วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Riligion in middle east

           ชาวยิวมีลักาณะนีสัย ฉลาด อดทน มัทธยัต รักพวกพ้อง เมื่อครั้งอพยพไปอยู่อิยิปต์ได้สร้างความเจริญให้แก่อียิปต์เป็นอันมาก ความเติบโตอยางรวดเร็วของชาวฮิบูร ผู้เข้าไปอยู่ในอียิปต์ในฐานะทาส กลายเป็นเรื่องที่าโห์ตะหนักว่า สักวันจะเกิดการแย่งชิงอำนาจทรงดำริที่จะตัดไฟแต่ต้นลม โดยการจำกัดเขให้พวกฮิบรู ห้ามปะปนกับชาวอียิปต์ แต่ไม่ได้ผลกลับกลายเป็ฯการเพิ่มประชากรชาวฮิบรูเข้าไปอีก ฟาโรห์จึงทำการด้วยความโหดเหี้ยมคือ สั่งให้จับเด็กชาชาวฮิบรูที่เกิดให่ไปประหาร ทำให้เด็กชาวชาวฮิบรูเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก

            โมเสส เป็นทารกชาวฮิบรูที่เกิดในช่วงมีการฆ่าทางรกชาวฮิบรู แม่ของโมเสสช่วยชีวิตลูกตนด้วยการนำตัวทารกลอยใส่กระจาดไปตามแม่น้ำไนท์และอธิฐานฟ้าดินให้ช่วยลูกของตน กระจาดลอยไปจนถึงท่าน้ำหลวงเป็นที่ลงสรงของพระธิดากษัตริย์ฟาโรห์ ในขฯะนั้น พระธิดากำลังสรงน้ำพอดี เมือทอดพระเนตรเห็น จึงให้คนไปเก็บขึ้นมา ทรงเห็นเด็กน่ารักยังมีชีวิตอยู่ จึทรงนำไปเล้ยงไว้โดยประทานชื่อว่า โมเสส แปลว่า ผู้รอดจากสายน้ำ


           พระธิดาทรงรับโมเสสเป็นบุตรบุญธรรม และมอบหมายให้หญิงคนสนิทซึ่งเป็นชาวฮิบรูไปเลั้ยงไว้อย่างลับๆ ให้ได้รับการศึกษาอยางดีกระทั้งโต เมื่อโมเสสเติบโตเจ้าหญิงก็พากโมเสสจากแม่เล้ยงเข้าไปอยุู่ในวัง  แต่โมเสสบอกว่าตนมีเลือนชาวฮิบรู ไม่ใช้ชาวอียิปต์ 

           ประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่า วันหนึ่งโเสสออกจากวังไปดูชาวฮิบรูทำงานให้ชาวอียิปต์ ได้เห็นทาสฮิบรูถูกผู้คุมงาน ทำทารุณเฆี่ยนตีจนถงาย ก็บันดาลโทสะฆ่า ผุ้คุมงานชาวอียิปต์คนนั้นแล้วหนีออกจากอียิปต์ไปอยู่ที่เมืองมิเดียน ในอาหรับ บวชเป็นพระและเปลี่นชื่อเป็น โฮบัน ต่อมาได้แต่งงานกับลูกสาวของนักบวชที่เมืองนั้น หลังจากนั้นได้ลักลอบเดินทางเข้าประเทศอียิปต์เพื่อหาทางช่วยพวกฮิบรู เมื่อไปถึงปรากำว่า ฟาโรห์องค์ก่อนสิ้นพะชนม์แล้ว ฟาโรห์องค์ใหทรงยกโทษให้โมเสส แต่โมเสสจะต้องลดฐานะตัวเองเป็นาส มีฐษนะเหมือนชาวฮิบรูทั้งหลาย ตั้งแตนั้นมาโมเสสได้เป็นหัวหน้าทาสฮิบรู ระหว่างนี้เองโมเสสได้รวบรวมชาวฮิบรูก่อตั้งเป็นสมาคมก่ออิฐ เพื่อเป็นศูนย์กลางรวบรวมชาวฮิบรู

           โมเสสเคยทูลขออฟาโรห์ ให้เลิกบังคับชาวฮิรูเป็นา และทูลขออนุญาตพาพี่น้องชาวฮิบรูออกจากประเทศ แต่ไม่ได้รับอนุญาต ต่อมาเกิดโรคระบาดที่ฟาโรห์แห้ไขไม่ได้ขึ้นทั่วประเทศ ฟาโรห์ทรงเข้าใจว่าพระเจ้าของชาวฮิบรูทรงพิโรธจึ้งอนุญาติให้โมเสสพาพวกฮิบบรูออกจากประเทศ

            ก่อนโมเสสจะพาชาวฮิบบรูออกจากอียิปต์ได้ออกบัญญัติให้ทุกคนนับถือพระเจ้า เป็นที่พึงเพียงองค์เดียว เืพ่อเป็นศูนย์กลางแห่งความกลมเหลียวของหมู่คณะและบังคับ ให้ชายทุกคนชลิบหนังห้มปลายอวัยวะเพศออกให้หมดก่อน เพื่อสะดวกแก่การทำความสะอาดในการเดินทางไกล (มุสลิมรับพิธีกรรมนี้มาเป็นของตนในภายหลัง) ช่วงที่โมเสสพาชาวฮิบรูออกจากอียิปต์ เขามีอายุ 80 ปี เขาให้สัญญาแก่ชาวฮิบรูว่า พระเจ้าดลใจ เขาให้พาชาฮิบรูไปสู่ดินแดนอุดมสมบูร์ที่พระเจ้าทรงมอบหมายเป็นของชาวฮิบรู เรียกว่า ดินแดนแห่งพันธสัญญา (The Promised Land)

           เมื่อพวกฮิบรูออกเดินทางไปกล้ว ทางอียิปต์เกิดความกังวลว่า ชาวฮิบรูจะกลับมาทำร้าย ฟ้าโรจึงสั่งทหารออกติดตามและถ้าทันให้ฆ่าให้หมด กองทัพทหารอียิปต์ตามทันในขณะที่ชาวฮิบรูกำลังข้ามทะเลแดง พอชาวฮิรูข้ามไปหมด น้ำทะเลก็ท่วมทหารอียิต์ตายกลื่อนกลาด ข้อความในคัมภีร์กล่าวอธิบายเป็นเชิงปฏิหาร

           การเดินทางของชาวฮิบรูประสบกับความลำบากฝ่านควาททุรกันดาร กระทั้งใกล้ถึงภูเขาซีเนล ชาวฮิบรูที่ทนความลำบากไม่ได้ก็พากันเร่ิมคิดว่า โมเสสจะพาให้พวกเรามาตาย ความเลื่อมใสศรัทธาที่มีต่อโมเสส เร่ิมเสลื่อมคลายลง ศรัทะาที่เคยมีเร่ิมถดถอยลง บางคนต้องการจะตามโมเสสไป บางคนต้องการจะกลังอียิปต์ ในที่สุดชาวฮิบรูก็แตกความสามัคคี แบ่งออกเป็นหลายพวกหลายฝ่าย

       


  เมื่อคนทั้งหลายแตกความสามัคคีกัน โมเสสเห็นอวสานของชาวฮิบรูใกล้เข้ามา จึงตัดสินใจ ปล่อยชาวฮิบรูไว้ และตนรีบขึ้นไปอาศัยอยู่บนภูเขา และกลับลงมาหลังจากนั้น 40 วันพร้อมแผ่นหินที่จารึกบัญญัติ 10 ประการ 2 แผ่น แผ่นละ 5 บัญญัติ และบอกวาพระเจ้าไ้แสดงแก่ตนบนภูเขา พระองค์บอกให้ทราบว่า ที่ชาวฮิบรูต้องรับทุกขทรมานเพราะมีผู้ประพฤติชั่วกันมากและทางประทานบัญญัติ 10 ประการ ให้มาแจ้งแกชาวฮิบรูเพื่อรับไปประพฤติปฏิบัติ ผู้ใดยอมรับนับถือและปฏิบัติตามจะได้รับความคุ้มครองจากพระเจ้า ผุ้ใดไม่เชื่อและไม่ปฏิบัติตามจะถูกลงโทษ

           ทั้งนี้ โมเสสยังได้หาวิธีการที่จะรักษา ความสามัคคี และวิฝะีที่จะกระชับความสามัคคีให้แน่นแฟ้นมากยิงขึ้น โดย การประกาศยืนยันว่า บัญญัติ 10 ประการ  เป็นบัญญัติของพระเจ้าที่พระองค์ได้ประทานลงมาเพื่อชาวฮิบรูทั้งหลาย บัญญัติที่เป็นเสมือนเครื่องผูกพันแห่งชาติและวงศ์ตระกูล ให้ชาวฮิบรูแต่งงานกันเองในหมู่ของตน ไม่ยอมให้คนชาติอื่นพวกอื่นมาปะปน  การจัดให้มีค่ายบริสุทธิ์ Holy Tent เป็นที่ประกอบพิธีศษสนา ดโดยโมเสสเองเป็นผุ้นำในพิธีและให้โยชัว อัครสาวกเบ้องขวาเป็นทายาทสืบต่อตำแหน่งผู้นำค่ายบริสุทธิ์ ต่อมากลายเป็นศษสนปูชนียสถานสำหรับชาวฮิบรู กลายเป็นสถานที่รวมคน สถานที่รวมศรัทธา ช่วยให้เกิดความสามัคคีเป็นปึกแผ่นกลุ่มก้อน ต่อมา สถานที่ดังกล่าวกลายเป็นรูปวิหารหรือโบสถ์จนกระทังปัจจุบัน

          ให้มีหีบบัญญํติ Box of Convenant of Yahweh ภายในหีบบรรจุหินศักดิืสิทะิืจารึกบัญญัติไว้ 2 แผ่น แผ่นละ 5 บัญญัติ จะไปไหนก็ช่วยกันแบกหีบไปด้วย ก็จะเท่ากับพระยะโฮวาห์ ได้เสด็จรวมสุขร่วมทุกข์ คอยปกป้องคุ้มครองรักษา ชาวฮิบรูไปด้วย เพื่อช่วยผูกพันหมู่คณะให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน...

           โมเสสพาชาวฮิบรูเร่รอ่นต่อไป ถึงละ่มแม่น้ำจอร์แดนอันเป็นถืนอุดมสมบูร์ และได้ต่อสู้กับชาวคานาอันเจ้าของถิ่น โมเสสเสียชีวิตลง โยซัวขึ้นเป็นผู้นำต่อมา ใและในที่สุดขาวฮิบรูก็สามารถยึดดินแดนแถบนี้ได้ จึงมีอาชีพเป็นหลกแหล่งไม่ต้องเร่รอนอย่างแต่ก่น ในสมัยต่อมาฮิบรูชาวฮิบรูเผ่าต่างๆ ก็ได้รวมกันเป็นปึกแผ่น มีลักษณะเป็นประเทศ มีกษัตริย์ปกครอง คือ โซล Saul เป็นปฐมกษัตริย์ ประมาร 100 ปีก่อนพุทธศักราช ต่อมาพระเจ้าเดวิดได้เป็นกษัตริย์และได้สถาปนาอาณาจักรยูดาห์ กษํตริย์โซโลมอนซึ่งเป็นพระโอรสขึ้นครองราชสมบัติ ทรงได้โปรดให้สร้างโบสก์ใหญ่ที่งดงามขึ้นที่ กรุงเยรูซาเลม เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีทางศาสนาของชาวฮิบรู สมัยของพระเจ้าโซโลมอนเป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์ของชาวฮิบรู


                                                           ข้อมูล: บางส่วนจาก"DF 404 ศาสนศึกษา "ศาสนายิว"


           

วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in Middle East : IV

ตะวันออกกลางปัจจุบัน
ตะวันออกกลางปัจจุบัน

             อัสซีเรีย เป็นอารยะรรมหลักในเมโสโปเตเมียโบราณที่เร่ิมต้นในฐานะนครรัฐในศตวรรษที่ 21 ก่อนคริสต์ศักราช ถึงศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสต์กาล แล้วพัฒนาเป็นรัฐอาณาเขต และกลายเป็นจักวรรดิในศตวรรษ?ี่ 14 ก่อนคริสต์ศักราช ถึงศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล

            นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่แบ่งประวัติศาสตร์อัสซียเรียโบราณในยุคสัมฤทธิ์ตอนต้นถึงยุคเหล็กตอนปลายตามเหตุการณ์ทางการเมืองและการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปของภาษา ซึ่งแบ่งออกเป็นสมัยอัสซีเรียตอนต้น(2600-2025 ปีก่อนคริสต์กาล) สมัยอัสซีเรียเก่า ( ประาณ 2025-1364 ก่อนคริสตา) สมัยอัสซีเรียกลาง (ประมาณ 1363-912 ปีก่อนคริสต์กาล) สมัยอัสซ๊เรียใหม่ (ประมาณ 911-609 ปีก่อนคริสต์กาล) และอัสซ๊เรียสมัยหลังจักวรรดิื( 609 ปีก่อนริสกาล - ประมาณค.ศ. 240)

           อัสซูร์ เป็นเมืองหลวงแรกของอัสซีเรีย ได้รับการจัดตั้งขึ้น ประมาณ 2600 ปีก่อนคริสตกาล แต่ไม่มีหลักฐานว่านครนี้กลายเป็นเอกราชจนกระทั่ง ราชวงศ์อูร์ที่ 3 ล่มสลาย ในศตวรรษที่ 21 ก่อนคริสตกาล อำนาจอัสซีเรียมีจุดศูนย์กลางในใจกลางในใจกลางอัสซีเรีย ในเมโสโปเตเมียตอนเหนือผันผวนตามกาลเวลา นครนี้ตกอยู่ภายใต้ดินแดนและการปกครองของต่างชาติมาหลายช่วงก่อนที่อัสซีเรียจะรุ่งเรืองชค้นในศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสต์กาล ในสมัยอัสซีเรียกลาง ในสมัยอัสซีเรียกลางและใหม่ อัสซีเรียถือเป็นหนึ่่งในสองอาณาจักรหลักในเมโสโปเตเมีย ร่วมกับ บาบิโลนเนีย บริเวณตอนใต้ และในเวลานั้นถือเป็นมหาอำนาจในตะวันออกใกล้โบราณ อัสซ๊เรียอยู่ในช่วงสูงสุดในสมัยอัสซีเรียใหม่ โดยกองทัพอัสซีเรียเคยเป็นกองทัพที่แข็งแกร่งที่สุดในโลก และถือเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก กินนพื้นที่ในอิหร่านทางตะวันออกถึงอียิปต์ทางตะวันตกในปัจจุบัน

         
 จักรวรริอัสซ๊เรียล่มสลายปลายศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์กาล โดยถูกพิชิตจากพันธมิตรของบาบิโลนและมีดส์ ที่อยู่ภายใต้การปกครองของอัสซีเรียมากว่าศตวรรษหนึ่ง วัฒนธรรมและธรรมเนียมอัสซีเรยโบราณยังคงดำรงอยู่หลายศตวรรษ อัสซีเรียได้รับการฟื้นฟูในสมัยจักรวรดิ ซิลูซิดและพาร์เธีย แม้ว่าภายหลังเสื่อมสลายอีกครั้งในสมัยจักรวรรดิซาเซเนียนที่ปล้นสดมหลายเมือง รวมถึงอัสซูร์ด้วย ชาวอัสซีเรียที่เหลือในเมโสโปเตเมียตอนเหนือหันไปนับถือศาสนาคริสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นต้นมา ศาสนาเมโสโปเตเมียโบราณ ยังคงอยู่ในอัสซูร์จนกระทั่งการปล้มสดมครั้งสุดท้ายในคริสต์ศตวรรษที่ 3 และในกลุ่มคนที่ยึดมั่นบางส่วนในหลายศตวรรษ่ถัดมา

          ความสำเรจของอัสซเรียโบราณไม่ได้มาจกกษัตริย์ นักรบที่พลังอย่งเดียว แต่ยังมีความสามารถในการรวมและปกครองดินแดนที่ถูกยึดครองอย่างมีประสิทธิภาพฝ่านระบบการบริหารที่ซับซ้อน นวัตกรรมในสงครามและการบริหารที่บุกเบิกในอัสซีเรยโบราณถงูกนำมาใช้ในจักรวรรดิและรัฐในสหัสวรรษถัดมา อัสซีเรียโบราณบังทิ้งมรดกที่มีความสำคัญทางวัฒนธรรมอันย่ิงใหญ่ โดยเฉพาะในจักวรรดิิัสซีเรียใหม่สร้างความประทับแก่อัสซีเรียยุคหลัง รวมถึง กรีก-โรมัน และวรรณกรรมกับะรรมเนียมทางศาสนาในภาษาฮิบรู

          เอกราชอัสซีเรีย เป็นขบวนการทางการเมืองและลัทธิสนับสนุนการสร้างดินแดนอัสซียเสำหรับชาวคริสต์อัสซีเรียที่พูดภาษาแอราเมอิกในภาคเหนือของอิรัก การต่อสู้ของขบวนการเอกราชอัสซีเรียเร่ิมตั้งแตสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงปัจจุบัน บริเวณที่ชาวอัสซีเรียอาศัยอยู่คือบริเวณเนินนาว-โมซูล ซึ่งเป็นที่ตั้งของนินเนเวห์ เมืองหลวงของอัสซีเรียในคัมภีร์ไบเบิล บริเวณนี้เป็นที่รู้จักในชื่อสามเหลี่ยนมอัสซีเรีย

          ชาวอีรักเชื้อสายเติร์เมน บางครั้งเรียกเป็น เตอร์โกแมน มีอีกชื่อว่า ชาวอีรักเชื่อสายเติร์ก ชาวอิรัก-ตุรกี หรือชนกลุ่มน้อย อิรัก-เติร์ก เป็นชาวอิรักที่มีต้นกำเนิดเป็นชาวเติร์ก ซึ่งยึดมั่นในมรดกและอัตลักษณ์ของเติร์ก พวกเขาเป็นลูกหลานของทหาร พ่อค้า และข้าราชการออตโตมันที่เดินทางมาจากอานาโตเลียในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน ชาวอิรักเชื้อสายเติร์กเมนมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและภาษากับชาวตุรกีในประเทศตุรกีและชาวซ๊เรียเชื้อสายเติร์กเมน แต่ไม่ระบุตนเองเป็นชาวเติร์กเมน ในเคิร์กเมนิสถานและเอเชียกลาง ชาวอิรักเชื้อสายเติร์กเมนเป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ที่มีมากเป็นอันดับสามของประเทศอิรัก ซึ่งเป็นรองจากชาอาหรับและชาวเคิร์ต

อาณาจักรอัสซีเรีย


ข้อมูลจาก : วิกกิพีเดีย

วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in Middle East : III

            ยิว หรือที่เรียกว่าชาวยิวเป็นชนชาติและ " กลุ่มศาสนาพันธุ์" หน่ึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิราเอลหรือชนเผ่าฮิบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮิบรู ระบุวา ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอืนๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำขูและมีศาสนายูดาห์เป็นเคร่องยึดเหนี่ยวนี้เองทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงวามเป็นกุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชือสายยิวทั้งโลกมีกว่า สิบสี่ ถึง สิบเจ็ดล้านคน ซึงส่วนใหญ่อาศัยอูยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริกา

          คัมภีร์โตราห์ของศสนายูดาห์ (พระคริสธรรมคัมภีร์เดิม)ซึ่งเป็นคัมภีร์ศษสนาของชาวยิวหรือชาวฮิบรู กล่าว่าประวัติศาสตร์ของชาวยิวและศาสนานี้เร่ิมต้นที่ชายชื่อ อับราฮัม(นบีอิบรอฮีม) ซึ่งอาศัยอยู่ในเมืองคลาเดียบาบิโลน ณ ขณะนั้นเมืองสำคัญต่างๆ มีการนับถือรูปเคารพ และเทพเจ้าของตนเอง แต่อับราฮัมคิดว่าพระเจ้าที่แท้จริงจะมีเพียงพระองค์เดียว เขาได้พบพระเจ้าและพระอง๕ืทางให้อัมบราฮัมและครอบครัวออกเดินทางไปยังดินแดนแห่งพันธสัญญาที่พระองค์จะประทานให้เขาและเชื้อสายของเขา จึงเป็นุจุดเร่ิมต้นของเชื้อชาติอิสราเอล และศษสนาให่ที่รู้ว่ามีพระเจ้าพระองค์เดียว

          ไบเบิลและอัลกุรอานได้บอกเล่าเรื่องของชาวยิวหรือลูกหลานของอิสราเอลซึ่งเป็นบุตรของยิดซ์ฮาก(นบีอิสฮาก) บุตของอับราฮัมเรเ่ิมจากอับราฮัมได้ลูกชายตามที่พระเจ้าทรงประทานให้ที่กำเนิดกับนางซาร่าชื่อว่า อิสอัค(ไอเซค)ซึ่งต่อมาได้มีบุตร 2 คน คือ เอซาว และจาขอบ โดยเฉพาะจาขอบ (นบียะห์กูบ) ผู้เป็นน้องได้พบชายคนหนึ่งที่เปนีเอล เขามองไม่เห็นใบหน้าแต่ปลุ้ำสู้จนเกือบรุ่งสาง และจาขอบได้ถามชื่อบบุรุษผู้นั้นไม่ตอบ แต่เขาได้บอกว่าแต่นี้ต่อไปจาขอบจะได้ชื่อใหม่ว่า อิสราเอล ซึ่งมีความหมายว่าผู้ที่ปล้ำสู้พระเจ้า และก่อนที่จาขอบจะปล่อยชายคนนั้นไปจาขอบบอกว่า "โปรดอวยพรให้เขาก่อนและ้วจึงจะปล่อย" ซึ่งจาคอบมั่นใจว่าเขาได้พบพระเจ้า

 เชื้อสายจาขอบมี 12 คน หนึ่งในนั้นคือโยเซฟ(นบียูซุฟ) ไปอาศัยอยู่อาณาจักรของชาวอียิปต์ ต่อมาสถานการณ์การเมืองเปลี่ยนแปลงไปลูกหลานของจาขอบ(อิสลาเอล)ได้ถูกกขี่จนกระทั่งต้องกลายเป็นทาสรับใช้ถึง 400 ปี ช่วนั้นจะเรียกเชื้อสายอิสราเอลว่า "ฮิบรู" จนกระทั้ง "โมเสส"(นบีมูซา) ลูกชาวฮิบรูที่ได้รับการเลื้ยงดูโดยภรรยาของฟาโรห์จนกลายเป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์ ได้รับบัญชาจาเกพระเจ้าให้ปลดแอกชาวยิวในอียิปต์โดยให้พาชาวอีสราเอลแหรืฮิบรู ออกเดินทางจากเมือง เพื่อกลับไปยังปาเลสไตน์แผ่นดินแห่งพันธสัญญา....

           ชนชาติอิสราเอลได้ก่อสร้างชาติจาชนเผ่าเชื้อสายของจาขอบหรืออิสราเอลทั้ง 12 เผ่า ช่วงนั้นจะเรียกว่า เลวี เบนยามิน และยูดาห์ กษัตริย์เดวิดก็กำเนิดในชนเผ่านี้ ชนชาติฮิบรูในช่วงที่มีกษัตริย์ได้ตกเป็นทาสของบาบิโลน และเปอร์เซ๊ย และหลังจากถูกับเป็นเชลยอยู่หลายปีได้เดิินทางกลับไปสร้างชาติอีกครั้ง จนมาถึงสมัยพันธสัญญาใหม่ กองทัพโรมหมาอำนาจของโลกได้เข้ายึดกรุง "เยรูซาเลม" ช่วงสุดท้ายก่อนอิสราเอลจะสิ้นชาติ พระคริสต์ได้ประสูติ และบอกว่าพระองค์คือบุตรของพระเจ้า จนนำไปสู่การตรึงกางเขนโดยสาวกของพระองค์ที่ชื่อว่า ยูดัส เอสคาริโอ

 ซึงในตอนนั้นก่อนที่ชนชาติอิสราเอลจะสิ้นชาติในปีคริสต์ศํกราช 70 ชาวอิสราเอล หรือ ฮิบรู ที่เชื่อในพระคริสจะถูกแยกออกจากชาวอิสราเอลที่นับถือลัทธิยูดาย ชาวอิสราเอลในตอนจนั้นเขาเชื่อว่าเขาคือชนชาติี่พระเจ้าเลือก และรู้จักพระเจ้า ชาวต่างชาติไม่สควรที่จะรู้พระเจ้าผู้สร้างผู้ยิ่งใหญ่ คำว่า "ยิว" จึงน่าจะเร่ิมมีการถูกเรียกกันในช่วงนั้น ซึ่งหมายเป็นเชิงต่อต้านพวกอิสราเอลใใในด้านความเชื่อ สังคม และอะไรๆหลายๆ อย่าง 

           หลังจากโรมทำลายกรุงเยรูซาเลมพังพินาศแล้ว ชาวอิสราเอลได้กระจัดกระจายไปสู่ที่ต่างๆ ซึ่งตรงตามพระคัมภีร์เขียนไว้ว่า ดาบจะไล่ตามหลังพวกยิว ส่วนดินแดนคานาอันแผ่นดินน้ำยึ่งและน้ำนมบริบูรณ์จะแห้งแล้ง และถูกเปลี่ยนมือหลายครั้งหลายคราไม่ว่า อาณาจักรโรม อาณาจักรคอนสแตนติน และกองทัพมุลิมเข้ายึดครอง สงครามแยงชิงแผ่น


ดินศักดิ์สิทธิ์นี้ผุ้ที่ตกเป็นเหยื่อจะเป็นชาวยิว เช่น สงครามครูเสด ในแต่ละครั้งชาวยิวได้ตกเป็นเชลยและถูกฆ่า และอพยพไปอยู่ในประเทศต่างๆ ทั้งในยุโรป เอเซีย และทวีปอเมริกา แต่ชาวยิวก็ยังยึดมั่นในพันธสัญญาระหว่างพวกเขาและพระเจ้า ว่า พระจเ้าจะนำพวกเขากลับไปยังดินแดนที่พระเจ้าเลือก คือ อิสราเอล

          ชาวยิวในประวัติศษสตร์ได้รับควาทุกข์ทรมารจากสงครามมากมายหลายครั้ง  ไม่ว่าจากกองทัพบาบิโลน เปอร์เซีย กองทัพโรม สงครามครูเสด แต่ครั้งที่สำคัญและโลกไม่สามารถชลืมความโหดร้ายได้คือ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ยิว ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โอยฮิตเลอร์ และพรรคนาซี ซึ่งยิวถูกฆ่าไปทั้งหมดประมาณ 6.6 ล้านคน

       
  ในที่สุดความพยายามของชาวยิวที่จะก่อตั้งรัฐอิสระ ก็ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลอังกฤษซึ่งในตอนนั้นอังกฤษอิทธิพลในดินแดนปาเลสไตน์ อนุญาตให้ชาวยิวได้กลับเข้าไปในปาเลสไตน์อีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งก็คือ ประเทศ"อิสราเอล"ในปัจจุบัน พวกเขาได้ใช้ข้อความในพระคัมภีร์ มาอ้างความเป็นเจ้าของซึ่งชนพื้นเมืองที่มีอยู่ก่อนคือชาวปาเลสไตน์และชาวอาหรับในละแวกนั้นไม่เห็นด้วย จนเกิดความรุนแรงทุกรูปแบบในการต่อสู้ให้ได้มาซี่งแผ่นดินแห่งนี้

           ที่น่าทึ่งคือพวกเขาก่อร่างสร้างเมือง เปลี่ยนทะเลทรายทีแห้งแล้งให้เป็นพื้นที่การเกษตรเขียวชะอุ่มตรงตามพระคัมภีร์ไบเบิ้ลที่บกว่าพวกเขาจะกลับมารวมชาติและทำให้ดินแดนนี้มีชีวิตอีกครั้ง ...


                                                                       ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย

                                                                       

วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in Middle East II

      ชาวเติร์ก ตุรกีเชื่อว่าบรรพบุรุษของเขาคือชนเผ่าเติร์กกลุ่มหนึ่งซึ่งชาวจีนเรียกว่า "ชาวถูเจี๋ย" ดินแดนของถูเจี๋ยในยุคราชวงศ์ยังเลยขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือเล็กน้อย ถ้ามองจากแผนที่จะอยู่บริเวณด้านเหนือของทะเลทรายทากลามากัน ค่อนไปทางตะวันตก บทบาทและอิทธิพลของชาวเฟ่าถูเจี๋ยมีสูงมากในสมัยราชวงศ์สุยต่อมาเมือเปลี่ยนมาเป็นราชวงศ์ถัง ชาวถูเจี๋ยเป็นภัยคุกคามทางตอนเหนือย่างยิ่ง ถังไท่จง ฮ่องเต้ (หลีชื่อหมิน) ในเทโศบายผูกมิตรไว้ก่อนในช่วงแรกจนะมือรัฐบาลถงแช็.แรงพร้อมจึ้งก่อสงครามกับชาวถูเจี๋ยจนได้รับชัยชนะ ขับไล่ขาวถูเจี๋ยออกไปจากแดนซื่อวี๋ได้สำเร็จ



          ขาวถูเจี๋ยที่พ่ายศึกเดินทางผ่านเส้นทางสายไหม ผ่านยูเรเซียไปถึงที่ราบสูงอนาโตเลีย แล้วก็เป็นพรรพบุรุษของขาวเติร์กที่เป็นประเทศตุรกีในปัจจุบัน...

     (ข้อมูลเพ่ิมเติม : https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2487512331205007712)

          ชาวเปอร์เซ๊ย เป็นกลุ่มชนอิหร่านที่มีประชากอาศัยอยู่ในประเทศอิหร่านมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ โดยมีระบบวัฒนธรรมคล้ายกันและพูดภาษาเปอร์เซ๊ยเป็นภาษาแม่ เช่นเดียวกันกับภาษาที่มีความใกล้ชิดกับภาษาเปอร์เซ๊ย

           ในอดีต ชาวเปอร์เซียโบราณอพยพไปยังภูมิภาคเปอร์ซิส ใน ศตวรรษที่ 9 ก่นคริสต์กาล ซึ่งปัจจุบันอยู่ในจังหวัดฟอร์สที่อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอิหร่าน ในอดีตพกเขาเคยเป็นจักรวรรดิที่มีอำนาจมากที่สุดในโลก แล้วส่งอิทธิพลทางวัฒนธรรม การเมือง และสังคมไปทั่วดินแดนและประชกรในดโลกโบราณ ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ ชาวเปอร์เซียมีส่วนร่วมอย่างมากทั้งในด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมเปอร์เซ๊ยเป็นหนึ่งในแนววรรณกรรมที่โดดเด่นที่สุดในโลก

          ในศัพท์แบบปัจจุบัน ผุ้คนซึ่งอาศัยอยู่ใอัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน ในปัจจุบันถูกเรียกเป็น ชาวทาจิก ในขณะที่กลุ่มชนในคอเคซัส (ส่วนใหญ่อยู่ในอาเซอร์ไบจาน และ สาธารณรับคาเกสถาน ประเทศรัสเซีย) แม้ว่าจะุูกดูดกลืนทางวัฒนธรรมไปแล้ว ถูกเรียกเป็นชาวดัต อย่างไรก็ตาม ในอดีต คำว่า "ทาจิก"กับคำว่า "ดัต"เป็นคำที่มีความหมายพ้องกันและสามารถใช้คำว่า "เปอร์เซีย"แทนกันได้  อิทธิพลเปอร์เซ๊ยนอกอิหร่านขยายทางตะวันออกเฉียงเหนือไปถึงเอเซียกลางกับอัฟกานิสถาน และทางตะวันตกเฉียงเหนือไปถึงคอเคซัส...     

            ชาวเคิร์ต เป็นกลุ่มชนอิหร่าน ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคบนภูเขาของเคอร์ติสถานในเอเซียตะวันตก ซึ่งกินพื้นท่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน ทางเหนือของอิรัก และทางเหนือของซีเรีย โดยมีดินแดนส่วนแยกของชาวเคิร์ดในอานาโตเลียกลาง โฆรอซอน และคอเคซัส เช่นเดียวกันกับสังคมชาวเคิร์ดพลัดถิ่นในเมืองทางตะวันตกของตุรกี (โดยเฉพาะอิสตันบูล) แะยุโรปตะวันตก (โดยเฉพาะในประเทศเยอรมัน) ประชาชกรชาวเคิร์ด มีประมาณ สามสิบถึง สี่สิบห้าล้านคน

         


  ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาซาซา-โกรานี ซึ่งอยู่ในสาขาอิหร่านตะวันตกของกลุ่มภาษาอิหร่านในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และการพ่ายแพ้ของจักรวรรดิออดโตมัน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ทำข้อกำหนดสำหรับรัฐเคิร์ดตาสนธิสัญญาในสามปีต่อมา เพราะมีการแบ่งดินแดนตามสนธิสัญญาโลซาน ทำให้ชาวเคิร์ตมีสถานะเป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศใหม่ทั้งหมด


                                                                 ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย. OGR Online บางส่วนจากบทความ "เพราะตุรกีถือวาอุยกร์เป็นเพี่น้อยเลือดเดียวกัน"

                             


วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Ethnicity in middle east : Arab

          " ตะวันออกกลาง" ในภาษาอังกฤษ น่าจะมีกำเนิดในคริสต์ทศวรรษ 1850 ที่สำนักงานอินเียของบริติช อย่างไรก็ตาม ศัพท์กลายเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายเมือนักยุทธศาสตร์ทางเรืออเมริกัน อัลเฟรด เธเยอร์ มาฮาน ใช้คำนี้ใน ค.ศ. 1902 เพื่อ "กำหนดพื้นที่ระหวา่งอาระเบียกับอนเดีย ในช่วงทีจักรวรรด์บริติชและรัสเซีย กำลังแย่งชิงอิทธิพลกันในเอเซียกฃลาง การแข่งขันนี้จะกลายเป็นทีรู้จักในฐานะ The Great Game มาฮาน ไม่เพียงตระหนักถึงความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของภูมิภาคนี้เท่านั้น แต่ยังตะรหนักถึงอ่าวเปอร์เซีย ศูนย์กลางของบริเวณนี้ด้วย เขาระบุพื้นที่รอบอ่าวเปอร์เซียเป็นตะวันออกกลาง และกล่าวว่าเป็นดินแดนที่สำคัญต่อคลองสุเอชของอิยิปต์ ซึ่งเป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุดในการควบคมสำหรับอังกฤษ เพื่อป้องกันไม่ให้รัสเซ๊ยรุกคืบเข้ามายังบริติชราช


           ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นเรื่องปกติที่จะอ้างถึงพื้นี่ที่มีศูนย์กลางรอบตุรกี เป็นชายฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็น "ตะวันออกใกล้" ส่วน "ตะวันออกไกล" มีจุดศูนย์กลางที่จีน จากนั้นในช่วงปลายคริสทศวรรษ 1930 ทางอังกฤษ ได้จัดตั้งกองบัญชาการตะวันออกกลางที่มีศูนย์บัญชาการในไคโร สำหรับกองทัพในภูมิภาคนี หลังจากนั้น ศัพท์ "ตะวันออกกลาง" ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางทั้งในยุโรปและสหรัฐ โดยมีการจัดตั้งสถาบันตะวันออกกลางขึ้นที่ ดี.ซี. วอชิงตัน ในขณะที่ศัพท์ที่ไม่ได้อิงยุโรปเป็นศูนย์กลางอย่าง "เอซียตะวันตกเฉียงใต้" ก็มีการใช้อย่างประปราย

          ตะวันออกกลาง เป็นภูมิภาคทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ประกอบด้วย คาบสมุทรอาหรับ เอเซยน้อย (ตุรกีฝั่งทวีปเอเซีย ยกเว้น จังหวัดฮาทัย) เทรซตะวันออก (ตุรกีฝั่งุโรป) อียิปต์ อิหร่านกับลิแวนด์ (รวมอัชชามและไซปรัส) เมโสโปเตรเมีย (ปัจจุบันคือประเทศอิรัก) และหมู่เกาโซโดตรา(ส่วนหนึ่งของประเทศเยเมน) ศัพท์นี้เร่ิมมีการมช้งานอย่างแพร่หลายเืพ่อแทนที่คำว่า "ตะวันออกใกลเ้"(ตรงข้ามกับตะวันออกไกล) ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ตะวันออกกลาง" ทำให้เกิดความสับสนเกี่ยวกับคำจัำกัดความที่เปลี่ยนไป และบางคนมองว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ หรือมีคววามเป็นยุโรปเป็นศูนย์กลางเกิดไป ภ๔มิภาคนี้ได้รวมดินแนส่วนใหญ่รวมอยู่ในคำจำกัดควาทที่เกีี่ยวข้องอย่างใกล้ขิดของเอเซียตะวันตก (รวมอิหร่าน) แต่ไม่รวมคอเคซัสได้ และรวมทพืนที่ทั้งหมดของอียิปต์(ไม่ใช่เพียงภูมภาคไซนาย) และตุรกี (ไม่ใช่เฉพาะส่วนเทรชตะวันออก

           ประเทศในตะวันออกกลางส่วนใหญ่ 13 จาก 18 ประเทศ) เป็นส่วนหนึ่งของโลกอาหรับ ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในภูมิภาคนี้คืออียิปต์ ตุรกี และอิหร่าน ส่วนประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในตะวันออกกลาง ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลางสืบไปได้ถึงสมัยโบราณ โดยมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ของภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับมานับพันปี 

           "อาหรับ" หรือ "ชาวอาหรับ" เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในโลกอาหรับ คำว่า "อาหรับ" ในกลุ่มภาษาเซนิติก แปลว่า ทะเลทรายหรือผู้ที่อาศัยอยู่ในทะเลทราย (ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน) คำว่า "อาหรับ" จึงหมายถึง "เร่ร่อน" ได้ด้วย ในปัจุบัน คำนี้หายถึงผู้ที่าจากประเทศอาหรับซั่งมีภาษาพื้นเมืองเป็นภาษาอาหรับ ซึ่งแตกต่างจากคำจำกัดความดั้งเดิมที่มีความหมายครอบคลุมแต่ผู้สืบเชื้อยสายจากชนเผ่่าแห่งคาบสมุทรอาหรับ


           คำนี้ยังสามารถครอบคลุมถึงชนชาติที่พูดภาษาอาหรับทั้งหมดที่อาศัยอยู่ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของมอริเดเนีย ไปจนถึงแอฮ์วอซของอิหร่าน รวมถึงรัฐอาหรับในเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ แอฟริกาเหนือ จะงอยแอฟริกา หมู่เกาะในหาสุทรอินเียตะวันตก(รวมถึงคอโมโรส) และยุโรปไไต้( เช่น แคว้นชิชิบี มอลตา และคาบสมุทรไอบีเรีย) และประชากรจำนวนมากในทววีป อเมริกา ยุโรปตะวันตก อินโดนีเซีย อิสราเอล ตุรกี อินเดีย และอิหร่าน" 

                                                            ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Israel II

           คริสตศตวรรษที่ 7 ทั่วภูมิภาครวมทั้งเยรูซาเลม ถูกอาหรับที่เพิ่งเข้าอิสลมยึดครอง และเปลี่ยนแปลงระหว่าง รัฐเคาะลีฟะโ์รอซิดิน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะฮ์ ฟาดิมียะห์ เซลจุก ครูเซเตอร์ และอัยยูบิคในช่วงสามศตวรรษถัดมา

          ระหว่างการล้อมเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งที่ หนึ่ง(ครูเสด ครั้งที่ 1 https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/7978371754150860399) ผู้อยู่อาศัยในนครชาวยิวร่วมกันต่อสุู้เคียงบ่าเคียงไหลกับกำลังประจำ ที่ตั้งฟาดีมียะห์ และประชากรมุสลิมซึ่งพยายามปกป้องนครจากนักรบครูเสดอย่างไร้ผล เมื่อนครแตก มีผู้ถูกสงหารหมู่ประมาณ 60,000คน รวมทั้งยิวกว่า 6,000 คนที่ลี้ภัยในธรรมศาลาแห่งหน่ึ่ง ในเวลานั้นซึ่งล่วงเลยการล่มสลายของรัฐยิวมาครบ 1,000 ปี  มชุมชนยิวกว่า 50 แห่ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ อลเบิร์ตแห่งอาเดน ระบุว่า ผู้อยู่อาศัยในไฮฟา  ชาวยิวเป็นกำลังสู้รบหลักของนคร และ "ปะปนกับทหารซาราเซ็น (ฟาดิมียะห์" พวกเขาต่อสู้อย่างกล้าหาญเกืบเดือนจนถูกกอบทัพเรือและทัพบกนักรับครูเสดบับให้ล่าถอย

          ปี 1165 ไม่นอนีติซ เยือนเยรู่ซาเลมและสวดภาวนาบนเนินพระวิหารใน "สถานศักดิ์สิทธิใหญ่

           ปี 1141 กวีชาวสเปนเชื้อสายยิว เยฮูดา ฮาเลวี เรียกร้องให้ยิวย้ายไปยังแผ่นดินอิสราเอลซึ่งเขาเดินทางไปด้วยตนเอง

            ปี 1887 สุลตานเศาะลาฮุดดีน พิชิตนักรบครูเสดในยุทธการ ฮัททิน และต่อมายึดเยรูซาเลมและปาเลสไตน์เกือบทั้งหมด ในเวลานั้น "เศาะลาฮิดดีน" ออกประกาศเชิญชาวยิวให้หวนคืนและตั้งถ่ินฐานในเยรูซาเลม และยูดาห์ อัลฮารีซีระบุว่า "นับแต่อาหรับยึดเยรูซาเลม ชาวอิสราเอลก็อาศัยอยู่ที่นั่น

            ปี 1211 ชุมชนชาวยิวในประเทศเข้มแข็งขึ้นเมืองกลุ่มยิวจากฝรั่งเศสและอังกฤษกว่าสามร้อยคนเข้ามา ซึ่งมี "แรมไบเซมซัน เบน อับราฮัมแห่งเซนส์"แนคแมนีติช แรบไปชาวสเปนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13และผู้นำชาวยิวที่รับรองและยกย่องแผ่นดินอิสราเอลอยางสูงและมองว่านิคมยิวเป็นข้อบัญญัติแน่นอนที่มีผลต่อยิวทุกคน เขาเขียนว่า "หากผู้มิใช่ยิวประสงสร้างสันติ เราจักสร้างสันติและปล่อยพวกเขาไว้บนเงื่อนไขชัดเจน แต่สหรับเรื่องแผ่นดิน เราจักไม่ยอมปล่อยให้ตกอยู่ในมือพวกเชา หรือในดินแดนของชาติใด ไม่ว่าในอายุคนใด"

           ปี 1260 การควบคุมภูมิภาคปาเลสไตน์ตกเป็นสุลต่านมัมลุกอิยิปต์ (https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8356578481448851387

         ประเทศที่ตั้งอยู่ระหวางศูนย์กลางอำนาจของมัมลูกสองแห่ง คือ ไคโร และ ดามัสกัส และมีการพัฒนาบ้างตามถนนส่งจดหมายที่เชื่อมระหว่างสองนคร  เยรูซาเลมแม้ไม่มีการคุ้มครองจากำแพงนครไดๆ มาตั้งแต่ปี 1219 ก็มีโครงการก่อสร้างใหม่ๆ ที่ตั้งออยู่รอบมัสยิดอัลอักศอบนเนินพระวิหาร ในปี 1266 สุลต่านไบมาส์แห่งมัมลุกเปลี่ยนสภาพถำ้อัครบิดร ในฮีบรอนเป็นสถาที่คุ้มภัยของอิลามโดยเฉพาะและห้ามคริสต์ศษสนิกชนและยิวเข้า ซึ่งเดิมสามารถเข้าไดด้โดยต้องจ่ายยค่าธรรมเนียม คำสั่งห้ามีผลจนอิสราเอลเข้าควบคุมอาคารในปี 1967

          ในปี 1516 ภูมภาคนี้ถูกจักรวรรดิออกโตมัน พิชิต และอยู่ในการควบคุมของออตโตมันจนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1  เมื่อบริเตนพิชิตกำลังออกโตมันและตั้งรัฐบาลทหารขึ้นปกครองทั่วอดีตออตโตมันซีเรีย 

           ปี 1920 ดินแดนดังกล่าวถูกแบ่งระหว่างบริเตนและฝรั่งเสสภายใต้ระบบอาณัติ และพื่นที่ที่บริเตนบรหารราชการแผ่นดินซึ่งรวมอิราเอลสมัยใหม่ได้ชื่อว่า ปาเลสไตน์ในอาณัติ..

          

                                                        ข้อมูลจาก วิกิพิเดีย...

            

วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Herod The Great

     ในปี 63 ก่อนคริสตกาลพวกโรมันได้บุกโจตีเยรุูซาเลมและตั้งฮีร์คานุสเป็นกษัตริย์ แต่ฮีร์คานุสไม่ได้ปกครองเอย่างเอกเทศ พวกโรมันได้เข้ามาและไม่ถอนอิทธิพลออกจากดินแดนนี้ ฮีร์คานุสกลายเป็นผู้นไประชาชนที่ต้องปกครองภายใต้อำนาจของโรม และต้องพึ่งการสนับสนุนจากโรมเพื่อรักษาพัลลังก์เอาไว้ เขาสามารถจะบริหารจัดการเรืองภายในได้ตามที่ต้องการ แตะในเรื่องความสัมพันธ์กับชาติอื่นๆ เขาจะต้องทำตามนโยบายของโรม 

      ฮีร์ดานุสเป็นผู้ปกครองที่ไม่เข้มแข็ง แต่เขาได้รับการสนับสนุนจากอันทิพาเทอร์ชาวอดูเมัยซึ่งเป็นบิดาของเฮโรดมหาราช อันทิพาเทอร์เป็ฯผู้มีำนาจที่ให้การช่วยเหลืออยู่เบื้องหลัง เขาสามารถควบคุมพวกยิวกลุ่มต่างๆ ที่คิดจะต่อต้านกษัตริย์ได้ และในไม่ช้าตัวเขาเองก็มีอำนาจเหนือยูเดียท้งหมด อินทิพาเทอร์ได้สอนลูกของตนว่าไม่ว่าจะทำสิ่งใดก็ตามต้องอยู่ในความเห็นชอบของโรม ซ่ึ่งเฮโรดก็ได้จำคำสอนนี้ไว้เป็นอย่างดี เฮโรดในวัย 25 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการ และกลายเป็นที่ชื่อชอบของทั้งชาวยิวและชาวโรมันเนื่องจากเขาได้ปราบปรามกองโจรทั้งหลายอย่างแข็งขันให้หมดไปจากเขตปกครอง

       43 ปีก่อนคริสตกาลอันทะพาเทอร์ถูกวางยาพิษ เฮโรดกลายเป็นผู้อนาจมากที่สุดในยูเดีย และก็มีศัตรุูด้วยเช่นกัน ขุนนางในเยรูซาเลมถือว่าเฮโรดเป็นผู้ช่วงชิงอำนาและพยายมเกลี้ยกล่อมให้โรถอดเขาออกจากตำแหน่ง ความพยายามนี้ล้ำมเหลว โรมยังเห็นคุณความดีของอันทิพาะเทอร์และชื่นชมควาสามารถของเฮโรด

       เกิดการแย่งชิงอำนาจในาชบัลลังก์ของฮัสโมเนียนในปี 40 ก่อนคริสตกาล ฝ่ายสนับสนุนอาริสโดบุสที่ต่อต้านโรมันก็ทำสำเร็จด้วยความช่วยเหลือจากชาวปาร์เทยซึ่งเป็นศัตรูของโรม และเป็นห้วงเวลาเดียวกันกับที่โรมเกิดความโกลาหลวุนวายภายในเนืองจากสงครามกลางเมือง พวกเขาฉวยโอกาสโจมตีซีเรย ถอดถอนฮร์คานุส และแต่งตั้งสมาชิกของราชวงศ์อัสโมเนียคนหนึ่งที่ต่อต้านโรมขึ้นครองอำนาจ

      เฮโรดได้หนีไปโรม และได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น โรมยังคงต้องการดินแดนยูเดียกลับคือนมาจึงแต่งตั้งเฮโรดเป็นกษัตริย์แห่งยูเดีย ด้วยความช่วยเหลือจากกอบทหารโรมัน เฮโรดเอาชนะศัตรูในยูเดียและวงบัลลังคืนมาได้เขาแก้แค้นผุู้ที่เคยต่อต้านอยางโหดเหี้ยม เขากำจัดราชวงศ์ฮัสโมเนียนและเหล่าขุนนางชาวยิวที่สนับสนุนราชวงศ์นี้ รวมั้งใครก็ตามที่ไ่พอใจจะอยู่ใต้อนาจผู้ปกครองที่เป็นมิตรกับโรม

       ในช่วงหลายปีหลังจากนั้น เฮโรดได้สร้างความมั่นคงให้กับอาณาจักรของตนโดยทำให้กรุงเยรูซาเลมกลายเป็นศูสย์กลงวัฒนธรรมกรีก เขาได้ริเร่ิมโครงการสร้างขนาดใหญ่ เช่น ราชวังหลายหลัง เมืองท่าซีซาเรีย และพระวิหารในกรุงเยรูซาเลม ที่ประกอบด้วยสิ่งก่อรสร้างใหม่ๆ ที่ใหญ่โตหรูหรา ตลอดช่วงเวลานั้ นโวบายของเฮโรดมุ่งเน้นที่การรักษาความสัมพันธ์กับโรมซึ่งเป็นขุมกำลังของตน..

            จักรวรรดิโรมัน สืบทอดการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปิก่อนคริสตกาล-ศตวรรษทิ่1 ก่อนคริสตกาล) ซึ่งอ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่าง ไกอุส มาริอุสแลุซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่าง จูเลิยส ซิซ่าร์ และ ปอมปิย์ 

           จักรวรรดิโรมันมิดินแดนในครอบครองมากมายทั้งในยุโรป และ ตะวันออกกลาง และเอเซิยไมเนอร์ประชาชนทั่วไปท่ิอาศัยอยู่ในจักรวรรดิโรมันเริยกว่า ชาวโรมัน และดำเนินชิวิตภายใต้กฎหมายโรมัน  มความรุ่งเรืองถึงขิดสุดในจักรพรรดิทราจัน ด้วยชัยชนะเหนือ ตาเซย(ปัจจุบันคือประเทศ โรมาเนิยและมอลโตวา และส่วนหนึ่งของฮังการ บัลแกเรยและยูเครน) อทธิพลของโรมันได้ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านภาษา ศาสนา สถาปัตยกรรม ปรัชญา กฎหมายและระบการเมืองมาจนถึงปัจจุบัน

             จักรวรรดิถูกแบ่งออกเป็นฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออกในสมัย จักรพรรดิไดโอคลเซยน ปละถือเป็นการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในช่วงเวลปิ ค.ศ. 476 เมื่อจจักรพรรดิโรมลุส เอากุสตุส จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกถูกขับไล่และเกิดการจลาลจข้นในโรม อย่างไรก็ตาม จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ ก็ได้รักษา กฎหมาย ขนบธรรมเนิยมประเพณิแบบ กริก-โรมัน รวมถึง ศาสนคริสต์นิกายออโธดอกซ์ไว้ได้อกสหัสวรรษต่อมา จนการล่มสลายเมือครั้งเสิยกรุงคอนสแตนติโนเปิล ให้กับจักรวรรดิ ออตโตมัน ใน ป 1453...

           

                              -                                ข้อมูล จาก วิกิพิเดีย


Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...