ตนเองในปะระเทศอาหรับทั้งหลาย พร้อมกับการจากไปของกองำลังทหารอในดินแดนอาณัติ รัฐบาลแห่งชาติที่ก่อตั้งขึ้นใหม่มีอำนาจที่แท้จริงและมีความารับผิดชอบมากกว่าที่เคยมีมา
เมื่ออกาหรับทั้งหลายได้รับเอกราชวัตถุประสงค์เกิมคือการต่อสู้แห่งชาติเพื่อความเป็นอันหนึ่งอันกเดียวกัน การได้รับเอกราช และลัทธิชาตินิยมได้นำรัฐบาลอาหรับมุ่งความสนใจไปสู่ปัญญาเดียวกันันั้นคือ ปัญหาปาเลสไตน์ โดยความสนสจของอาหรับต่อปัญหาปาเลสไตน์มีมานานแล้ว ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ชาติอาหรับมีความไม่ไว้ใจกัน กองทัพขาดประสิทธิภาพมีเพียงจอร์แดนที่มีกองทัพที่เข้มแข็งแต่มีจำนวนน้อย เกิดการระสำ่ระสายจากเหตุลอบสังหารนายกอิยิปต์เหตุจาความไดม่พอใจในการบริหารประเทศที่ไม่มีประสิทธิภาพตามด้วยการจลาจล ทำให้อิสราเอลได้บุคเข้ายึดดินแดนภาคใต้ที่เคยเป็นดินแดนในอาณัติได้ อังกฤษจึงประกาศว่่าจะนำสัญญา ค.ศ. 1936 มาใช้เพื่อเข้าแทรกแซงอิยิปต์ในกรณีที่เกิดความไม่สงบ นอกจาว่าอิสราเลอจะถอนกำลังออกจากอิยิปต์ และเกิดความสงบขึ้นภายในประเทศ รัฐาบอียิปต์ม่ต้องการให้เกิดการแทรกแซงจึงแจ้งต่อ องค์การสหประชาติว่าพร้อมเจรจาพักรบ
เกิดการวิพาก์วิจารณ์ถึงความพ่ายแพ้ของอาหรับอย่างกว้างขวาง หนึ่งในนั้น ชาวปาเลสไตน์ มูซา
อลามี หนึ่งในคนสำคัญในการก่อตั้งสันนิบาตอาหรับ ความว่่า
"ในการเผชิญหน้ากับศัตรู อาหรับมิใช่ปรเทศเดียว แต่เป็นการรวมกันของประเทศเล็กๆ เป็นกลุ่มๆ ไม่ใช่ชาติ แต่ละประเทศก็กลัวกันเอง เผ้ามองซึคงกันและกันอย่างขุ่นเคือง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับพวกเขาและเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดนโยบาย มิใช่เพื่อการรบชนะสงคราม และเพื่อการทำให้ปาเลสไตน์ปลอดภัยจากศัตรู แต่สิ่งที่พวกเขาต้องการซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังการต่อสู้นั้นคือ ใครจะเป็นคนสำคัญที่สุดในปาเลสไตน์หรือการผนวกปาเลสไตน์ไว้กับประเทศตนและที่สำคัญคือ ทำอย่างไรพวกเขาจึงจะทำให้ควาททะเยอทะยานของผุ้นำแต่ละคนบรรลุความสำเร็จได้อย่างแท้จริง แต่จุดมุ่งหมายที่พวกเขาประกาศออกมาก็คือ การช่วยให้ปาเลสไตน์พ้นภัยและยังพูดอีกว่าเมือปาเลสไตน์พ้นภัยแล้ว ประชาชนของปาเลสไตน์จะป็นผุ้กำหนดโชคชะตาของตนเอง นั้นเป็นการพูดโดยใช้ลิ้นเท่านั้น แต่ในใจของพวกอาหรับทั้งหลายปรารถนาที่จเะได้มันมาไว้กับตน และแล้วทุดคนต่างก็รับหาทางป้องกันไม่ให้อีกประเทสหนึ่งเข้าไปเป็นใหญ่ ปาเลสไตน์แม้ว่าจะไม่มีอะไรเหลือ นอกจากกองขยะและกระดูก"
ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศอาหารับทั้งหลายที่มีต่อกันยังคงเป็นคำภามที่หาคำตอบไม่ได้โดยเฉพาะด้านการเมือง พื้นฐานทางอุด่มคติองอากรับก็แตกต่างกันจและในประเด็นที่มีความเคลื่อนไหวไปสู่สหันธรัฐซอาหรับหรือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับซึงกระทำมาแล้วตั้งแต่ปี 1919 เมือซารีฟ ฮุสเซนแห่งเมกกะได้ประกาศตนเป็นกษัตริย์ของชาวอาหรับ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศอาหรับได้ก่อตั้งสันนิบาตอาหรับขึ้น แต่สนันนิบาตอาหรับมักจะเป็นสนามรบเท่าๆ กับเป็นคณะกรรมการความร่วมมือ ซึ่งมีผลกระทบต่อนโยบายสำคัญขงอสมาชิกสันนิขาต สันนิบาติอากรับพยายามที่จะร่วมมือกันในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสงครามปาเลสไตน์แต่ีควาพยายามดังกลาวก็ล้มเหลว ความพยายามของสันนิบาตอาหรับในการสร้าง "อาหรับปาเลสไตน์" เป็นเพียงการทำให้ความแตกต่างอย่างลึกซึ่งระหว่างรพะจ้าฟารุคแห่งอียิปต์และพระเจ้าอับดุลลาห์แห่งจอร์แดนกลายเป็นประเด็นขึ้นมาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ขณะที่พรเจ้าฟารุคถูกทืำรัฐประหารและอียิปต์ก็ได้รัฐบยาลของคนหนึ่มที่เป็นทหารและมีการปฏิรูป ขณะที่อิรักและซาอุดิอาระเบียยังคงอยุ่ภายมต้การควบคุมของสิ่งที่ชาวอียิปต์มองว่าเป็นระบการปกครองแบบเก่า ดังนั้นความสนับยสนุนที่จะได้รับอิยิปต์จึงขาดแคลนอย่างเห็นได้ชัด
ทอม ลอิเตล นักหนังสือพิมพ์และนักเศรษฐศาสตร์ของตะวันออกกลางได้เขียนไว้เมือ ตุลาคม 1955 ในการประชุมสันนิบาตอาหรับที่ีไคโรว่า " มีการประชุมาสนันิบาตอาหรับที่ไคโร ในบรรยากาศที่เป็นมิตรภายหลังการโต้เถียงอย่างรุนแรงระหว่างอิรักและอิยิปต์ระหว่าง 9 เดื่อนแรกของปี 1955 นนับเป็นการเพียงพอที่จะรับประกันความพอใจของรัฐบุรุษอาหรับ..ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับไม่ได้คงอยู่ ฉันขอถามวา่แล้วมันเคยมีหรือไม่... สันนิบาตอาหรับเกิดจากความไม่สามารถที่จะรวมกับทางการเมืองอ ชาวอาหรับได้เยี่ยบย่ำความฝันของตนอย่างรุนแรง"- ปัญหาพรมแดน ในความเป็นจริงตะวันออกกลางไม่เคยพบกับความสงบอย่างแท้จริง ทั้งที่มีการสงบศึกในฤดูใบไม่พลิ 19489 จากสงครามปาเลสไตน์คร้งแรก แต่พรมแดนของอิสราเอลมีลักษณเป็นแนววหน้ามากว่าเป็นพรมแดน ทุกๆวันจะมีปัญหาต่างๆ การจลาจล การโจมตีของหน่วตนคอมมานโด การส่งทหารไปป้องกัน การยิต่อสู้กัน และการยิงข้ามพรมแดนระหว่างซีเรีย-อิสราเอล จอร์แดน-อิสราเอล และอียิปต์-อิสราเอล ทั้งหมดนี้เป็นการปฏิบัติการอย่างธรรมดาซึ่งเกิดขึ้นทุกๆวัน เหตุกาณ์นับพันะรือ่งที่เกิดขึ้นระหว่าง ปี 1949-1955 สร้างปัญหาความยุ่งยากให้กับคณะกรรมการร่วมกันขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งทำหน้าที่ดูแลการสงบศึกชั่วคราว
เส้นแนวสงบศึกก็ถูกลากตามยถากรรมเพียงให้พอเหมาะกับแผนการณ์ทางทหารมากกว่าจะคำนึงถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมหรือแม้แต่เกณฑ์ทางจุดยุทธศาสตร์นับว่าเป็นพรมแดน ที่เลวร้ายทีุ่ด ในบริเวณพรมแดนจะมีชาวอาหรับประมาณ 150,000 คน ซศึ่งไม่ใช่พวกที่อพยพเข้ามาแต่เป็นพวกที่ได้รับบาลเจ็บในสงครามปาเลสไตน์ คนเหล่านี้มีความรู้สึกโกรธ หิวโหย และผิดหวังในวิ๔ีชีวิตการเมืองของจอร์แดน ที่ซึ่่งพวกเขาส่วนใหญ่เขั้าไปอาศัยอยุ่
- ปัญหาผู้ลี้ภัยอาหรับ มีจำนวนนับล้านๆ คน กระจัดกระจายอยุ่ในประเทศอาหรับที่อยุ่รอบด้าน อาศัยอยู่ในค่ายผุ้ลี้ภัยโดยได้รับเงินบช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติในอัตราคนละน้อยกว่า2 ดอลล่าร์ต่อเดือน องค์การสหประชาชาติให้การักษาพยาบาล อาหาร แต่พวกอาหรับเหล่านี้มีความรู้สึกตำ่ต้อย หมดหวังมีความทรงจำในอดีตและฝันถึงอนาคต จำนวนผุ้ลี้ภัยเพ่ิ่มมากขึ้นทุกปีๆ หนึ่งในผู้ลบี้ภัยเป็นผู้ฆ่าพรเจ้าอับดุลลาห์ รัฐบุรุษอาหรับแห่งจอร์แอน ความต่ำต้อย ความละอาย เป็นคำฟ้องของพวกเขาต่อรัฐบาลอาหรับทั้งหลายที่เคยสัญญาว่าจะปกป้องพวกเขา
- การโจมตีของอิสราเอล ซึ่งพร้อมจะโจมตีต่อเหตุการ์บริเวณพรมแดนที่กำลังดำเนินอยู่ ดังนั้นในปี 1954 กองทัพอิสราเอลโจมตีเมือง นิวห์หาลิน ในจอร์แดนและโจมตีฉนวนกาซา ในเดือน กุ่มภาพันธ์ 1955 ซึ่งเป็นฐานทัพทีั่สำคัญของอียิปต์ก็กลายเป็นเป้าของกองทัพอิสราเอล ชาวอียิปต์บาดเจ็บและตายกว่า 70 าคน อียิปต์ตระหนักว่าต้องมีอาวุธที่ดีกว่านี้ ครั้งอียิปต์ไม่สามารถหาอาวุธจากตะวันตกตามต้องการ อิยิปต์จึงแสวงหาจากที่อื่น กันยายน 1955 นสเซอร์ ประกาศว่า เช็กโกสโลวาเกยจะจัดหาอาวุธจำนวนมากให้แก่อียิปต์
การประกาศดังกล่าวทำให้สหรัฐพิจารณาเห็นถึงอันตราย แต่สำหรับอาหรับโดยเฉพาะอียิปต์ยังคงรู้สึกถึงประวัติศาสตร์ที่ขมขื่นอันยาวนานในการมีความสัมพันธ์กับตะวันตก จึงพอใจเช็กโกสโลวาเกีย นัสเซอร์ ได้ทำในส่ิงที่ไม่มีใคีรคิดว่าจะเป็นไปได้ เขาใช้สงครามเย็นในการทำให้กิจกรรมของอาหรับเป็นเรื่องระหว่างชาติ ดังนั้นจึงปรากฎการชัดว่านัสเซอร์ ได้รับความช่วยเหลือจากทั้งโลกตะวันตกและโลกตะวันออก
การต่อสู้บริเวณพรมแดนรุนแรงมากขึ้น กองกำลังอิสราเอลโจมตีฐานทัพซีเรีย โจมตีฐานทัพอียิปต์ และโจมตีกองรักษาด่านของซีเรีย ในเวลาไล่เลี่ยกัน จากการดจมตีเหล่านี้ทำให้อิสราเอลถูกตำหนิโดยคณะมนตรีความมั่นึคงแห่งชาติ ชาวอาหรับมองดูว่าอิสราเอลเป็นประเทศตะวันตก ส่วนประเทศอาหรับโดยเฉาพาะอียิปต์โฆษณาชวนเชื่อต่อต้านตะวันตกมากขึ้น ในจอร์แดนมีการเดินชบวนต่อต้านรัฐบาลเป็นฝ่ายตะวันและต่อต้านสัญญาแบกแดด รัฐบาลอ่อนแอและความรุนแรเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่ง ปี 1956 ขจ้เาราชการชาวอังกฤษซึ่งเป็นผุ้บังคับบัญชากองทัพจอรืแดน ถูกปล่อยตัว ซึ่งเชอาจเป็นเพราะความเคลื่อนไหวโดยรัฐบาลจอร์แดน....
ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-5.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น