วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2567

October War;

           เมื่อเหตุกาณ์การปะทะกันระหว่างกองโจรปาเลสไตน์ และรัฐบาลจอร์แดนซึ่งเรียกว่า เหตุกาณ์ แบ็ก เซฟเทบเบอร์ (ๅBlack September)  ได้สิ้นสุดลง ในเดือนกันยายน 1970 เป็นเวลาเดียวกับที่ประานาธิบดีนัสเซอร์สถึงแก่อาัญกรรม "อันวาร์ ซาคัท ผู้ซึ่งชอบความประนีประนอม คนทั่วไปมักปเรียบวา ซาคัทป็นชาลี แชปลิ้น ที่มาแสดงบทบาทของ เจมส์ บอนด์ เข้าขึ้นครองตำแหน่งท่ามกลางสรพันปัญหา แต่ก้สามารถเป็นผู้ปกครองที่แท้จริงของอิยิต์ การต่อสุ้ของซาคัททำเพื่อรักษาตำแหน่งของตนเองและเพื่อแก้ปัญหาในอีิยิปต์ แต่ก็มีัการวิพากษ์วิจารณืวว่าอีิยิปต์อยุ่เบ้องหลังสงครตามระหว่าอาหรับกับอิสราเอลครั้ต่อมาซึในเดือน ตุลาคม ปี 1973 


           ขณะที่เหตุการความขัดแย้งในปาเลสไตน์ได้รับความสนใจจากประชนเป็นอยางมาก ระว่ารงปี 1972-1973 รัฐบาลอาหรับทั้งหลายต้องเผชิญกับปัญหาการโจมตีกันตลอดระยะเวลาดังกล่าว เช่น อิสราเอลโจมตีเลบานอน มกราคม 1972 อาหรับโจมตีทีมโอลิมปิกของอิสราเอลอยางรุนแรงที่เมืองมิวนิค กันยายน 1972 และอิสราเอลยิงเครื่องบินลิเบียพร้อมผุ้โดยสาร 108 คน  ในเดือน กุมาภาพันธ์ 1973 และอิสราเอลใช้หน่วยคอมมานโดยิงเมืองเบรุตในเดือนเมษายน 1973 ทำให้สัญญาการพักรบชั่วคราว ปี 1970 เกิดการสั่นคลอน เนื่องจากความล้มเหลวของ๕ระกรรมการจากอเมริก อิยิปต์จึงพยายามหาทางให้ได้รับควาข่วยเหลือมาขึ้นจากโซเวียตเพื่อการคงอยู่ของกำลังทหารและกองทัพ แต่โซเวียตก็ให้ความช่วยเหลือได้เพียงเล็กน้อย ขณะเดียวกันอิสราเอลก็ไม่เต็มใจที่จะทำข้อตกลงยินยิมใดๆ ณะที่อเมริกายังแสดงท่าที่ที่เยือกเย็นแะเหนห่างจากอียิปต์ แต่สนับสนุนอิสราเอลอย่างเต็มที่ 

            อิยิปต์ต้องสูญเสียแหล่งน้ำมันใน้แก่อิสราเอล คลองสุเอลถูกปิด ค่าใช้จ่ายสในการรักษาความปลอดภัยสูงมากประมาณมากว่า 25% ของรายได้ของประเทศ และยงมีการทำรัฐประหารเกิดขึ้นในประเทศถึง 2 ครั้ง การวิพากษืวิจารณืในปมุ่คนหนุ่มหัวรุนแรงก็เพ่่มมากขึ้นเรื่ยๆ แม้แต่ในหมู่ผุ้ที่รู้คำตอบก็ยังอดสงสัยไม่ได้ว่าทำไมทั้งที่ อิยิต์มัีกองทัพใหญ่ฝโตมีอาวุธพร้อมแต่หตุใดรับบาลจึงยินยอมให้มารยึคดพื้นที่ กว่า 26,000 ตารางไมล็ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างจากมืเงอหลวงเพียงไม่ถึง 100 ไมล์

           อียิปต์ได้รับการช่วยเหลือจากรัศเซีย โดยชาวรัศเซียต้องการให้ตนมีอิทธิพลต่อโลกเอเซีย-แอฟริกา แต่อย่างไรชาวรัสเซียก็มิได้ทำเช่นนั้นเพราะจะก่อให้เกิดคามตึงเครียดอย่างมากกับอเมริกา ดังนั้นเมือประธานาธิบดี ซาคัทเดินทางไปเยือนมอสโกในเดือนกุมภาพันธ์ 1972  เพื่อขอาวุธใหม่ จากรัศเว๊ย เขาจึงได้รับการปฏิเสธ แม้ในการเดินท่างไปเยือนในครั้งก็ได้รับการปฏิเสธอีกเช่นกัน  และการเดินทางไปมอสโกครั้งที่โดยส่งนายกรัฐมนตรี ดร. ฮาซีซ วซิดโก เดินทางไปมอสโกด้วยจุดประสงค์เดิม ก็ถูกปฏิเสธอีกเช่นเดิม  ประธานาธิบดี ซาคัม ซึ่งทั้งโกระและผิดหวังจึงสั่งให้ถอนทหารชาวรัสเซียกว่า 40,000 นายออกไปจากประเทสทันที และได้ส่งกอทัพอียิปต์ไปควบคุมฐานต่างๆ ของโซเวียตที่เคยอยู่ในอียิต์ 

         


   อิสราเอลยังคงดำเนินนโยบายแข็งกร้าวต่อไป นางโกลเดอร์ แมร์ นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ตั้งเจตุจำนงไว้ 5 ประการ คือ 

                - การรักษาพื้นที่ทั้งหมดของที่ราบสูงโกลันในซีเรีย

                  - การมีสิทธิในการปกครองเหนือพื้นที่ฝั่งตะวันตก (เวสท์ แบงค์ แอเรีย) และมีอำนาจเหนือประชาชนอาหรับที่อาศัยอยุ่ที่นั่น 

                    - การมีอิทธิพลเหนือน่านน้ำเมดิเตอร์เรเนียน

                     - การรักษาฉนวนกาซา

                     - การรักษา ชาม เอล ซิค  และเส้นทางภายนอกที่เชื่อมกับอิสราเอล

                     อิสราเอลไม่สนใจต่อการเจรจาที่ยุติปัญหาใดๆ ทังสิ้น และไม่ไม่มีทีท่าจะยอมรับข้อเสนิของอียิปต์

                     .ในวันที่ 8 ธันวาคม 1972 สมัชชาใหญ่ออกเสียง 86ต่อ 7 โดยไม่ให้สมาชิกจัดหาเงินช่วยเหลือิสราเอล เพราะเงินดังกล่าวจะช่วยให้อิสราเอลสามารถรักษาดินแดนที่ยึดครองไว้ได้นาน  อยางไรก็ตามสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนใหญ่ได้ออกเสียงต่อต้านมาตรการของสมัชา

                    อิยิปต์เบือกใช้วิธีการทางการทูตและแนนอนวาจะต้องเปิดทางไปสู่สงครามอย่างแนนอน วิธีการนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของนโยบาย Forward Policy มีเหตุการหลายอย่่างที่ชี้ให้เห็นว่าอิยิปต์พร้อมทำสงคราม คณะทูตพิเศษของอียิปต์ที่เดนทางไปตามเมืองหลวงของประเทศต่างๆ ล้วนได้รับการต้อนรับด้วยคำพูดที่แสดงความสงสารและเห็นอกเห็นใจ

                     อิสราเอลพิจารณาเห็นนดยบายอันก้าวร้าวทางการทูตของอียิปต์ จึงโต้ตอบดดยย้ำเน้นถึงวิถีทางที่แข็งแกร่งต่อไป  อิสลาเอล พิจารณาเห็นว่า ด้วยเจตจำนงของอิสราอล อาจไม่เติมเต็มด้วยสันติภาพ นดยบายของอิสราเอลจึงเป็นไปในทางลบ นั้นคือ ทำให้ความหวังของกำลังอาหรับต้องต้องพังทลาย ความหวังจะได้รับความคุ้มครองของรัสเซียและ ความหวังที่สหประชาชาตคิจะเข้ามาแทรกแซง ถ้ากอหาหรับถูกขัดขวางและถูกบังคับให้จนมุม  ชทวอาหรับก็คงตระหนักดีว่าการเชผลิญหน่ากับอิสราเอลเป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

                   ซาคัด ก็ตระหนักดีในเรื่องดังกล่าว เขากล่าว่า เขารุ้สึกว่าสงครามจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายใน


เวลา 2-3 เพือนนี้ แม้แต่ผุ้สังเกตุการณ์ที่มีความีคุ้นเคยกับตะวันออกลางและรัสเวียก็มีควารมเห็นไปในทิศทางเดียวกัน ขณะที่ความคึงเครียดกำลังเพ่ิมมากขึ้น  ข้าราชการชาวรัสเซียได้เตือนผุ้มีส่วนร่วมชาวอเมริกันดยเน้นถึงคำภามประเด็นหนึ่งว่่า ไสงครามจะเกิดขึ้นเมือไรและจะต่้อสุ้กันเพื่อคุนค่าอะไร"

                   ความก้าวร้าวทางการทูต เกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม เมือสามาชิกคณะมนตรีความมั่นคงจำนวน 13 คน จาก 15 คนได้ออกเสียงแสดงความเสียใจที่อิสราเอลยังคงยึดครองดินแดนของอาหรัต่อไป จึงไม่ออกเสียงขณะที่อเมริกาออกเสียงคัดค้านผลสรุป สำหรับอาหรับดุเหมือนว่าจะใช้ทางเลือโดยวิธีทางการทูตถูกปิดกั้นลง และความสามารถของพวกเขาในการบังคับใช้มติ 242 จะต้องถูกตัดเพราะการคัดค้านของอเมริกา  

                 จากเหตุการดังกล่าว นายเดวิด โฮลเดน รายงานจากลอนดอน ออฟเซิฟเวอร์  แบับวันที่ 29 กรกฎาคม 1973 ว่า "ชาวอิสราเอลโต้เถียง..และชาวอเมริกาสนับสนุนพววกเขา..ถ้าพวกอาหรับถุกตัดสิทธิทางเลือกทั้งหมด..พวกเขาก็จะเก็บความภาคภูมิใจเอาไว้ในใจและยอมรับความจริงว่ อิสราเอลมีอำนาจสุสุด" 

                 ขณะเดียวกัน การจัดหาอาวุธจาโวเวีตได้เริ่มมาถึง ซีเรียได้รับคำสัญญาในเดือนพฤษภาคมว่าจะไดรับเครื่องบินต่อสู้อากาศยาน มิกซ์ 21 จำนนมากละรวมทั้งจรวดต่อสู้อากาศยานด้วย ในปี 1973 ซีเรียได้รับความช่วยเหลือประมาณ 200 ล้านดอลลาร์ ขณะเดียวกันยูโกสลาเวียก็ได้เริ่มให้เครื่องบินต่อสู้อากาศยานใหม่แก่อิยิปต์อย่างเงียบๆ 

                   ปลายเดือนมิถุนายน ประธานาธิบดีซาคัทและประธานาธิบดีอัสซัดแห่งซีเรยได้ร่วมกันจึดตั้งแนการรบ อีิยปต้องเป็นผุ้มีส่วนร่วมที่อาวุโสที่สุดและซีเนียต้องจำกัดจุดประสงของตนเพื่อที่จะกระทให้สองคล้องกันเ ในทีุ่สุดอิยิปกไนกดวันที่ 8 ตุลาคม วซึ่งเป็นวันไม่เพียงแต่อากาศดี พระจันทร์เต็มดวงเท่านั้นแตยังเป็นวันที่มีความสำคํยทางศาสนาอีกด้วย เป็นวันที่พระมะหะหมัดเร่ิมเตียมแผนกาณ์สำหรับการรบครั้งแรกที่สำคัญที่สุดของอิสลาม นั้นคือ  "การสงครมแห่งบาตร์ไ ซึ่งได้ชัยชนะหนือเมกกะ

               


  อิสราเอลเปิดฉากสงครามในวันที่ 13 กันยายน กองกำลังอากศปฏิบัติการปฏิบัติการนอกชายฝั่งซีเรียและยิงเครื่องบินซีเรียตก 8 ลำ  ประธานาธิบดีซีเรยกล่่าวว่าการกระทำของอิสราเอลเป็นการท้าทายอย่างก้าวร้าวและกล่าวว่าสงครามได้เร่ิมต้นขึ้นแล้ว 

                  เป็นที่น่าสังเกตวาแผนการณ์สำหรับการปกิบัติงานทางทหารในสงครามเดือนตุลาคมนั้้น อิยิปต์ไม่ได้มีความคิดวาพวกเขามีความสามารถเอชนะอิสราเอลได้ ฝีมือที่ไม่เสมอกัน ระหว่างอหาอาหรับและอิสราเอลซึ่งเห้นมาแล้วในสงครามปี 1948 ก็ยังคงเป็นอยู่อย่างนั้น ตลอจนความไม่เขั้นพื้นฐาน อิสราเอลป็นประเทศที่เจริญก้าวหน้า ส่วนอาหรัีบเป็นประเทศที่ยากจน้าหลังและยังไม่พัฒนา

                   ผุู้้สังเกตุการเชื่อว่าอิยปิต์ต้องการให้มหาอำนาจเข้าแทรกแซงอย่างน้อยก็ในระยะแรกของสงคราม ดังที่หนังสือพิพม์ ซันเดย์ ไทมส์ ทีม ได้วิเคราะห์เหตุกาณ์ดังนี้ 

                  " คิงซิงเจอร์ต้องการให้อิสราเอลพ่ายแพ้แต่อยุ่ในขอบเขตจำกัด แต่ก็ใหญ่พอที่จะสร้างความพอใจให้แก่อาหรับ และทันสมัยพอที่จะทำให้หมดข้อสงสัยในชัยชนะของการโฆษณาชวนเชื่อสหรับรัสเซีย สุขุมพอที่จะสามารถนำอิสราเอลมาสู่การประชุม และน่าเชื่อถือได้พอที่จะหลีกเลืี่ยงการพังทลายของรัฐบาลของนางแมร์"

                   ในวันที่ 16 ตุลาคม ประธานาะิบดี ซาคัท เร่ิมต้นการเจรจาเพื่อสันติแต่ในขณะเดียวกัน ซาคัทไม่รุ้ว่่าอิอสราเอลทำลาแนวป้องกันของอิยปต์เพื่อหาทางข้ามคลองบริวณทิศใต้ของเมืองอิสไมเลีย และเพื่อให้แนวป้องกันของอียิปต์ถูกตัดขาดจากหน่วยกองกำลังที่ 3 อิสราเลมีัชัยชนะเเหนือกองทัพอิยิปต์ทางภาคใต้

                 อิหร่าน ประกาศว่า สมาชิก กลุ่ม "เปอร์เซีย


 น กลัฟ" แห่งโอเปค ซึ่งเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันได้มาพบกันที่คูเวตเพื่ออภพปรายถึงปฏิกริยาของวพวกตนต่อวิกฤตกาลของตะวันออกกลาง ผุ้เแทนของอิหร่านซึ่งเป็นประเทศสำคัญที่จัดหาน้ำมันให้แก่อิสราเอลก็ได้เข้ามีส่วนร่วมในการประชุมด้วย อย่างไรก้ตาม แม้ว่าอิหร่านจะม่ชอบการควำ่บาตร แต่สถากาณ์ก็ทำให้นำ้มันทีราคาสูงขึ้น  และอิหร่านก้เตรียมพร้อมที่จะมีสัมพันธ์อันดีกับประเทศอาหรับเพื่อนบ้าน ไมนัส ปรธานชาวอิหร่านนผุ้ซึ่งได้ออกจากรประชุมก็ออกเสียงให้หยุดส่งน้ำมันจนกว่ามติ 242 ข้อของคณะมนตรีความมั่นคงจะถูกนำมาสช้

                 ซึ่งมีอานุภาพเป็นอย่างมาก ดยางไรก็ตาม ตลอดวิกฤต รัฐบาลซาอุดิอาระเบียคัดค้านการขึ้นระคาน้ำมันเพราะซาอุดิอาระเีและอเมริกามีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มีเพียงญี่ปุ่นและฮอลันดาที่มีความสัมพันะ์ทางการค้ากับอิสราเอล และโปรตุเกสซึ่งเป็นศัตรูสำคัยของลัทธิชาตินิยมแอริกาที่ไม่ให้ใช้วิธีที่รุนแรง แต่ะจะมีประเทสใดที่จะเข้าช่วยเหลือชาติอาหรับ 

  พระเจ้าไฟซาแห่งซีเรียส่งรัฐมนตรีต่างประเทศ ไปพบประธานาธิบดีนิกสันเพื่อกรุตุ้มนให้อเมริกาช่วยยิติปัญหาในตะวันออกกลาง หลังจากนั้นไม่นานทำเนีบขาวได้ข้อ้องสภาคองเหรสตั้งวบประมษรช่วยเหลือกองทัพอิสราเอล พระเจ้าไฟซาลแห่งซีเรรยไม่พอใจอย่างมากจากการกระทำของอเมริกา จึงงดส่งน้ำมันทั้งหมดสุ่อเมริกา

                การเผลิญหน้าทางการทุตและเศราฐกิจระหว่างอาหรับกับมหาอำนาจเป็การบั่นทอนฐานะทางทหารของอิยิปต์ และการเผชิญหร้าดังกล่วเป็นการเชื้อเชิญทั้้ง รัสเซีย และอเมริกเข้ัาแทรกแซงวิกฤตกาลในตะวันออกกลาง

                ทั้งอเมริกาและโซเวียตสนับสนุนมติของคณะมนตรีความมั่นคง โดยขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติกิจกรรมทางทหารอยางทันที และเร่ิมต้นใช้มติที่ 242 ของคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนั้นคณะมนตรีความมั่นคงยังเรียกร้องให้ทุกฝ่ายเริ่มหาทางเจรจาเืพ่อสร้างความยุติธรรมและสันติภาพอย่างถาวร สงครามแนวรบอิยปิปต์ค่อยๆ ลดลง และ แนวรบซีเรียหยุดยิงในเพื่อนพฤษภาคม 1974

                สงครามในครั้งนี้ทำใหป้ระวัติศาสตร์อาหรับเปลี่ยนไป และในที่สุดก็ปรากฎชัดว่าชาวอาหรับมีความสามารถโดยปราศจการทำให้ต่ำต้อยและความอ่อนแอในอดีตที่ผ่านมา เพื่อที่จะกลับไปแก้ปัญหาด้านสังคม เศรษฐกิจและมีความหวังในภายภาคหน้า...

               

                              ที่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-8.pdf

               

             

วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2567

War_Guerrilla Warfare_Terrorism...

            สงคราม 6 วัน ในเวลาเพียง 2 ชัวโมง ภายหังวันที่ 5 มิถุนายน 1967 กองทัพอากาศอิสราเอก็ยึด


พื้นที่และทำลายกองทัพอากาศของอียิปต์ ตาทที่ถูกคาดไว้กองทัพอิสราเอลเป็นเจ้้าทางอากาศ กองทัพอิยิปต์ในคาบสมุทรซีนายต้องพ่ายแพ้อิสราเอล ตั้งอกงทัพอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ รัฐบาลอิสราเอลพยายามขอให้จอรืแดนหยุดการยิง โดยเสนอสันติภาพที่แบ่งแยกอย่างเป็นทางการ แต่รัฐบาลจอร์แดนไม่ยอมรับ และยังคงยิงต่อไป ด้วยเหตุนี้ กองทัพจอร์แดนจึงถูกขับไล่กลังไปสู่แม่น้ำจอร์แดน ภายหลังการรบ อิรัก ซาอุดิิาระเบีย และเลบานอนมิได้มีส่วนร่วมโดยตรงในสงคราม และในที่สุดซีเรียก็กลายเป็นเป้าสำคัญ การรบบริเวณที่ราบสูงโกลน กองทัพซีเรียถูกอิสราเอลทำลาย 

   (สงคราม 6 วัน https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/9073098745535646513 )

               ่เมื่อสงครามยุติลง  อิสราเอลควบคุมพืนที่จำนวนมาก โดยได้ส่วนหน่งของซีเรีย จอรืแดน และอิยิปต์ที่ซึ่งมีัชาวอาหรับกว่า 150,000 คนอาศัยอยู่ อย่างไรก็ตาม

               อิสราเอลเร่งทำโครงการ "Arab Jerusalem with Jewish inhabitants" พื่อยืนยันว่าทุกส่วนของเยรูซาเลมจะยังคงเป็นส่วนหนึ่งของอิสราเอลตอดไป "ถ้าเมืองนี้เป็นเมืองหลวงของเรา ดังนันเราต้องทำให้เป็นหน่วนเดียวกับประเทศของเราและเราต้องการให้ประชาชนชาวยิวทำสิ่งนั้น" เพื่อบรรลุเป้ารหมาย อิสราเอลจึงเร่ิมยึดพื้นที่ทั้งหมดของเยรูซาเลมเข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งอิสราเอลเยรูซารเลมนครรศักดิ์สิทธ์จงึงตกป็นของอิสราเอลอีกครั้งหนึ่ง

                อิสราเลพยายาทมที่จะทำให้ชุมชนอาหรับที่อาศัยอยู่ภายในอิสราเอลป็็นกลาง ทั้งอาหรับที่เป็นพลเมืองของอิสราเลและอาหรับที่อาศัยอยุ่ในดินแดนภายใต้การยคึครอง อุปสรรคดังกล่าวดังกล่าวอิสราเอลป็นผู้กระทำเอง กล่าวคืออิสราเอลใมักจะประกาศตนเองว่าเป็นยิว เป็นประเทศที่ยิวทั้งโลกมีความสัมพันธ์กันในขณะที่อาหรับบางคนเตรียมที่จะกลืนชาวยิว จะเห้ฯได้จากผุ้ชายอาหรับนับพันที่แต่างงานกับผู้หญิงยิว

             
 จุดที่อันตรายที่สุดคือ ฉนวนกาซา ที่ซึ่งมีประชาชนลัี้ภัยจำนวนมากอาศัยอยุ่ ภายต้การควบคุมขององค์การกองโจร (ผุ้แทนระดับท้องถ่ินของอาหรับ) องคก์การนี้มีการติดต่อเล็กน้อยกับองค์การสำคัญๆ ใอัมมันและเบรุต ที่ซึ่งอิสราเอลสามารคควบคุมได้ 

               สงคราม จากอดีตถึงปัจจุบัน เมือรัฐมีข้อขัดแย้งต่อกันจะยุตปัญหาด้วยวิธีการ 2 ประเการคื อการแก้ไขความขัดแย้งด้วยวิธีการใสช้กำลัง และการแด้ไขความขัดแย้งด้วยวิธีการบีบบังคับ

              การแก้ไขความขัดแย้งด้วยวิธีการใช้กำลัง คือการใช้สงครามเป็นการยุติข้อขัดแย้งระหว่างรัฐ  อย่างไรก็ตามสงครามอาจแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 

                 - สงครามเบ็ดเสร็จ เป็นสงครมามระหว่ารัฐต่อรัฐ ต่างมีจุดประสงค์ที่จะทำลายอีกฝ่ายโดยทุกวิธีการ  ใน้อาวุธทุกรูปแบ รวมถึงการใช้อาวุธนิวเคลียร์ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 จัีดเป็นสงครมมเบ็ดเสร็จ

                   - สงครามทั่วไป เป็นสงครามระหว่างรัฐต่อรัฐ ต่างมีจุดประสงค์จะทำลายอีกฝ่าย แต่จะไม่ใช้วะธีการหรืออาวุธทุกรูปแบบ


                    - สงครามจำกัดเขต เป็นสงครามระหวางรัฐต่อรัฐแต่มีเป้าหมายจำกัด แต่ละฝ่ายจะใ้กำลังของตนเองบางส่วน และโยปกติจะจำกัดบริเวณของการทำสงครามด้วย อาทิ สงครามเกาหลีเป็นสงครามมที่จำกัดพื้นที่ในการสู้รบ รวมถึงอาวุธที่จะำมาใช้ กล่าวคือ จะไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ หรืออาวุธที่มีอานุภาีทำลายล้างสูง

                     - สงครามปฏิวัติ เป็นสงครามของฝ่ายที่เป็นรัฐบาลกับฝ่ายที่ไม่ได้ป็นรัฐบาล ฝ่ายรัฐบาลพบาบามจะจำกัดหรือกำจัดฝ่ายตรงกันข้ามเท่าที่ฝ่ายรัฐาลมีอไนาจอยู่ ฝ่ายที่ไม่ได้เป็นรัฐบาลก็พยายามจะต่อสู้ใช้กำลังเพื่อเข้ัายึดอำนาจรัฐ

                   การแก้ไขข้อขัดแย้ง หลังคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้เปลี่ยนแปลงไป หลังจากสงครามดลกครั้งที่ 2 โลกต้องตระหนักว่า ผลของสวครรมสร้างความสูญเสียแก่มนุษย์ และชาวโลกเป็นอยางมาก ดังนั้น ในยุคใหม่ แนวคิดการทำสงครามขนาดใหญ่จึงเปลี่ยนแปลงไป ดดยจะใช้วิธีการบีบบังคับเพื่อยุติข้อขัดแย้งแทนที่จะใช้วธีการทำสงครามเช่นในอดีต

                   เมื่อสันติวะฺีไม่สามารถยิติข้อขัดแย้งได้ เพื่อเป็นการลงโทษผุ้กระทำผิดโดยไม่มีการประกาศสงคราม จึงใชัวิธีการบับบังคับ แย่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 

                       - รีทอร์ชั้น เป็นวิธีการที่รัฐหนึ่งกระทำต่อรัฐหนึ่ง เป็นการป้องกันตนเองโดยสิทธิของกฎหมายระหวางประเทศ อาทิ การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต การยกเลิกสิทธิพิเศษเกี่ยวกับภาษีศุลการกร เป็นต้น

                        - รีไพรซอล เป็นการฃงโทษของรัฐหนึ่งกับอีกรัฐหนึ่งเช่น การยึดทรัพย์สินของรํบผุ้ก่อคามเสียหาย การบอยคอต การควำ่บาตรหรือเอมบาร์โก หรือการห้ามเรือเข้าหรืออกจากเมืองท่า การปิดล้อมทางทะเลอย่างสันติ

                   สงครามกองโจร เป็นรูปแบบการทำสงครามขนาดเล็ก ไม่มีการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ เป็นลักษณของการต่อสู้ระว่างผุ้มีอนาจน้อย มีกำลังน้อยกว่่าใช้ต่อสู้กับผู้อำนาจและกำลังทที่มากกว่า การปฏิบัติการของสงครามกองโจรปรากฎให้เห็นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จากสมัยสงครามนโปเรียนจนถึงสงครามเย็น สงครามกองโจรถูกนำมาใช้เป็นการต่อสุ้รูปแบบหนึ่งร่วมกับการทำสงครามเต็มรูปแบบ

                    ยุทธศาสตร์กองโจร เนื่องจากสงครามกองโจรมีสภาพเป็นเครื่องมือของฝ่ายที่มีกำลังนั้ยอต่อต้านกองทหารของรํบ ดังนั้นยุทธศาสตร์กองโจรจึงต้องมีการกำหนดวิธีกาต่อสุ้ตายตัว ดดยเร่ิมต้นจะต้องมีองค์การที่มีระเบียบวินัยเฉีัยบขาด มีการฝึกบุคคลอยางยอดเยี่ยมเตียมแผนสำหรับการหนีและต่อสู้อยางดี และการยึดชัยภูมิที่ดีที่สุดสำหรับหลบซ่อนและป้องกันฐานที่มั่นคงของตนเอง การรบหรือการต่อสุ้ในรูปแบบสงครามกองโจรถูกนำมาใข้มากในช่วงสงครามเย็น

  ภาพของสงคามกองดจรดูจะเลื่อหนายไปเมือทศวรรษที่ 1980 โดยภาพของการก่อวินาสกรรมและการก่อการร้ายปรากฎเข้ามาแทนที่ ในช่วงทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21 

                    ขบวนการก่อการร้าย ปัจจุบันไม่ป็นแน่ชัดว่าลัทะิก่อการร้ายมีความหมายอ่างไร นักวิชาการพยายามใช้คำนิยามซึ่งมากกว่า 100 ความหาย แต่นักวิชาการส่วนใหญ่ยงคงเห็นว่าคงไม่อาจให้นิยามการก่อการร้ายที่จะครอบคลุมการก่อการ้ายประเภทต่างๆ ในประวัติศาสตร์ได้ อย่างไรก็ตามอาจะป

                     กลุ่มผุ้ก่อการร้าย ในสายตาประธานาะิบดี บุช ผุ้นำสหรัฐอเมริกา กล่าว่า กลุ่มผุ้ก่อการร้ายที่รร้ายที่สุด คือ กลุ่มอัล กออิดะห์ หรือ อัล เคดา ที่มี อุสมะ บิน ลาเดน เป็นผุ้นำ ส่วนกลุ่มผุ้ก่อการร้ายอื่นๆ ที่ถูกจับตามองเป็นพิเศษจากอเมริกา ได้แก่กลุ่มหัวรุนแรงมุสลิมในตะวันออกกลาง มีดังนี้ 

                    - กลุ่มจีฮัด  ก่อตั้งเมือง ปี 1980 สหรัฐกล่าวหาวาอิหร่าน เป็นผุ้ให้การสนับสนุน กลุ่มนี้ประกาศจะใช้อาวุธต่อสุ้กบอิสราเลอ

                     - กลุ่มฮามาส ก่อตั้งเมือประมาณปี 1987  หลังจาการเร่ิมต้นลุกฮือต่อต้านอิสราเอล กลุ่มนี้มีเป้าหมายต่อสุ้ขับไล่ยอิสราเอลและสภาปนารัฐอิสลามของปาเลสไตน์

                      / กลุ่มอิสลามิก จีอัด (ใหม่) ก่อตั้งขึ้น(ใหม่) ประมาณปี 19083 กลุ่มนี้นิยมอิหร่านกล่าวกันว่าเป็นหลุ่มที่เชี่ยวชาญในการก่อการร้ายทุกรูปแบบ กลุ่มนี้ได้อ้างความรับผิดชอบในการดำเนินการโจมตีสถานทูต กองบัญชาการทหารอเมริกาที่กรุงเบรุต รวมถงกองบัญชาการฝรั่งเศสในพื้นที่เีดยวกัน

                      - กลุ่มเฮชบบอลเลาะฆ์ ก่อตั้งเมือปี 1984 มีฐานที่มั่นอยู่ในเลบานอน อิหร่านถูกคาดว่าเป็นผุ้ให้การสนับสนุนกลุ่มก่อการร้ายกลุ่มนี้ กลุ่มเฮชบอลเลาะห์เป็นผู้ต่อต้านอิสราเอลในการยึดครองตอนใต้ของเลบานอล


                   ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI405(48)/hi405(48)-11.pdf

                             http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-6.pdf

                             วิกิพีเดีย

วันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Cold War Arab : The Suez Crisis

         สงครามเย็นอาหรับ เป็นการแข่งขันทางการเมืองในโลกอาหรับ ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1950 ถึงปลาย
ทศวรรษ 1970 และเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น เป็นที่ยอมรับกันว่าโดยทัั่วไปว่าจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นอาหรับเกิดขึ้นจากการปฏิวัติของอิยิปต์ในปี 1952 ซึ่งทำ กามาด อันเดล นัสนเซอร์ เป็นประธานาธิบดีของอียิป หลังจากนั้น สาธารณรัฐอาหรับ อาตกล่าวได้ว่าเป็นผลจากการปฏิวัติอีิยปต์และลัทธิชาตินิยม ซึ่งมีส่วนรวมในการแข่งขันทางการเมือง ระหว่างสถบันกษัตริยอาหรับอนุรักษ์นิยมแบบอนุรักษ์นิยม((แนวคิดเกี่ยวกับชาติวัฒนธรรมประเพณีอนุสัญญาและประเพณีไ้รัการเน้นย้ำอย่างมากในลัทธิอนุรักษ์นิยมแบบอนุรักษ์นิยม เหตุผลทางทฤษฎีถือได้ว่ามีความสำคัญรองจากหตุผลเชิงปฏิบัติ รัฐบังถูกมองว่าเป็นความพยายามทางสังคมที่มีลักาณะทาง จิต วิญญาณและอินทรีย์ นักอนุรักษนิยมคิดว่าการเลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้นเองตามะรรมชาติจากประเพณีของชุมชนมากกวาเป็นผลมาจากการไตร่ตรองอยบ่างรอคอบและมีเหตุผลความเป็นผู้นำ อำนาจและลำดับชั้น ถูกมองว่าเป็นเรื่องปกติสำหรับมนุษย์  เกิดขึ้นในยุโรปตลอดศตวรรษที่ 18) ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ซาอุดิอราเบียและการปฏิวัติอิหร่ารนในปี 1979 และการขึ้นครองราชของ อยาดุลลอย รูฮฺฺลลอฮ์ โคไมนี ในฐานะปู้นำของอิหร่าน ถูกมองเป็นจุดส้ินสุดของความขัดแย้งภายใน ความตึงเครียดระหว่างอาหรัับ-อิหร่านยุคใหม่ตามมา บดบังความขมขื่นจากความขัดแย้งภายในอาหรัีบ

           อิยิปต์กลายเป็นสาธารณรับ  เมื่อปรากฎแน่ชัดว่าการปครองแบบมีกษัตริย์และรัฐสภาที่ล้มเลหวลงในอิยิปต์ สาเหตุจากสถานการณ์ยุื่งเหยิงมากจึง เปิดทางในแก่อกงทัพที่จะเข้ามาควบคุม ในวันที 23 กรกฆาคม 1952 พระเจ้าฟารุคถูกบังคับให้สละราชสมบัติและในปีต่อมาอียิปต์ก็ถูกปรกาศให้เป็นสาธารณรัฐ 

           กามาล อับเดล นัสเซอร์ เกิที่อเลกซานเดรีย ปี 1918 เข้ารับศึกษาในวิทยาลัยทหาร ปี 1943 ได้รับยศร้อยเอก เข้าร่วมในสงครามปาเสลไตน์กละได้รับบาดเจ็บ  ปลายปี 1949 นัสเซร์และข้าราชการอีก 11 คน อังคงการลับชื่อ Free Office เป็นองค์การที่ทำรัฐประการในเดือนกรกฎาคม ปี 1952 ภายมต้การนำของนายพล เนกิบ  

           นัสเซอร์ มีความเกลียดชังลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิฟิวดัลอย่างรุนแรง ใปนปี 1943 เขาได้ก่อตั้งองค์การลับซึ่งมีกองทัพหนุนหลังอยุ่ดโดยมีจุดมุ่งหมายในการยึดรัฐบาล เมือ่การปกครองในระบอบทหารเร่ิมต้นก็เร่งรีบปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม  ผลจากการปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลทหารทำให้อัตรการผลิตสูงขึ้น การผลิตทางเกษตรกรรมสูงขึ้น หกเปอร์เซ็นทุกๆ 4 ปี  ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อประทเศ นัสเซอร์พยายามฟื้นฟูงานด้านอุตสาหรรมในปี 1960 มีการวางแผนการผลิตหลักและเหล็กกล้า และสำเร็จใจปี 19568 นอกจากนั้นรัฐบาลยังสนับสนุนอุตสาหกรรมน้ำมัน และเครื่องทำกระแสไฟฟ้าที่ใช้กำลังน้ำที่เขื่นอัสวันและที่เชื่อมต่อ นับเป็นก้าวสำคัญของอิยิปต์ที่จะนำประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม นอกจากนั้ นรัฐบรลยังมีส่วนร่วมในกิจการสำคัญ เช่น ธนาคาร บริษัทประกันภัยและการค้า

          การทำคลองสุเอซให้เป็นของประเทศ

           ในปี 1952 เกิเหตุการที่สำคัญขึ้นเมือนัสเซอร์บังคับบริษัทคลองสุเอซให้ป็นของประชาติในผี 1958 เพื่อการกำจัดรูปแบบทุกชนิดของลัทธิจรวรรดินิยมออกจากประเทศ และการหาเงินทุนให้ได้มากเพื่อพัฒนาเศรษกิจของอิยิปต์ การกระทำดังกล่าวทำให้นายทุนชาวตะวันตกโกรธเคืองเป็นอย่างมาก ถึงขั้น ฝรั่งเศสและอังกฤษทำสงครามกับอิยิปต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "วิกฤตการคลองสุเอซ"

           การกระทำให้เกิจการคลองสุเซเป็นของประเทศ และสงครามซึ่งอิยปต์ต่อสู้กับพวกบุกรุกขาวอังกฤษ ฝรั่งเศสและอิสราเอล เหนือประเ็นลัทธิชาตินิยม ได้ช่วยส่งเสริมความยิ่งใหญ่ของนัสเซอร์ทั้งในอียิปต์และโลกอาหรับ นับจากนั้น นัสเซอร์ กลายเป็นผุ้ป้องกันผลประโยจ์ของโลกอาหรับ ต่อต้านการข่มขุ่จากลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอำนาจตะวันตก 

        ในกิจกรรมต่างผระเทศ นัสเซอร์ใช้นดยบายเป็นกลาง อิยิปต์จะไม่ผุ้มัดตัวเองกับยทั้งอำนาจตะวันตกและสหภาพโซเวียต ประเทศเหล่านี้ให้ความช่วยเหลือทั้งด้านการเงินและเทคนิคแต่อิยิปต์จะม่ยอมอยู่ภายไต้อิทธิพลของประเทศเหล่าั้น ถึงมแ้ว่าสหภาพโซเวียตให้ควมอุปถัมภ์โครงการสร้างเชื่อนแต่นัสเซอร์ก็ไม่ยอมให้พรรคคอมมิวนิสต์คงอยุ่ในอิยิต์ อิยิปต์เป็นผุ้อทนของสันนิบาติอาหรับซึ่งเองค์การของปทศอาหรับเป็นองค์การของประเทศอาหรับทั้งหลาย ก่อตั้งขึ้นใน ปี 1944 เพื่อส่งเสริมผลประโยชร์ของประชอาหรับ แต่สำหรับประชาธิไตยแบบตะวันตกมองเว่า"นัสเซอร์เป็นเผด็จการที่มีอำนาจเด็ดขาด แต่ชาวอียิปต์มิได้มองเขาแบบนั้น นัสเซอร์จัดให้มีการเลื้อกตั้งเข้ามาแทนการแต่งตั้งในสภาแห่งชาติ ชาวอิยิปต์ชื่นชมในตัว"นัสเซอร์"มาก  เป็นบุคคลที่ทำให้พวกเขามีความภูมิใจในความเป็นชาวอิยิปต์ และเป็นผุ้นำอิยิปต์ที่ยิ่งใหญ๋

          สงครามเอิราเลล-อาหรับ ครั้งที่ 2  ส่วนหย๋เข้าใจว่าเกิดเพราะปัญหาคลองสุเอซ ซึ่งอังกฤษและฝรั่งเศสม่ส่วนได้ส่วนเสียกับคลองสุเอชดดยตรง เข้าร่วมรุกรานอิยิปต์ กองทัพอักงฤษและฝรั่งเศเข้าโจมตีบริวเณคลองสุเอซภายหลังกองทัพอิสราเอลได้ 3 วัน แต่แท้จริงแล้วสงครามครั้งนี้มีสาเหตุสำคัญมาจากทางอื่่นซึ่งอิสราเอลถือว่าสำคัญกว่าเรื่องคลองสุเอซ นั้นคือชนวนปัญหาเรืองดินแดนฉนวนกาซา และสิทธิการใช่น่านน้ำอ่าวอะกาบา

         "ฉนวนกาซา"เป้นดินแดนแคบๆ ที่ทอดไปตามฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเยียนทางภาคมต้ของประทเศอิสราเอล เป็นดิแนแดนที่พวกลี้ภัยอาหรับหนีจากสงครามครั้งที่ 1 กว่าสองแสนคน เข้าไแอาศัยอยู่ และตามข้อตกลงหยุดยิงในปี 1949 อิยิปต์มีสิทธิในการปกครองดินแดนนี้ แต่ไม่มีสิทธิที่จะผนวกเขั้าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน และสำหรับฝ่ายอิสราเอลนั้น ฉนวนกาซาเป็นจุดอันตรายสำหรับชาวอิสราเอลเรพาะพวกหน่วนคอมมานโดของอาหรับพลัดถ่ินมักจะยกข้ามพรมแดนเข้ารบกวน ปล้นสดมภ์หสามู่บ้า ตามบริวเณชายแดนอันเป็นขนวนของการปะทะกันเสมอๆ

         
 "อ่าวอะกาบ" เป็นพื้นน้ำที่อยุ่ทางภาคใต้ของอิสราเอล ติกดับช่องแคบติราน ซึ่งเป็นช่องแคบอยุ่เหนือสุดของทะเลแดงอันเป็นช่องทางเดียวที่อิสราเอลจะออกสู่ทะเลแดงเพื่อติอต่อค้าขายกับกับทางเอเซียและแอฟริกา ตามข้อตกลง ปี 1949 อิสราเอลมีสิทธิผ่านเข้าออกบริเวณนี้ได้โดยเสรี แต่อียิปต์ละเมิดข้อตกลงโดยการส่งทหารเข้าไปตั้งป้อมคุมทางเข้าออกอ่าวอะกาบา นายเดวิด เบน กูเรียน นายรรัฐมนตรีอิสราเอลขณะนั้นได้กล่าวว่่า          

            "ช่องคแบติราน และทะเลแดงสำคัญยิ่งสำหรับเรา เรามีความเห็นว่าสำคัญยิ่งกว่าทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเสียอีก จริงอยุ่เรามีความสัมพันธ์ทางวัฒนะรรมกับโลกตะวันตกมากกว่าตะวันออก แต่สำหรับเรื่องการค้าขายแล้วเเซียและแอฟริกามีความหมายสำหรับเรามากว่าเมืองอิลาะก็คือประตูสูตะวันออกแห่งเดียวของเรา ใครก็ตามย่อมไม่มีสิทธิที่จะปิดชข่องทางนี้ เช่นเดียวกับคลองสุเอซซึ่งเปน่นน้ำสากล แต่อียิปต์ก็ไม่ยินยอมให้เราใช้คลองสุเอซและอ่าวอะกาบา"

             "คลองสุเอซ" นับตั้งแต่อิสราเอลเริ่มรบกับบรรดาประเทศอาหรับอียิปต์ก็เร่ิมเข้างวดกับเรือที่ผ่านคลองสุเอซ โดยเฉพาะเรือที่สงสัยว่าจะบรรทุกสินค้าแลอาวุธไปให้อิสราเอล มีการจับกุมเรืออิสราเอล ริบสินค้าที่บรรทุกทากับเรือ อิสราเอลเคยนำเรื่องขึ้นร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคง สหประชาชาติ แตุ่่฿กรัสเซียยับยั้นญัตติ กระทั้งเกิดการรบครั้งที่ 2 ปี 1956 ซึ่งในต้นปี นั้น อียิปต์ประกาศโอนคลองสุเอซป็นของชาติ ท่ามกล่างเสียงคัดค้านของบรรดาประทเศผุ้ใช้คลองและบริษัทคลองสุเอซซึ่งอังกฤษและฝรั่งเศสเป็นหุ้นส่วนใหญ่  อังกฤษและฝรั่งเศสไม่พอใจการกระทำของอิยิปต์  29 ตุลา ปีเดียวกัน กองทัพอิสราเอลเปิดฉากทำสงครามบุกอิยิปต์ภายใน 4 วัน สามาราถบุกเกือบถึงคลองสุเอซ และจากนั้นนหนึ่งเดือนอังกฤษและฝรั่งเศสส่งทหารพลร่มลงยึดเมืองสไคัญๆ บริเวณคลองสุเอซไว้ เช่น เมืองท่า ซาอิด และฟูอัด ดดยอังกฤษและฝรั่งเศสอ้างว่่าเพื่อรักษาความสงบและความปลอดภัยในการเดินเรือ

              ต่อมาในวันที่ 6 พฤศจิการยน 1956 ดดยมติของสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติสั่งให้หยุดการรบ ดดยเฉพาะให้ผปุ้รุกรานซึ่งในกรณีนี้คือ อิสราเอล อังกฤษ และฝรั่งเศ อถอนทหารออกจากอิยิปต์ทันทีตั้งแต่วันที่ 6 ะันวา 1956 แต่ฝ่ายอิสราเอลเพิ่งจะถอนทหารและยอมปฏิบัติตามมติขององค์การสหประชาชาติวในวันที่ 3 มีนา 1957 ซึ่งรวมเวลาทั้งหมดที่ทหารอิสราเอลเข้ายึดครองอดินแดนอีิยิปต์ไว้ตั้งนี้ถึง 3 เดือน 8วัน อิานราเอลยอมปฏิบัติตามมติสหประชาชาติ เพราะได้รับประกันเสรภาพในการใช้น่านน้ำอ่าวอะกาบาและความปลอดภัยในแนวนกาซา ดดยสหประชาชาติส่งกำลงังทหาร 6,000 รคน เขาตระเวนรักษาความสงบตลอดแนวพรมแดนส่วนนี้ ซึ่งยาวกว่า 170 ไมล์

          จากสงครามคร้งนี้อิสราเลอได้ชัยชนะทั้งในและนอกสนามรบกล่าวคือ ในอิสราเอลได้สิทธิในการใช้อ่าวอะกาบาและได้คามปลดภัยในบริวเวณฉนวนกาฤาตามคำรับรองขององค์การสหประชาชาติ อิสราเอลยังได้เสียสนับสนุนจากมหาอไนาจ คือ อเมริกาและฝรั่งเศส ส่วนฝั่งอิยิปต์ ได้ครองสสุเอซและกำจัดจัวรรดิ์นิยมดังได้กล่าวมาแล้วแม้จะพ่ายแพ้ในสงครามนี้ 

           อเมริกา ในครั้งแรกไม่แสดงท่าทีอย่างชัดเจนในการณีอิสราเอล ภต่ภายหลังภารเจรจาที่สหประชาชาติ สหรัฐอเมริกามีความเห็นใจอิสรารเอล รับบาลจึงมีบันทึกพิเศษไปถึงอิสราเอล โดยมีความสำคํญว่า สหรัฐพร้อมที่จะลงมือปฏิบัติการเพื่อคงไว้ซึงเสรีภาพในการใช้น่านน้ำบริเวณอ่าวอะกาบา

            มหาอำนาจตะวันตกอีประเทศทีีสนับสนุนอิสราเอลอย่างเปิดเผยคือ "ฝรั่งเศส" ซึ่งไม่พอใจอาหรับโดยเฉพาะอิยิปต์ในเรื่องคอลงสุเอซ นอกจากนั้นดินแดนอาหรับที่ฝรัเศสปกครองในแอฟริกาเหนือ คือ แอจีเรียและโมร็อกโก ก็กำลังแข็งข้อก ฝรั่งเศสประกาศว่า ฝรั่งเศษจะสนับสนุนในการป้องกันตนเองของอิสราเอล ถ้าหากถูกอิยิปต์ใช้กำลังในกรณีอ่าวอะกาบา หรือฉนวนกาซา


                        ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI491/hi491-2.pdf

                                  http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-6.pdf

                                  วิกิพีเดีย

วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2567

League of Arab States


           หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2  ชี้ให้เห็นการเร่ิมต้นที่แท้จริงของเอกราช และการรักษาสิทธิของ
ตนเองในปะระเทศอาหรับทั้งหลาย  พร้อมกับการจากไปของกองำลังทหารอในดินแดนอาณัติ รัฐบาลแห่งชาติที่ก่อตั้งขึ้นใหม่มีอำนาจที่แท้จริงและมีความารับผิดชอบมากกว่าที่เคยมีมา

          เมื่ออกาหรับทั้งหลายได้รับเอกราชวัตถุประสงค์เกิมคือการต่อสู้แห่งชาติเพื่อความเป็นอันหนึ่งอันกเดียวกัน  การได้รับเอกราช และลัทธิชาตินิยมได้นำรัฐบาลอาหรับมุ่งความสนใจไปสู่ปัญญาเดียวกันันั้นคือ ปัญหาปาเลสไตน์  โดยความสนสจของอาหรับต่อปัญหาปาเลสไตน์มีมานานแล้ว ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2  

          ชาติอาหรับมีความไม่ไว้ใจกัน กองทัพขาดประสิทธิภาพมีเพียงจอร์แดนที่มีกองทัพที่เข้มแข็งแต่มีจำนวนน้อย เกิดการระสำ่ระสายจากเหตุลอบสังหารนายกอิยิปต์เหตุจาความไดม่พอใจในการบริหารประเทศที่ไม่มีประสิทธิภาพตามด้วยการจลาจล ทำให้อิสราเอลได้บุคเข้ายึดดินแดนภาคใต้ที่เคยเป็นดินแดนในอาณัติได้  อังกฤษจึงประกาศว่่าจะนำสัญญา ค.ศ. 1936 มาใช้เพื่อเข้าแทรกแซงอิยิปต์ในกรณีที่เกิดความไม่สงบ นอกจาว่าอิสราเลอจะถอนกำลังออกจากอิยิปต์ และเกิดความสงบขึ้นภายในประเทศ รัฐาบอียิปต์ม่ต้องการให้เกิดการแทรกแซงจึงแจ้งต่อ องค์การสหประชาติว่าพร้อมเจรจาพักรบ

             เกิดการวิพาก์วิจารณ์ถึงความพ่ายแพ้ของอาหรับอย่างกว้างขวาง หนึ่งในนั้น ชาวปาเลสไตน์ มูซา
อลามี หนึ่งในคนสำคัญในการก่อตั้งสันนิบาตอาหรับ ความว่่า

              "ในการเผชิญหน้ากับศัตรู อาหรับมิใช่ปรเทศเดียว แต่เป็นการรวมกันของประเทศเล็กๆ เป็นกลุ่มๆ ไม่ใช่ชาติ แต่ละประเทศก็กลัวกันเอง เผ้ามองซึคงกันและกันอย่างขุ่นเคือง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับพวกเขาและเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดนโยบาย มิใช่เพื่อการรบชนะสงคราม และเพื่อการทำให้ปาเลสไตน์ปลอดภัยจากศัตรู แต่สิ่งที่พวกเขาต้องการซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังการต่อสู้นั้นคือ ใครจะเป็นคนสำคัญที่สุดในปาเลสไตน์หรือการผนวกปาเลสไตน์ไว้กับประเทศตนและที่สำคัญคือ ทำอย่างไรพวกเขาจึงจะทำให้ควาททะเยอทะยานของผุ้นำแต่ละคนบรรลุความสำเร็จได้อย่างแท้จริง แต่จุดมุ่งหมายที่พวกเขาประกาศออกมาก็คือ การช่วยให้ปาเลสไตน์พ้นภัยและยังพูดอีกว่าเมือปาเลสไตน์พ้นภัยแล้ว ประชาชนของปาเลสไตน์จะป็นผุ้กำหนดโชคชะตาของตนเอง นั้นเป็นการพูดโดยใช้ลิ้นเท่านั้น แต่ในใจของพวกอาหรับทั้งหลายปรารถนาที่จเะได้มันมาไว้กับตน และแล้วทุดคนต่างก็รับหาทางป้องกันไม่ให้อีกประเทสหนึ่งเข้าไปเป็นใหญ่  ปาเลสไตน์แม้ว่าจะไม่มีอะไรเหลือ นอกจากกองขยะและกระดูก"

               ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศอาหารับทั้งหลายที่มีต่อกันยังคงเป็นคำภามที่หาคำตอบไม่ได้โดยเฉพาะด้านการเมือง พื้นฐานทางอุด่มคติองอากรับก็แตกต่างกันจและในประเด็นที่มีความเคลื่อนไหวไปสู่สหันธรัฐซอาหรับหรือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับซึงกระทำมาแล้วตั้งแต่ปี 1919 เมือซารีฟ ฮุสเซนแห่งเมกกะได้ประกาศตนเป็นกษัตริย์ของชาวอาหรับ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศอาหรับได้ก่อตั้งสันนิบาตอาหรับขึ้น แต่สนันนิบาตอาหรับมักจะเป็นสนามรบเท่าๆ กับเป็นคณะกรรมการความร่วมมือ ซึ่งมีผลกระทบต่อนโยบายสำคัญขงอสมาชิกสันนิขาต  สันนิบาติอากรับพยายามที่จะร่วมมือกันในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสงครามปาเลสไตน์แต่ีควาพยายามดังกลาวก็ล้มเหลว ความพยายามของสันนิบาตอาหรับในการสร้าง "อาหรับปาเลสไตน์" เป็นเพียงการทำให้ความแตกต่างอย่างลึกซึ่งระหว่างรพะจ้าฟารุคแห่งอียิปต์และพระเจ้าอับดุลลาห์แห่งจอร์แดนกลายเป็นประเด็นขึ้นมาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ขณะที่พรเจ้าฟารุคถูกทืำรัฐประหารและอียิปต์ก็ได้รัฐบยาลของคนหนึ่มที่เป็นทหารและมีการปฏิรูป ขณะที่อิรักและซาอุดิอาระเบียยังคงอยุ่ภายมต้การควบคุมของสิ่งที่ชาวอียิปต์มองว่าเป็นระบการปกครองแบบเก่า ดังนั้นความสนับยสนุนที่จะได้รับอิยิปต์จึงขาดแคลนอย่างเห็นได้ชัด 

  ทอม ลอิเตล นักหนังสือพิมพ์และนักเศรษฐศาสตร์ของตะวันออกกลางได้เขียนไว้เมือ ตุลาคม 1955 ในการประชุมสันนิบาตอาหรับที่ีไคโรว่า " มีการประชุมาสนันิบาตอาหรับที่ไคโร ในบรรยากาศที่เป็นมิตรภายหลังการโต้เถียงอย่างรุนแรงระหว่างอิรักและอิยิปต์ระหว่าง 9 เดื่อนแรกของปี 1955 นนับเป็นการเพียงพอที่จะรับประกันความพอใจของรัฐบุรุษอาหรับ..ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับไม่ได้คงอยู่ ฉันขอถามวา่แล้วมันเคยมีหรือไม่... สันนิบาตอาหรับเกิดจากความไม่สามารถที่จะรวมกับทางการเมืองอ ชาวอาหรับได้เยี่ยบย่ำความฝันของตนอย่างรุนแรง" 

             - ปัญหาพรมแดน ในความเป็นจริงตะวันออกกลางไม่เคยพบกับความสงบอย่างแท้จริง ทั้งที่มีการสงบศึกในฤดูใบไม่พลิ 19489 จากสงครามปาเลสไตน์คร้งแรก แต่พรมแดนของอิสราเอลมีลักษณเป็นแนววหน้ามากว่าเป็นพรมแดน ทุกๆวันจะมีปัญหาต่างๆ การจลาจล การโจมตีของหน่วตนคอมมานโด การส่งทหารไปป้องกัน การยิต่อสู้กัน และการยิงข้ามพรมแดนระหว่างซีเรีย-อิสราเอล จอร์แดน-อิสราเอล และอียิปต์-อิสราเอล ทั้งหมดนี้เป็นการปฏิบัติการอย่างธรรมดาซึ่งเกิดขึ้นทุกๆวัน เหตุกาณ์นับพันะรือ่งที่เกิดขึ้นระหว่าง ปี 1949-1955 สร้างปัญหาความยุ่งยากให้กับคณะกรรมการร่วมกันขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งทำหน้าที่ดูแลการสงบศึกชั่วคราว

             เส้นแนวสงบศึกก็ถูกลากตามยถากรรมเพียงให้พอเหมาะกับแผนการณ์ทางทหารมากกว่าจะคำนึงถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมหรือแม้แต่เกณฑ์ทางจุดยุทธศาสตร์นับว่าเป็นพรมแดน ที่เลวร้ายทีุ่ด ในบริเวณพรมแดนจะมีชาวอาหรับประมาณ 150,000 คน ซศึ่งไม่ใช่พวกที่อพยพเข้ามาแต่เป็นพวกที่ได้รับบาลเจ็บในสงครามปาเลสไตน์ คนเหล่านี้มีความรู้สึกโกรธ หิวโหย และผิดหวังในวิ๔ีชีวิตการเมืองของจอร์แดน ที่ซึ่่งพวกเขาส่วนใหญ่เขั้าไปอาศัยอยุ่

                  - ปัญหาผู้ลี้ภัยอาหรับ มีจำนวนนับล้านๆ คน กระจัดกระจายอยุ่ในประเทศอาหรับที่อยุ่รอบด้าน อาศัยอยู่ในค่ายผุ้ลี้ภัยโดยได้รับเงินบช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติในอัตราคนละน้อยกว่า2 ดอลล่าร์ต่อเดือน องค์การสหประชาชาติให้การักษาพยาบาล อาหาร แต่พวกอาหรับเหล่านี้มีความรู้สึกตำ่ต้อย หมดหวังมีความทรงจำในอดีตและฝันถึงอนาคต จำนวนผุ้ลี้ภัยเพ่ิ่มมากขึ้นทุกปีๆ หนึ่งในผู้ลบี้ภัยเป็นผู้ฆ่าพรเจ้าอับดุลลาห์ รัฐบุรุษอาหรับแห่งจอร์แอน ความต่ำต้อย ความละอาย เป็นคำฟ้องของพวกเขาต่อรัฐบาลอาหรับทั้งหลายที่เคยสัญญาว่าจะปกป้องพวกเขา


                   - การโจมตีของอิสราเอล ซึ่งพร้อมจะโจมตีต่อเหตุการ์บริเวณพรมแดนที่กำลังดำเนินอยู่ ดังนั้นในปี 1954 กองทัพอิสราเอลโจมตีเมือง นิวห์หาลิน ในจอร์แดนและโจมตีฉนวนกาซา ในเดือน กุ่มภาพันธ์ 1955 ซึ่งเป็นฐานทัพทีั่สำคัญของอียิปต์ก็กลายเป็นเป้าของกองทัพอิสราเอล ชาวอียิปต์บาดเจ็บและตายกว่า 70 าคน  อียิปต์ตระหนักว่าต้องมีอาวุธที่ดีกว่านี้ ครั้งอียิปต์ไม่สามารถหาอาวุธจากตะวันตกตามต้องการ อิยิปต์จึงแสวงหาจากที่อื่น กันยายน 1955 นสเซอร์ ประกาศว่า เช็กโกสโลวาเกยจะจัดหาอาวุธจำนวนมากให้แก่อียิปต์

                 การประกาศดังกล่าวทำให้สหรัฐพิจารณาเห็นถึงอันตราย แต่สำหรับอาหรับโดยเฉพาะอียิปต์ยังคงรู้สึกถึงประวัติศาสตร์ที่ขมขื่นอันยาวนานในการมีความสัมพันธ์กับตะวันตก จึงพอใจเช็กโกสโลวาเกีย นัสเซอร์ ได้ทำในส่ิงที่ไม่มีใคีรคิดว่าจะเป็นไปได้ เขาใช้สงครามเย็นในการทำให้กิจกรรมของอาหรับเป็นเรื่องระหว่างชาติ ดังนั้นจึงปรากฎการชัดว่านัสเซอร์ ได้รับความช่วยเหลือจากทั้งโลกตะวันตกและโลกตะวันออก

                การต่อสู้บริเวณพรมแดนรุนแรงมากขึ้น กองกำลังอิสราเอลโจมตีฐานทัพซีเรีย โจมตีฐานทัพอียิปต์ และโจมตีกองรักษาด่านของซีเรีย ในเวลาไล่เลี่ยกัน จากการดจมตีเหล่านี้ทำให้อิสราเอลถูกตำหนิโดยคณะมนตรีความมั่นึคงแห่งชาติ ชาวอาหรับมองดูว่าอิสราเอลเป็นประเทศตะวันตก ส่วนประเทศอาหรับโดยเฉาพาะอียิปต์โฆษณาชวนเชื่อต่อต้านตะวันตกมากขึ้น ในจอร์แดนมีการเดินชบวนต่อต้านรัฐบาลเป็นฝ่ายตะวันและต่อต้านสัญญาแบกแดด รัฐบาลอ่อนแอและความรุนแรเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่ง ปี 1956 ขจ้เาราชการชาวอังกฤษซึ่งเป็นผุ้บังคับบัญชากองทัพจอรืแดน ถูกปล่อยตัว ซึ่งเชอาจเป็นเพราะความเคลื่อนไหวโดยรัฐบาลจอร์แดน....


                           ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-5.pdf

วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2567

State of Israel

             วิกฤตการณ์ตะวันออกเริ่มตั้งแต่การตัดสินขององค์การสหปรชาชาติที่ใหแมีการแบ่งดินแดนปาเลสไตฯ์ออกเป็น 2 ส่วน สวนหนึ่งเพื่อให้เป็นที่ตั้งถิ่ฐานของชาวยิวและการก่อตั้งประเทศอิสราเอล ฝ่ายยิวยินยอมรับมติงกล่าวขององค์การสหประชาชาติ(มติ ค.ศ. 1947 แต่ฝ่ายอาหรับประกาศไม่ยอมรัีบ ฝ่ายอาหรับมีความเห็นว่า คำรตัดสินขององค์การสหประชาชาิตนันไม่ยุติธรรม ตั้งฝ่ายต่างอ้างสิทธิโดยใช้เหตุผลทาทงประวัติศาสตร์ ที่เคยได้ครอบครองดินแดนแห่งนี้ด้วยกันทั้งสองฝ่าย จึงกล่าวได้ว่ความขัดแย้งของทังสองฝ่ายจะนำไปสู่สงครามใหญ่

             สงครามนี้แบ่งออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นสคงามกลางเมืองในปาเลสไตน์ในอาณัติปี 1947- 1948 นับตั้งแต่สหประชาชาติลงมติให้แบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐเอกราชยิวและอาหรับ และเยรูซาเลมซึ่งอยุ่ภายใต้การบริหารของนานาชาติ (ข้อมติสมัชชาสหประชาชาติที่ 181

               อาหรับรวมตัวกันตามแบบ ปี 1936 อาหรับเริ่มโจมตีป้านเมืองของชาวยิวและยิวก็ตอบโต้ด้วยการโจมตีอาหรับ ปลายเดือนพฤศจิกายนสถานกาณ์ตึงเครียดและเลวร้ายลงอย่างรวดเร็ว มกราคม 1948 อาสาสมัครอาหรับจากประเทศเพื่อบ้านเร่ิมเข้าสู่ปาเลสไตน์ ผุ้นำอาหรับของการปฏิวัติปี 1936  ก็อยู่ในปาเลสไตน์อีกครั้งหนึ่งพร้อมด้วยอาศาสมัครจำนวน 5,000 คน แต่กระจัดกระจายกัน ถนนตามเมืองจต่างๆและหมู่บ้าถูกตัดขาด ข

               ขณะที่อกงทัพอังกฤษเร่ิมถอนตัวออก กองโจรอาหรับก็จู่โจมยบ้านเรือน ถนนจากเทลาวิฟไปเยรูซาเลมถูกตัดขาด ในไม่ช้าทั้งสองฝ่ายต่างจัดตั้งรัฐบาลเงาของตน ซึ่เหตุการณ์ในแต่ละวันนับจากเดือนธันวาคม 1947 ไปถึงเดือนพฤศจิกายน 1948 มีจคนเสียชีวิต ห้าพันคนตลอดทั้ง 5 เดือน ความเสียหายยประามหบายล้านดอลลาร์รถไฟถูกระเบิด มีการปล้นธนาคาร สำนักงานของรัฐบาลถูกโจมตีการจลาจลรุนแรง เกิดไฟไหม้การะปะทะกันระหว่างกองทัพและกลุ่มชนที่แข่ขันกัน 

             ประเทศอาหรับรอบด้านเตรียมพร้อมสำหรับสงตครมและประกาศว่าพวกเขาของขัดขวางจนตายต่อการตัดสินใจขององค์การสหประชาชาติ อย่างไรก็ตาม 

  ต้นเดือนเมษายน เหตุกาณ์ต่างๆ ดูเหมือนจะเข้าส๔่ภาวะที่ดีขึ้น กองทัพอังกฤษได้อถอนกำลังไปแล้ว ในวันที่ 20 มีนาคม เลขาธการของสันนิบาตอาหรับได้กล่าวสุทรพจว่าอาหรับจะยอมรับการพักรบชัวคราวและจะยอมเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีที่ถูกจำกัดถ้าองค์การยิวจะตกลง แต่ประากฎว่าผู้นำยิว ปฏิเสธทันที ดังนั้นสถานกาณ์ทีท่ทำว่าจะดีขึ้นก็กลายเป็นการต่อสุ้อย่างรุนแรง ซึ่งดำเนินต่อไปเรื่อยๆ และทั่วปาเลสไตน์ เครื่องบินของยิวได้เข้าร่วมในการต่อสู้เป็นครั้งแรก ต่อมาผู้นำอาหรับซึ่งเป็นหัวหน้าของกางรักษาความปลอดภัยของอาหรับก็ถูกฆ่า ต่อมา อร์กัน พร้อมกับยความช่วยเหลือของฮากานาฮ์ก็เข้าดจมตีและยึดหมุ่ยบ้านเรียร์ เยซิน อิร์กันได้พยายามสร้างความน่ากลัวให้เกิดมากขึ้นในหมุ่ประชาชนอาหรับ มีการฆ่าหมู่ชาวบ้่านทั้งหมด และประกาศการกระทำของตนเอง อาหรับเร่ิมโจมตีบ้านเรือนยิวแลพื้นที่ของยิว แต่ก็พ่ายแพ้ ฮากานาฮ์เร่มตีโต้กองทัพอาหรับ นับจากนั้นกำลังของอาหรับก็เร่ิมพ่ายแพ้ ทั้งในความพยายามและการป้องกันตนเอง ฮากานาฮ์ยึดได้เมืองทิเบเรยส ต่อมาอิร์กัน และฮากานาฮ์ เข้าสู่เมืองไฮฟาได้ และขับไล่ประชาชนอาหรับออกไปจากเมือง ตันเดือนพฤษภาคม เมือง จัฟฟา ก็ถูกประกาศให้เป็นเมืองเปิดภายใต้การควบคุมของฮากานาฮ์และต่อมาฮากานาฮ์ก็ยึดเมืองแอคเค่ได้ จากความพ่ายแพ้ของฝ่ายอาหรับทำให้ชาวอาหรับจากมเมืองต่่างๆ ดังกลาวรีับหนีออกนอกประเทสทันที่ทันใด และแล้วในวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 ทีเมือง เทลาวิฟ นายเดวิด เบน กูเรียน ก็ประกาศการกอ่ตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น  ซึ่งจักรวรรดิบริติชกำหนดการถอนกำลังและสลำการอ้งสิทธิ์ทั้งปวงในปาเลสไตน์ในวันเีดยวกัน เมือทหารและกำลังพลบิติชคนสุดท้ายออกจากนครไฮฟา ผุ้นำยิวในปาเลสไตน์ประกาศสภาปนารัฐอิสราเอล และเป็นเวลาเดียวกันที่อกงทัพอาหรับและกำลัรบนอกประเทศของอาหรับที่อยุ่โดยรอบก็บุครองอิสราเอลทันที

               สงครามยิว อาหรับครั้งที่ เกิดขึ้นในทันที่ที่อิสราเอลประกาศเป็นประเทศ ในระยะแรกการรบดำเนินอยู่ประมาณ 4 สัปดาห์ องค์การสหประชาชาิตได้เข้าำกล่เหลี่ยย ดดยมีมติจากคณะมนตรีความมั่นคง มิถูนายน 1948 ให้ทั้งสองฝ่่ายทำการหยุดยิงพร้อมเสนอให้รวมปาเลสไตน์เข้ากับจอร์แดนและจัดตั้งเป็นสหพันธรัฐยิว-อาหรับ ซึ่งข้อเสนอดังกลาวนี้ทั้งยิวและอาหรับบต่างปฏิเสธอย่างสิ้นเชง ในเดือนธันวาคมของปีะเดียวกันการสู้รบจึงเกิดขึ้นอีก จาการสู้รบครั้งนี้อิสราเอลสามารถยดนครเยรูซาเลมได้ ทางด้านพรมแดนอียิปต์ก็รุกเข้าเขตนาเกฟ นอกจากนั้นยังสามารถยึดดินแดนบางส่วนของเลบานอนและซีเรยได้อีกอด้วย จาสภาพการดังกล่าว กุมภาพันธ์ 1949 อียิปต์จึงจำยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอล ตามด้วย เลบานอน ซีเรีย จอร์แดนและซาอุดิอาระเบีย เซ้นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอลเช่นกัน

             ในช่วงสามปีหลังสงคราม ยิวกว่า เจ็ดแสนคนเข้าเมืองอิสราเอลจากทวีปยุโปรและดินแดนอาหรับ หนึ่งในสามออกหรือถูกขับออกจากประเทศในตะวันออกกลางผุ้ลี้ภายเหล่านี้ถูกกลืนเข้าสู่อิสราเอลในแผนหนึ่งล้าน


                   ที่มา : วิกิพีเดีย

                             nsion://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI405(48)/hi405(48)-10.pdf

                            chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-4.pdf

                              

                             

วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

UN Split Palestine 1947


            สหประชาชาติกับปัญหาปาเลสไตน์ ค.ศ. 1947 

                ในสภานการเช่นนี้ อังกฤษประสบควาามล้มเหลว ประกอบกับต้องจ่ายทั้งกำลังเงนและกำลังคนอย่างมาก ในที่สุดอังกฤษตัดสินใจนำปัญหานี้ไปสู่องค์การสหประชาาติ ภายหลังจากประชุมกันถึงปัญหานี้ใในสภาสามัญ ในวันที่18 กุมภาพันธ์ 1947  คณะมนตรีความมันคง และสมัชชาใหย่ จงรับปัญหาดังกล่าวไปพิจารณา และในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน สมัชชาใหญ่เสนอให้จัดตั้งคณะกรรมพิเศษสำหรับปาเลสไตน์ UNSCOP United Nation Special Committee on Palestine เพื่อเินทางไปศึกษาสถภานกาณ์ในปาเลสไตน์และหาข้อมูลเพื่อนำมาพิจารณาหาทางแก้ไขปัญาซึ่งข้อสนอนี้ไ้รับการเห้นด้วยจากทุกฝ่าย

               ในการเดินทางไปสำรวจครั้งนี้ อาหรับแสดงตนโดยปฏิเสธไม่เข้าร่วมในกาประชุมกับคณะกรรมการพิเศษ ตรงข้ามกับองค์การยิว ได้ให้ความร่วมมือกับ คณะกรรมการชุดนี้และยังหาเอกสารต่างๆ ให้ด้วย ภายหลังจากการศึกษาสภานการณ์ พบว่าผลการศึกแทบจะไม่มีความแตกต่างจากรายงานของคณะกรรมการชุดก่อน 

              ..ปาเลสไตน์มีมีพื้นที่ประมาณ 10,000 ตารางไมล์ เป็นประเทศเล็ก และเพียงครึ่งหนึ่งของพื้นที่เท่านั้นที่มีประชาชนอยุ่อาศัย ถึงแม้จะเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนประมาน 65% มีชีวิตอยุ่โดยกษตรกรรม แต่ประมาฯ 50% ของพืชประเภทข้าวที่ประชานบริโภคต้องสั่งเป้นสินค้าเข้า "ปาลเสไตน์จนกินไป" ในทรัพยากรทังหมดที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ มีประชาชนอาหรับ 1,200,000 คน ยิว 600,000 คนหรือประมาณ 2:1 เนื่องจากอัตราการเกิดขงออาหรับสูงกว่ายิวมาก ในปี 1960  ถ้าการอพยพถูกห้าม จำนวนประชการจะเพิ่มขึ้นเอง โดยธรราชาติ ประชากรจะประมาณ 5;2  อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการก็พบว่าปัญหาการแบ่่งปาเลสไตน์มีปัญหาซับซ้อนมาก กล่าวคือ "ในเมืองจัฟฟา (รวมแทลาวิฟ) ไฮฟาและเยรูซาเลม มียิวมากกว่า 40% ของประชชนทั้งหมดของเมืองเหล่านั้น ในพื้นที่ภาคเหนือบริวณเมืองทิเบดเรียสและเบซาน มียิว ประมาณ 25%  และ 44% ของประชาชนทั้งหมด ส่วนที่เมืองเซเฟด และนาซาเรธ และตามชายฝั่งเมองทุลคาร์ม และแรมเล มียิวประมษณ 10% และ 25% ของประชาชนทั้งหมด ในขณะที่พื้นที่ตรงกลางของภาคใต้ของเยรูซาเลม มีัยิวไม่เกิน 5% ของประชาชนทั้งหมด"

             ดังนั้น ปัญหาที่เกี่ยวกับการแบ่งแยกนั้นยุ่งยากมาก แต่ขณะดียวกันความรีบร้อนในการยุติปัญหาก็มีมากกว่าปีก่อนๆ จำนวนผฝุ้อพยพที่ไม่ถูกกฎหมายมีมากถึงกว่า 17,000 ก็กำลังถูกกักขัง และชาปาเลสไตน์็ 820 คน ถูกจับ บรรยารกาศในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างน่ากลัวตามถนนขงอเมืองเยรูซาเลมและพื้นที่สำคัญๆ มีลวดหนมามกั้น ถนนถูกปิด มีที่ตั้งปืน รถหุ้มเกราะมีอยุ่ทั่วไป และเพื่อความปลอดภัยของข้าราชการของรับบาลและกองทหาร จึงต้องอาศัยอยุ่ในเขตที่ปลอดภัย และทำงานภายในตึกที่ปิดมิดชิด และมียามเฝ้าตลอดเวลา



              จากกบทเรีียนารปกครองโดยอังกฤษพบว่า พลังทั้งหมดต้องอุทิศให้แก่ความปลอดภัยของประชาชนและการป้องกันตนเอง อังกฤษกล่าวว่า "ชุมชนใดที่มีจุดมุ่งหมายที่จะได้สิทธิทางการเมือดดยการใช้กำลังนั้น อังกฤษไม่ยอมรับ เนื่องจากต้นปี 1945 ที่ยิวได้เรียกร้องสิทธิอันนี้แล้วได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มการเมืองที่ผิดกฎหมาย รวมทั้งการฆาตกรรม..ไม่มีอะไรได้รับอนุญาติให้เป้็นประเทศยิว และไม่ีการอนุญาตให้มีการอพยพอยางอิสระเข้าสู่ปรเทศยิว" อังกฤษพบวิกฤติอยย่างหนัก

             ด้วยเหตุนี้UNSCOP จึงแนะนำว่าการปกครองในระบอบอาณัติของอังกฤษควรจะยุติลง ควรให้เอกราชแก่ปาเลสไตน์ และองค์การสหประชาชารติจะป็นผุ้รับผิดชอบต่อเอกราชดังกล่าว และยังแนะนำอีกว่า ชุมชนนานาชาติ(ยิวและอาหรับ)ควรได้รับความรีับผิดชอบต่อตเอง และช่วยผุ้ลี้ภัยยิง สองแสนห้าหมือนคนที่ยังอยุ่ในยุโรป เพื่อผ่อนเปบาความกดดันในปาเลสไตฯ ในที่สุด คณะกรรมการชุดพิเศษ แนะนำอีกว่าไม่ว่าจะมีการแบ่งกันอย่ารงไรในปาเลสไตน์ก็ควรจะรักษาความร่วมมือทางเศรษฐกิจไว้ เมพือมีการลงมติ เสียงส่วนใหญ่ UNSCOP ยอมรับแผนการณ์แบ่งแยกพร้อมกับความร่วมือทางเศษฐกิจ ดัดังนั้นถ้าแบ่งเป็นประเทศตามแผนการณ์แต่ละประเทศจะมีประชาชนดังนี้คือ

               1 ประเทอาหรับ มีอาหรับ 725,000 คน ยิว 10,000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก

               2 ประเทศยิว มียิว 498,000 คน อาหรับ 407000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก 

               3 เยรูซาเลม เขตระหว่างชาติ มียิว 100,000 คน อาหรับ 105,000 คน และรวมคนอืนๆ อีก 

               อย่างไรก็ตาม สมาชิกกล่มุนึ่ง ของคณะกรรมการพิเศษ ซึ่งเป็นผุ้แทนจากอินเดีย อิหรานและยูโกสลาเวีย เสนอว่ารควรมีการจัดตั้งสหพันธรัฐ เืพ่อหลักเลี่ยงการแบ่งแยก ซึ่งการแบงแยกได้เน้นให้เห็ชัดถึงความแตกต่างระหว่างยิวและอาหรับในตะวันอออกกลาง และเพื่อหลกเลี่ยงลบัทธิคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นอันตราย โดยที่สมาชิกเหล่านั้นมีความเห็นว่าการแ่งแยกไม่ว่าจะรูปแบบใด ก็ตาม ล้วนแต่นำมาซึ่งลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนั้นสมาชิกเหล่านั้นบังคาดว่าประชาชนทั้งยิวและอาหรับที่กลายเป็นชนกลุ่มน้อยตามแยนกาณ์นั้นจะต้องขัดขวางอย่างแน่นอน ส่วนการก่อตั้งสหพันธรัฐ รัฐยิวและรัฐอาหรับจะมีอำนาจเต็มที่ใสนการปกครองตนเองภายใต้รัฐะรรมนูญของสหพันธรัฐ พรมแดนที่แนะนำก้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยจากที่เสนอโดยสมาชิกกลุ่มหใญ่

             ที่องค์การสหประชาชาิผุ้แทนโซเวียต นายอังกเตร โกรมิโก แสดงความคิดเห็นรัสเซียต่อปัญหาปาเลสไตน์ โดยย้ำถึงความล้มเหลวของระบอบอาณัตในการปกครองปาเลสไตน์ เขเห็นด้วยกัยรายงานและข้อเสนอแนะของผุ้สังเตกกาณณ์ทุกคน นับตั้งแต่คณะกรรมการของอังกฤษชุดแรกที่ส่งไปสำรวจปัญหา เขาจึงสนับสนุน "ความหวังของยิวในการก่อตั้งประเทศของตน" และยังมีความเห็นอกเห็นใจชาวอาหรับไม่น้อย

               รัฐบาลอังกฤษประกาศถึงความต้้งใจจะเคลื่อนทัพของตนออาจากปาเลสไตน์และพื้อนที่บริวเณคลองสุเอซ ลึกไปถึงแอฟริกากลาง จนถึงเคนยา ในการตีพิมพ์ข้อสเนอของ UNSCOP ผลก็คือรัฐบาลาอังกฤษพร้อมที่จะถอนตนเองออกจาปาเลสไตน์ อย่างไรก็ตาม การกระทำเช่นั้นของอังกฤษอาจทำให้เกิดการต้อสุ้อย่างนองเลือดกระทั่งอังกฤษอาจถูกสาปแช่ง

                ชาวยิวพอใจต่อแผนการแบ่งแยก ม้วาจะไม่ได้พื้นทีี่ทั้งหมดในปาเลสไตน์ แต่กก็ได้มากกว่าอหารีับ นับเป็นขั้นต้นของเอกราช อาหรับมีความรู้สึกดังสูญเสียทุกอย่าง ปละประกาศว่าพวกตนจะต้อต้านข้อเสนอของ UNSCOP โดยากรใช้กำลัง

               เมื่อสถานะการตึงเครียดและความโกรธแค้นอขงฝ่ายอาหรับ ได้ทำให้ชุมชนที่แข่งขันกัยอยู่แล้วกำลังเครียมพร้อมสำหรับสงครามที่ต่างก็คาดว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแนนอน 



                สหประชาชาติ เสียงส่วนใหญ่สนับสนุนการแบ่งแยกและตัดสินใจวาการปครองของอังกฤษควรยุติลงในวันที 1 พฏษภาคม 1948 และประเทศยิวและประเทศอาหรับควรถูกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม ผุ้แทนอังกฤษประกาศว่ากองทัพอังกฤษจะถอนออก ในวันที่ 1 สิงหาคม และอังกฤษจะไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในความพยายามใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งแยก ครั้นเมือมีการประชุมของสมัชชาใหญ่ในวันที 26  เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คาโดกัน ประกาศวาอังกฤษต้องการยืนยันอย่างแนนอนว่าการแบ่งแยกจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับกำลังของอังกฤษ

                สภานการในตะวันออกกลาง นอกปาเลนไตน์ ความไม่พอใจอาหรับเพื่อบ้านที่มีต่อไซออนนิสต์ถึงขึคสุด พวกเขาพร้อมที่จะต่อต้านมนทุกรูแปบบการเดินขบวนอย่างน่ากลีัวได้ระเบิดขึ้นตา จุดต่างๆ มากมายทั่วตะวันออกกลางตามเมืองต่างๆ เช่น เอเดน ลิเบีย และแบกแดด ชาวอาหรับมีความโกรธแค้นต่อชุมชนยิวในปากิลสไตที่อยุ่ห่างไกล แต่พวกเขาไม่สามารถโจมตีชาวยิวเลห่านั้นได้ ผลก็คือชาวยิวผุ้อาศัยอยู่ในดินแดนอาหรับเหล่านั้นและผุ้ไม่เกี่ยวข้องกับไซออนนิสต์ ต้องุถูกโจมตีดดยอาหรับที่กำลังโกรธแค้น ทำให้กลุ่มชาวยิวหล่าันอยุ่ในความกลัวและในที่สุดก็นำไปสู่การอพยพออกจาดินแดนอาหรับไม่วาจากอิรักและเยเมน ผลคือความกดดันต่อการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์มากขึ้นเป็นลำดับ 

                 ภายหลังจากที่อภฺปรายกันยาวนานที่องค์การสหประชาชาติ และหลังจากมีการศึกษาโดยคณะอนุกรรมการต่างๆ แล้ว และมีการเลปี่ยนแปลงเล็กน้อยเกี่ยวกับพรมแดนของการแบ่งวในที่สุดในวันที่ 29 พฤศจิการยน ข้อเสนอของการแบ่งแยกก็ผ่านโดบยคะแนนเสียง 33:13 และอีก 10 ไม่ออกเสียง


                          ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf

วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Palestine under WW2

             ปาเลสไตน์ระหว่างสงครามโลกครั้งีที่ 2 

             ขณะเดียวกัน สถานการณ์ในยุโรปแสงสว่างกำลังริหรี่ ท้งนี้เพราะในวันที่ 1 กันยายน 1939 สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เกิดขึ้นการเดินทัพของเยอรมันเข้าสู่โปแลนด์ขณะที่สมาชิกขงชุมชนทั้ง 2 กลุ่มสับสนุนรัฐบาลอังกฤต่อต้านเยอรมนี ชาวยิวกว่า 21,000 คน และอาหรับกว่า 8,000 คนได้ให้ความช่วยเหลือกองทัพอังกฤษ แต่ขณะเดียวกันทั้งยิวและอาหรับก็ยังคงเป็นศัตรูกับรัฐบาลท้องถ่ินขงออังกฤษ การเดินขบวนโจมตีรัฐบาลอย่างรุนแรงไม่เคยหยุดหย่อนตลอดเวลาที่เกิดสงคราม

(WWII: https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/3275470437818583157)

             ปี 1942 อังกฤษได้ชัยชนะหนอเยอรมัน ในการรบที่ เอล อะลาเมน แต่ส่งที่เกิดขึ้นในปาเลสไตน์คือ การแสดงความเป็นศัตรูของประชาชนเพิ่มขึ้นมาก สมาชุกกลุ่ม สเติร์น แก๊ง Stem Gana ของชาวยิวได้แะทะกับตำรวจ ในปี 1944 ชุมชนยิวพยายามฆ่าข้าหลวงใหญ่ สิ่งก่อสร้างต่างๆ ของรับบาลถูกโจมตี ผุ้บังคับบัญชาการในกองทัพอังกฤษในตะวันออกลางได้กล่าวตำหนิชุมชนเหล่านั้นว่า "พวกหัวรุนแรงกำลังขัดขวางต่อความพยายามของอังกฤษและกำลังช่วยเหลือศัตรู" พฤศจิกายน 1944 รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ ถูกสมาชิก 2 คนของกลุ่มสเติร์น แก๊งฆ่าขณะพำนักอยู่ในไคโร ปี 1945 การโจมตีรัฐบาลแะดจมตีกองทัพอังกฤษเป็นอย่างรุนแรง รวมทั้งสิ่งอำนวนความสะดวกในด้านการคมนาคมก็ถูกทำลายด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าขณะที่ยุโรปหลุดอกมาจากสงครามโลก ปาเลสไตน์ก็เร่ิามทำสงครามอย่างตั้งใจจริง

             ความน่ากลัวของสงครามในยุดรปและการฆ่าหมู่ชาวยิวโดยนาซีเยรมัน ทำให้สถานการณืเลวร้ายอยางมากดดยเฉฑาะในปาเลสไตน์ ความโกรธของประชาชนลุกเป็นไฟรัฐบาลอังกฤษถูกตำหนิพราะได้จำกัดการอพยพของยิวตามบันทึกสีขาว และเพราะการตายของชาวยิวนับแสนคน ผุ้ไม่สามมทรถหลบหนีออกจากยุโรปไทันhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/8017788461867951282

                             https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/410601110201438265

              อังกฤษล้มหลวสนการยุตปัญหาปาเลสไตน์ จึงได้รองขอไปยังสหรัฐอเมริกาให้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหา ทั้งอังกฤษและอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการสอบสวนร่วมกันชือ แองโกล-อเมริัน คอมมิตตี สอบสวนความต้องการของชุมชนยิวยุโรป แต่นาซีเยรมันก็ยังทำการเข่นฆ่าต่อไป กรคณะกรรมการนี้ทำงานไม่ได้ รายงานกล่าวว่่า "การตายของมนุษย์ที่มีควาททุกข์ทรมานที่นัี่นยังคงมีอยุ่ต่อไป"

              ส่วนในปาเลสลไตน์ คณะกรรมการีร่วมพบว่าการทำงานของคณะกรรมการชุดก่อนของอังกฤษ น่าเชื่อถือได้ กล่าวคือรายงานความเป็นศัตรูของอาหรับที่มีต่อไซออนนิสต์นั้นเป็นจริง อย่างไรก็ตามมีความแตกต่างที่สำคัญขงอสภานกาณ์ในปีทั้ง 2 คือ 1936และ1946 ก็คือฝ่ายยิวมีพลังใหม่เพื่อมากขึ้นอย่างเข้มแข็งและมั่นคง องค์การยิวมีกองทัพที่ไม่เป็นทางการชือ ฮากานาฮ์ ซึ่งคาดว่ามีกำลังกสว่า 60,000 คน คณะกรรมการร่วมรายงานว่า "ยิวมีกองทัพใหญ่โต มีค่าย เต็นท์มากมาย จนมองไม่เห็นพื้นน้ำของทะเลแกลิลร บ้านเรือนถุกครอบครองโยทหาร รถถังเต็มท้องถนน ประชาชนผู้ถูกสงสัยจะถูกจั มีการขว้างระเบิดและยิงกันในเวลากลางคืน" 

             ในขณะเดียวกันรัฐบาลปาเลสไตน์ ขณะกำลังรอคอยรายงานของคณะกรรมการร่วมก็ได้จัดโควต้าผุ้อพยพพันห้าร้อยคนต่อเดือน และกวดขันลงโทษผุ้โจมตีด้วยอาวุธผู้มีปืนในครอบครองและสมาชิกของกลุ่มหัวรุนแรง

   ปี 1946 สภานกรณืในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างเลวร้ายเป็นการกระทำของยิวคือ กลุ่มคอมมารนโดของฮากานาฮ์ ที่ชื่อ พัลมัช ได้ทำลายสะพาน 9 แห่งในที่ต่างของประทเศ กลุ่มสเติร์นแก๊งของยิวได้โจมตีทางรถไฟในไฮฟา และในคือวันที่ 16 กลุ่มอิร์กัน ของยิวเช่นกันได้ลักพาตัวข้าราชกรกองทัพดอังกฤษจำนวน 6 คน และกักขัะงไว้ รัฐบาลอังกฤษชีว่่าองคึ์การยิวที่ชื่อ ฮากานาฮ์  ใ ในมิถูนายน ปีเดียวกัน รัฐบาลจับกุมสมาชิกคนหนึ่งขององค์การยิวและยึดสำนนักงานใหญ่ตลอดจนทำการค้นและยึดเอกสารได้จำนวนหนึ่ง ประชาชนกว่า สองพันเจ็ดร้อยคนถูกจับ กว่า เจ็ดร้อยคนถูกขังหลังการสอบสวน คาดว่าส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของพัลมาช กองทัพอังกฤษพบอาวุธจำนวนมากและยึดมาได้ ในการตอบโต้ อิรฺ์กันจึงได้เผาดรงแรม คิงเดวิด ซึ่งเป็นที่พักอาศัยของตณะทำงานอาวสุโสของรัฐบาลแห่งปาเลสไตน์

           ขณะเดียวกันในลอดดอน ข้าราชการอังกฤษและอเมริกา ถกเถียงกันถึงความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหาปาเลสไตน์ คนเหล่านั้นเห็นด้วยกับการแบ่งปาเลสไตน์ออกเป็นเขตยิวและเขตอาหรับ และให้แต่ละเขตกลายเป็นรัฐรัฐหนึ่ง ซึ่งต่างก็มีอธิปไตย แผนการณืตามความคิดนี้ได้เคยมีความพยายามทำาแล้วเมื่อ สองสามปีที่ผ่านมาโดยข้าราชการอาณานิคมเสมือนป็นหนทางสุดท้าย ดังที่ได้ห็นแล้วว่าได้มีการพิจารณาผนการณ์ในลอนดอน ซึ่งผู้แทนของประเทศอาหรับทั้งหลายพากันคัดค้าน ไม่ว่าจะเป็นยิวในปาเลสไตน์ หรืออาหรับปาเลสไตน์ก็ไม่ยอมรับแผนการณ์ดังกล่าว เป็นที่รู้กันแล้วว่าความต้องการของอาหรับยังคงเหมือนเดิมคือปาเลสไตน์จะต้องเป็นประเทศเอกราชปกครองโดยประชาชนเพื้นเมืองกลุ่มใหญ่(อาหรับ) ขณะเดียวกันชนกลุ่มน้อย(ยิว) ก็จะมีสิทธิของตนด้วย ความต้องการของไซออนนิสต์ก็เช่นกัน คือ ปาเลสไตน์จะต้องเป็นรัฐยิว โดยเปิดโอกาสให้แก่การอพยพของยิวซึ่งควบคุมดยองค์็การยิว

              อยางไรก็ตาม อังกฤษมีความพยายามที่จะประนีประนอม ดังนั้นในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1947 อังกฤษจึงเสนอว่า ปาเลสไตน์ควรถูกปกครองในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตีเป็นเวลา 5 ปี โดยให้รัฐบาลท้องถ่ิน มีอำนาจอธิไตย ในพื้นที่ที่มียิวและอาหรับเป็นชนกลุ่มใหญ่ข้อาหลวงใหญ่อังกฤษจะต้องรับผิดชอบในการให้ความคีุ้มครองชนกลุ่มน้อยพร้อมกับผุ้ลี้ภัยอีกประมาณ แสนคน โดยให้เข้าสุ่ปรเทศได้ ในป 2 ปีแรก แต่ปรากฎว่าข้อเสนอนี้ถุกคัดค้านจากฝ่ายอาหรับโดยคณะกรรมการชั้นสูงของอาอาหรับและจากองค์การยิว


                                ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf

             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...