Thor

           ในเทพปรกณัมนอร์ส ธอร์ เป็นเทพถือค้อนซึ่งเกี่ยวข้องกับสายฟ้า ฟ้าร้อง พายุ ต้นโอ๊ก พละกำลัง การคุ้มครองมนุษชาติ และตลอดจนการทำให้ศักดิ์สิทธิ์ การรักษาและความอุดมสมบูรณ์ เทพที่มาจากกำเนิดเดียวกันในเทพปกรณัมเยอรมัน และเพเกิน ที่กว้างกว่k เป็นที่รุ้จักกันในภาษาอังกษว่า punor และภาษาเยอรมันในเขตเหนือ่า Donar ซึ่งกำเนิดจาภาษาโปรโตเยรมัน หมายถึง สายฟ้า
            ธอร์เป็นเทพที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างสำคัญตลอดประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึกของชาวเยรมัน จากการยึดครองดินแดนเยอรมาเนียของโรมัน ไปจนถึงการขยายชนเผ่าในสมัยการโยกย้ายถ่ินฐาน ไปจนถึงการไ้รับการนิยมอย่างสุงในยุคไวกิ้ง เมื่อ ในการเผชิญกับการะบวนการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้าไปในสแกนดิเนเวีย สัญลักษณ์ค้อนจอลนีร์ ของพระองค์ ถูกสวมใส่เป็นการท้าทายและชื่อตัวของนอร์สเพเกินซึ่งมีชื่อขอวเทพเจ้าป็นพยานต่อความนิยมของเขา เมื่ออย่างเข้าสู่สมัยใหม่ ธอร์ยังได้การยอมรับต่อไปในตำนานพื้นบ้านชนบททั่วภูมิภาคเยอรมนี ะอร์มักอ้างถึงบ่อยครั้งในชื่อ สถานที่ ในวันประจำสัปดาห์ วันพฤหัสบดี (วันของธอร์) ปรากฎนามของพระงอค์ และชื่อซึงมาจากยุคเพเกิน ที่มีนามพระองค์นั้นังมีใช้กันอยุ่จวบจนปัจจุบัน ตลอดจนยังเป้นที่มาของคำว่า "ฟ้าร้อง " หรือ "ฟ้าผ่า" ในภาษาอังกฤษ อีกด้วย นอกจานี้แล้วนักวิชาการชาวอังกฤษผุ้หนึ่งบังเชื่อว่า ค้อนจอลนีร์ที่มีลักษณะข้างไปแล้วสามารถหวนกลับมาสู่มือของทอร์ได้เหมือนบูมเมอรแรงเป้นที่มรของสัญลักษณ์ สวัสดิกะ ที่แพร่หลายต่อมาในอารยธรรมของชาวอารยัน อีกด้วย
           ธอร์เป็นหนึ่งในสิบสองสำคญของเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เป็นเทพแห่งสายฟ้า ทอร์เป็นบุตรของเทพเจาโอดินและจอร์ดน่ง ยักษ์แห่งแผ่นดิน...
         
"เพแกน" มาจากภาษาละติน แปลว่ "ผู้ที่อยุ่ในชนบทเป้นคำที่มีความมหายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์สาสาในยุโรป หรือถ้าขยายความหมายก็ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็คือ ผุ้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายพระองค์ หรือศานาพื้นบ้าน โดยทั่วไปในโลกจากมุมองของผุ้ที่นับถือคริสต์สาสนาในดลกตะวัรตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผุ้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม วิญญาณนิม หรือลัทธิเซมั่น เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพรเจ้าหลายองค์หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่
           คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยุ่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมท้งศษสนาตะวันออก ปรัมปราวิ
ทยาอเมิรกันพื้นเมือง และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปทีั่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายคที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก ที่เป็นศาสนาที่เป้นที่ยอมรับกันอย่งเป็นทางการแต่จะจำกัดอยุ่ในศาสรนาท้องถ่ินที่ยังไม่ได้จดอยุ่ในระบบศาสนาของดลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก และความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่างๆ
         "ลัทธินอกศาสรา" เป็นคำที่ผุนับถือคริสต์ศษสานำมาใช้สำหรับ "เจนไทล์" ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยาม โดยหมู่ผุ้นับถือลัทธิเอกเทวนิมของโลกตะวันตก เที่ยบเท่ากับการใช้คำว่า "ฮีทเธน" หรื อ"อินฟิเดล" หรือ "กาฟิร" และ "มุชริก ในการเรียกผุ้ที่นับถือศาสนอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยา จึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา"  เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่วถึง ความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม วิญญาณนิยม ลัทธบามัน หรือสรรพเทวนิยม แต่ก็มีผุ้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป้นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุทมองหนึ่ง และมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)