต้องไม่สนใจสัญญาจากนักร้อง นอกจากนั้นผุ้กำกับดนตรียังพบว่าการกำกับดนตรีที่ไบรอยท์เป็นงานที่ท้าทายความสามารถมากที่สุดในอาชีพของตนเองงานหนึ่ง ลักษณะที่เด่นทางสถาปัตยกรรมอีกอย่างหนึ่งคือการใช้เพดานโค้งซ้อน ซึ่งทำให้ผุ้ชมมีความรู้สึกว่าโรงละครลึกกว่าความเป็นจริง เพดานโค้งซ้อนและหลุมสำหรับวงออร์เคสตราเกือบใต้เวทีทำให้เกิดบรรยากาศที่วากเนอร์เรียกว่า "เหวแห่งความลึกลับ" ระหว่างผุ้ชมและเวที อันทำให้การแสดงที่ออกมาบนเวทีเหมือนฝันซึ่งเป็นการย้ำความลึกลับของเนื้อหาและบรรยากาศของอุปรากรที่วากเนอร์ต้องการ...
,
,
,
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
Celtic pantheon
ชาวเคลท์นั้น เกิดขึ้นในช่วงยุคเหล็ก ซึ่งเดิมนั้นพวกเค้าก็กระตายตัวเองอยู่ในแถบยุโรป รวมถึงในอาณาจักรโรมัน แต่ทำไม่เรื่องตำนานเคลติกนั้นกลับไม่ถูกพูดถึงอย่างแพร่หลายในโรมัน นังเป็นเพราะราวๆ ยุคกลางของสหัสวรรษที่หนึ่ง ชาวเคลท์ถุกขับไล่ จึงต้องอพยพไปออยุ่ในแถบไอร์แลนด์ ยังยังกระจายตัวไปยังฝรั่งเศส ตำนานของชาวเคลท์จึงแพร่หลายอยุ่แต่ในแถบนั้นมากกว่า
เมื่อกล่าวถึงตำนานเคลติกแล้ว ก็จะต้องพูดถึงเหล่าติวตอนิก ซึ่งอยู่ในแถบเหนือๆ ของยุโรปเช่นกัน พวกติวตอนิกมีเรื่องราวที่น่าสนใจ อาทิ ตำนานนอร์ส ตำนานวันแร็คนาร็อก ซึ่งเป็นเรื่องราวชาวไวกิ้ง วัลฮาร่า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชาวติตอนิก
ชาวเคล สังคมเคลติกมีโครงสร้งการปกครองที่ค่อยค้างชัดเจน นั่นคือจะมีผุ้นำสูงสุดหรือ กษัตริย์เป็นผู้ปกครองเผ่า และในแต่ละเผ่าจะแบ่งอีก 3 ชนชั้น คือ อัศวินผุ้ทรงเกี่ยติและหล่านักรบ ดรูดิด (ผู้นำทางศาสนา) และเกษตกรและสามัญชน
ดรูอิด เป็นผู้มาจากครอบครัวอันทรงเกี่ยรติ เป็นกลุ่มคนที่มีอิทธิพล และเป็นที่นับถือจากคนในผ่า ดรูอิดนั้น นอกจากจะเป็นผู้นำทางศาสนาแล้ว ยังทำหน้าที่เป็นผุ้พิพากษา ครู ที่ปรึกษา และที่สำคัญคือ ดรูอิดได้รับ ความเชื่อถืออย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้มีพลังพิเศษ เมื่อดรุอิดได้รับความเชื่อถือขนาดนี้ แน่นอนว่าต้องมีผุ้ที่อยากเป็นศิษย์ของดรูอิด จึงเกิด ลัทธิดรูอิดขึ้น..
ตำนานเคลติกนั้นแรกเริ่มเดิมที่ก็ถูกบันทึกโดยชาวโรมัน ในช่วงศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช ภายหลังเมื่อย้ายถิ่นฐาน (ถูกไล่) ไปอยู่ไอร์แลนด์ เรื่องราวของเดลติกก็ถูกบันทึกต่อโดยพระชาวไอริช (ศตวรรษที่ ๖) และนักเขียนชาวเวลส์แทน ดังนั้น ตำนานของชาวเคลส์ จึงกว้างมาก เป็นการรวมเรื่องราวที่เล่าต่อๆ กันม กว่าร้อยเรื่อง
เรื่องราวของเหล่าเทพเจ้าในเคลติกนั้นไม่ได้ถุดดรูอิคบันทึกเอาไว้เลย แต่ถูกเล่ากันมาปากต่อปาก หรือบันทึกโดยผุ้อื่น ดังนั้นเรื่องราวของเทพในเคลติกจึงมีอยุ่น้อยนิด อีกเหตุผลที่เรื่องเทพไม่ค่อยถูกบันทึก ก็เพราะการเข้ามาแทนที่ของศาสนาคริสต์ ซึ่งลดความสำคัญของเทพเคลติก ให้กลาายเป็นพวกโทรลล์ พวกแฟรี่ ตัวเล็กไป ทำให้คนที่เคยนับถือในเทพเคลติกค่อยๆ เลือนหาย
เทพของเคลติกนั้นจะมีความแตกต่างจากเทพจากชนชาติอื่ๆน คือ เทพเคลต์ จะเป็นเทพที่มีความคล้ายคลึงมนุษย์มาก เพียงแต่เป็นคนละเผ่าพันะ์กัน (หรือใกล้เคียง) เป็นชนที่มีพลังทางเวทมนตร์มากว่าตามตำนานพวกเขาเดินทางมาจาก โลกอื่น พวกที่มาที่แรกเลยก็คือเผ่าเนเมด และพโธลาน ที่นี้ สองเผ่านี้เดินทางมาถึงไอร์แลนด์พร้อมกัน ทั้งสองเผ่าจึงจะทำสงครามกัน แต่ยังไม่ทันจะทำสงครามก็ปรากฎว่าใต้ทะเลของไอร์แลนด์มีพวกอื่นอาศัยอยู่นานแลวเรียกว่า ฟอเมอเรียน หรือภูติยักษ์ร่างใหญ่ มีนิสัยป่าเถือน ครั้นแล้ว ต่างเผ่าก็พุ่งรบกับพวกฟอเมอร์ แต่ด้วยพวกฟอเมอร์นั้นมีจำนวนมากกว่า เผ่าพาโธลานก็พ่ายแพ้ยับเยิน และฟอเมอร์ก็หัสมาจัดการกับเผ่าเนเมดจนในที่สุดพวกเนเมดก็เหลือไม่เกินสามสิบคน พวกที่รอดตายก็หนีไป บางคนไปตั้งรกรากในดินแดนต่างๆ ในยุดรป มีอีกไม่กี่คนที่กลบมายังไอร์แลนด์อีกครั้ง
และหนึ่งในนั้นคือ เทพีดานู พวกที่เหลือกลับมานีเรียกว่า ทูเอธา เด ดอนนานน์ แปลว่า เครือญาติแห่งเทพีดานู ซึ่งก็คือเทพในตำนานไอร์แลนด์
จากกำเนิดเทพ จะพบว่าเทพของชาวเคลจะนับญาติกันหมด โดยมีเทพีดานูเป็นมารดาของเหล่าเทพ เทพในเคลตินี้ ใกล้เคียวกับมนุษย์มาก หรือก็คือเค้าสาถปนาคนที่มีความสามารถเหลือล้นว่าเป็นพวกเทพ ซึ่งในที่นีก็จะมีกษัตริย์อาเธอร์ผุ้ยิ่งใหญ่รวมอยู่ด้วย
ชนชาติที่เป็นชาวเคลท์ในอีด ซึ่งปัจจุบันก็ยังคลหลงเหลือวัฒนธรรมและความเชื้อเก่าแก่ในสังคม อาทิ สก็อตแลนด์ ไอร์แลนด์, อีส ออฟ แมน, เวลส์, คอร์นวอร์, บริททานี่, กาลิเซีย, ออสเตรีย, โนวา สกอเทีย, นิวฟลาวแลนด์ เป็นต้น
ปฎิทินของชาวเคลท์นั้นจ่างจากปฏิทินทั่วไป คือมีเดือน 13 เดือน ชื่อของเดือนต่างๆ นั้นำมาจากชื่อของต้นไม่ซึ่งมี ความเกี่ยวโยงกับวงโคจรของดวงจันทร์ ที่เลือกใช่ต้นไม่เป็นสัญลักษ์เนื่องจากชาวเคลท์นั้นให้ความสำคัญกับต้นไม่มาก ต้นไม่นั้นเรปียบเหมือนสัญลักษณ์เวทย์มนต์ที่ทรงอำนาจมากที่สุดสำหรับชาวเคลท์ และต้นไม่ยังเปรียบเสมือนสะพานที่นำพาน้ำจากพื้นดินขึ้นสูท้องฟ้าทั้งยังให้อาหาร ให้ที่หลบภัย ให้ความอบอุ่น เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และยารักษาโรค เมื่อถึงเวลาเปลี่ยนแปลงของฟดูกาล ต้นไม่จะเป็นส่ิงแรกท่ย้ำเตือนชาวเคลท์ให้รู้ล่วงหน้า และต้นไม่ยังเปลี่ยบเป็นวงจรชีวิตมนุษย์ วงจรแห่งการเกิดและการดับสูญ ต้นไม่มีชีวติที่ยาวนานกว่ามนุษย์ ดังนั้นต้นไม่จึงเป็นส่ิงที่ส่งผลต่อความทรงจำ ด้วยเหตุนี้ปฏิทินเคลติกตึงมีชื่อเรียกว่า "ปฏิทินต้นไม้" มีทั้งสิ้น 13 เดือน...https://board.postjung.com/1002584.html
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...