เมื่อเหตุกาณ์การปะทะกันระหว่างกองโจรปาเลสไตน์ และรัฐบาลจอร์แดนซึ่งเรียกว่า เหตุกาณ์ แบ็ก เซฟเทบเบอร์ (ๅBlack September) ได้สิ้นสุดลง ในเดือนกันยายน 1970 เป็นเวลาเดียวกับที่ประานาธิบดีนัสเซอร์สถึงแก่อาัญกรรม "อันวาร์ ซาคัท ผู้ซึ่งชอบความประนีประนอม คนทั่วไปมักปเรียบวา ซาคัทป็นชาลี แชปลิ้น ที่มาแสดงบทบาทของ เจมส์ บอนด์ เข้าขึ้นครองตำแหน่งท่ามกลางสรพันปัญหา แต่ก้สามารถเป็นผู้ปกครองที่แท้จริงของอิยิต์ การต่อสุ้ของซาคัททำเพื่อรักษาตำแหน่งของตนเองและเพื่อแก้ปัญหาในอีิยิปต์ แต่ก็มีัการวิพากษ์วิจารณืวว่าอีิยิปต์อยุ่เบ้องหลังสงครตามระหว่าอาหรับกับอิสราเอลครั้ต่อมาซึในเดือน ตุลาคม ปี 1973
ขณะที่เหตุการความขัดแย้งในปาเลสไตน์ได้รับความสนใจจากประชนเป็นอยางมาก ระว่ารงปี 1972-1973 รัฐบาลอาหรับทั้งหลายต้องเผชิญกับปัญหาการโจมตีกันตลอดระยะเวลาดังกล่าว เช่น อิสราเอลโจมตีเลบานอน มกราคม 1972 อาหรับโจมตีทีมโอลิมปิกของอิสราเอลอยางรุนแรงที่เมืองมิวนิค กันยายน 1972 และอิสราเอลยิงเครื่องบินลิเบียพร้อมผุ้โดยสาร 108 คน ในเดือน กุมาภาพันธ์ 1973 และอิสราเอลใช้หน่วยคอมมานโดยิงเมืองเบรุตในเดือนเมษายน 1973 ทำให้สัญญาการพักรบชั่วคราว ปี 1970 เกิดการสั่นคลอน เนื่องจากความล้มเหลวของ๕ระกรรมการจากอเมริก อิยิปต์จึงพยายามหาทางให้ได้รับควาข่วยเหลือมาขึ้นจากโซเวียตเพื่อการคงอยู่ของกำลังทหารและกองทัพ แต่โซเวียตก็ให้ความช่วยเหลือได้เพียงเล็กน้อย ขณะเดียวกันอิสราเอลก็ไม่เต็มใจที่จะทำข้อตกลงยินยิมใดๆ ณะที่อเมริกายังแสดงท่าที่ที่เยือกเย็นแะเหนห่างจากอียิปต์ แต่สนับสนุนอิสราเอลอย่างเต็มที่
อิยิปต์ต้องสูญเสียแหล่งน้ำมันใน้แก่อิสราเอล คลองสุเอลถูกปิด ค่าใช้จ่ายสในการรักษาความปลอดภัยสูงมากประมาณมากว่า 25% ของรายได้ของประเทศ และยงมีการทำรัฐประหารเกิดขึ้นในประเทศถึง 2 ครั้ง การวิพากษืวิจารณืในปมุ่คนหนุ่มหัวรุนแรงก็เพ่่มมากขึ้นเรื่ยๆ แม้แต่ในหมู่ผุ้ที่รู้คำตอบก็ยังอดสงสัยไม่ได้ว่าทำไมทั้งที่ อิยิต์มัีกองทัพใหญ่ฝโตมีอาวุธพร้อมแต่หตุใดรับบาลจึงยินยอมให้มารยึคดพื้นที่ กว่า 26,000 ตารางไมล็ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างจากมืเงอหลวงเพียงไม่ถึง 100 ไมล์
อียิปต์ได้รับการช่วยเหลือจากรัศเซีย โดยชาวรัศเซียต้องการให้ตนมีอิทธิพลต่อโลกเอเซีย-แอฟริกา แต่อย่างไรชาวรัสเซียก็มิได้ทำเช่นนั้นเพราะจะก่อให้เกิดคามตึงเครียดอย่างมากกับอเมริกา ดังนั้นเมือประธานาธิบดี ซาคัทเดินทางไปเยือนมอสโกในเดือนกุมภาพันธ์ 1972 เพื่อขอาวุธใหม่ จากรัศเว๊ย เขาจึงได้รับการปฏิเสธ แม้ในการเดินท่างไปเยือนในครั้งก็ได้รับการปฏิเสธอีกเช่นกัน และการเดินทางไปมอสโกครั้งที่โดยส่งนายกรัฐมนตรี ดร. ฮาซีซ วซิดโก เดินทางไปมอสโกด้วยจุดประสงค์เดิม ก็ถูกปฏิเสธอีกเช่นเดิม ประธานาธิบดี ซาคัม ซึ่งทั้งโกระและผิดหวังจึงสั่งให้ถอนทหารชาวรัสเซียกว่า 40,000 นายออกไปจากประเทสทันที และได้ส่งกอทัพอียิปต์ไปควบคุมฐานต่างๆ ของโซเวียตที่เคยอยู่ในอียิต์
อิสราเอลยังคงดำเนินนโยบายแข็งกร้าวต่อไป นางโกลเดอร์ แมร์ นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ตั้งเจตุจำนงไว้ 5 ประการ คือ
- การรักษาพื้นที่ทั้งหมดของที่ราบสูงโกลันในซีเรีย
- การมีสิทธิในการปกครองเหนือพื้นที่ฝั่งตะวันตก (เวสท์ แบงค์ แอเรีย) และมีอำนาจเหนือประชาชนอาหรับที่อาศัยอยุ่ที่นั่น
- การมีอิทธิพลเหนือน่านน้ำเมดิเตอร์เรเนียน
- การรักษาฉนวนกาซา
- การรักษา ชาม เอล ซิค และเส้นทางภายนอกที่เชื่อมกับอิสราเอล
อิสราเอลไม่สนใจต่อการเจรจาที่ยุติปัญหาใดๆ ทังสิ้น และไม่ไม่มีทีท่าจะยอมรับข้อเสนิของอียิปต์
.ในวันที่ 8 ธันวาคม 1972 สมัชชาใหญ่ออกเสียง 86ต่อ 7 โดยไม่ให้สมาชิกจัดหาเงินช่วยเหลือิสราเอล เพราะเงินดังกล่าวจะช่วยให้อิสราเอลสามารถรักษาดินแดนที่ยึดครองไว้ได้นาน อยางไรก็ตามสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนใหญ่ได้ออกเสียงต่อต้านมาตรการของสมัชา
อิยิปต์เบือกใช้วิธีการทางการทูตและแนนอนวาจะต้องเปิดทางไปสู่สงครามอย่างแนนอน วิธีการนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของนโยบาย Forward Policy มีเหตุการหลายอย่่างที่ชี้ให้เห็นว่าอิยิปต์พร้อมทำสงคราม คณะทูตพิเศษของอียิปต์ที่เดนทางไปตามเมืองหลวงของประเทศต่างๆ ล้วนได้รับการต้อนรับด้วยคำพูดที่แสดงความสงสารและเห็นอกเห็นใจ
อิสราเอลพิจารณาเห็นนดยบายอันก้าวร้าวทางการทูตของอียิปต์ จึงโต้ตอบดดยย้ำเน้นถึงวิถีทางที่แข็งแกร่งต่อไป อิสลาเอล พิจารณาเห็นว่า ด้วยเจตจำนงของอิสราอล อาจไม่เติมเต็มด้วยสันติภาพ นดยบายของอิสราเอลจึงเป็นไปในทางลบ นั้นคือ ทำให้ความหวังของกำลังอาหรับต้องต้องพังทลาย ความหวังจะได้รับความคุ้มครองของรัสเซียและ ความหวังที่สหประชาชาตคิจะเข้ามาแทรกแซง ถ้ากอหาหรับถูกขัดขวางและถูกบังคับให้จนมุม ชทวอาหรับก็คงตระหนักดีว่าการเชผลิญหน่ากับอิสราเอลเป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ซาคัด ก็ตระหนักดีในเรื่องดังกล่าว เขากล่าว่า เขารุ้สึกว่าสงครามจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายใน
เวลา 2-3 เพือนนี้ แม้แต่ผุ้สังเกตุการณ์ที่มีความีคุ้นเคยกับตะวันออกลางและรัสเวียก็มีควารมเห็นไปในทิศทางเดียวกัน ขณะที่ความคึงเครียดกำลังเพ่ิมมากขึ้น ข้าราชการชาวรัสเซียได้เตือนผุ้มีส่วนร่วมชาวอเมริกันดยเน้นถึงคำภามประเด็นหนึ่งว่่า ไสงครามจะเกิดขึ้นเมือไรและจะต่้อสุ้กันเพื่อคุนค่าอะไร"
ความก้าวร้าวทางการทูต เกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม เมือสามาชิกคณะมนตรีความมั่นคงจำนวน 13 คน จาก 15 คนได้ออกเสียงแสดงความเสียใจที่อิสราเอลยังคงยึดครองดินแดนของอาหรัต่อไป จึงไม่ออกเสียงขณะที่อเมริกาออกเสียงคัดค้านผลสรุป สำหรับอาหรับดุเหมือนว่าจะใช้ทางเลือโดยวิธีทางการทูตถูกปิดกั้นลง และความสามารถของพวกเขาในการบังคับใช้มติ 242 จะต้องถูกตัดเพราะการคัดค้านของอเมริกา
จากเหตุการดังกล่าว นายเดวิด โฮลเดน รายงานจากลอนดอน ออฟเซิฟเวอร์ แบับวันที่ 29 กรกฎาคม 1973 ว่า "ชาวอิสราเอลโต้เถียง..และชาวอเมริกาสนับสนุนพววกเขา..ถ้าพวกอาหรับถุกตัดสิทธิทางเลือกทั้งหมด..พวกเขาก็จะเก็บความภาคภูมิใจเอาไว้ในใจและยอมรับความจริงว่ อิสราเอลมีอำนาจสุสุด"
ขณะเดียวกัน การจัดหาอาวุธจาโวเวีตได้เริ่มมาถึง ซีเรียได้รับคำสัญญาในเดือนพฤษภาคมว่าจะไดรับเครื่องบินต่อสู้อากาศยาน มิกซ์ 21 จำนนมากละรวมทั้งจรวดต่อสู้อากาศยานด้วย ในปี 1973 ซีเรียได้รับความช่วยเหลือประมาณ 200 ล้านดอลลาร์ ขณะเดียวกันยูโกสลาเวียก็ได้เริ่มให้เครื่องบินต่อสู้อากาศยานใหม่แก่อิยิปต์อย่างเงียบๆ
ปลายเดือนมิถุนายน ประธานาธิบดีซาคัทและประธานาธิบดีอัสซัดแห่งซีเรยได้ร่วมกันจึดตั้งแนการรบ อีิยปต้องเป็นผุ้มีส่วนร่วมที่อาวุโสที่สุดและซีเนียต้องจำกัดจุดประสงของตนเพื่อที่จะกระทให้สองคล้องกันเ ในทีุ่สุดอิยิปกไนกดวันที่ 8 ตุลาคม วซึ่งเป็นวันไม่เพียงแต่อากาศดี พระจันทร์เต็มดวงเท่านั้นแตยังเป็นวันที่มีความสำคํยทางศาสนาอีกด้วย เป็นวันที่พระมะหะหมัดเร่ิมเตียมแผนกาณ์สำหรับการรบครั้งแรกที่สำคัญที่สุดของอิสลาม นั้นคือ "การสงครมแห่งบาตร์ไ ซึ่งได้ชัยชนะหนือเมกกะ
อิสราเอลเปิดฉากสงครามในวันที่ 13 กันยายน กองกำลังอากศปฏิบัติการปฏิบัติการนอกชายฝั่งซีเรียและยิงเครื่องบินซีเรียตก 8 ลำ ประธานาธิบดีซีเรยกล่่าวว่าการกระทำของอิสราเอลเป็นการท้าทายอย่างก้าวร้าวและกล่าวว่าสงครามได้เร่ิมต้นขึ้นแล้ว
เป็นที่น่าสังเกตวาแผนการณ์สำหรับการปกิบัติงานทางทหารในสงครามเดือนตุลาคมนั้้น อิยิปต์ไม่ได้มีความคิดวาพวกเขามีความสามารถเอชนะอิสราเอลได้ ฝีมือที่ไม่เสมอกัน ระหว่างอหาอาหรับและอิสราเอลซึ่งเห้นมาแล้วในสงครามปี 1948 ก็ยังคงเป็นอยู่อย่างนั้น ตลอจนความไม่เขั้นพื้นฐาน อิสราเอลป็นประเทศที่เจริญก้าวหน้า ส่วนอาหรัีบเป็นประเทศที่ยากจน้าหลังและยังไม่พัฒนา
ผุู้้สังเกตุการเชื่อว่าอิยปิต์ต้องการให้มหาอำนาจเข้าแทรกแซงอย่างน้อยก็ในระยะแรกของสงคราม ดังที่หนังสือพิพม์ ซันเดย์ ไทมส์ ทีม ได้วิเคราะห์เหตุกาณ์ดังนี้
" คิงซิงเจอร์ต้องการให้อิสราเอลพ่ายแพ้แต่อยุ่ในขอบเขตจำกัด แต่ก็ใหญ่พอที่จะสร้างความพอใจให้แก่อาหรับ และทันสมัยพอที่จะทำให้หมดข้อสงสัยในชัยชนะของการโฆษณาชวนเชื่อสหรับรัสเซีย สุขุมพอที่จะสามารถนำอิสราเอลมาสู่การประชุม และน่าเชื่อถือได้พอที่จะหลีกเลืี่ยงการพังทลายของรัฐบาลของนางแมร์"
ในวันที่ 16 ตุลาคม ประธานาะิบดี ซาคัท เร่ิมต้นการเจรจาเพื่อสันติแต่ในขณะเดียวกัน ซาคัทไม่รุ้ว่่าอิอสราเอลทำลาแนวป้องกันของอิยปต์เพื่อหาทางข้ามคลองบริวณทิศใต้ของเมืองอิสไมเลีย และเพื่อให้แนวป้องกันของอียิปต์ถูกตัดขาดจากหน่วยกองกำลังที่ 3 อิสราเลมีัชัยชนะเเหนือกองทัพอิยิปต์ทางภาคใต้
อิหร่าน ประกาศว่า สมาชิก กลุ่ม "เปอร์เซีย
น กลัฟ" แห่งโอเปค ซึ่งเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันได้มาพบกันที่คูเวตเพื่ออภพปรายถึงปฏิกริยาของวพวกตนต่อวิกฤตกาลของตะวันออกกลาง ผุ้เแทนของอิหร่านซึ่งเป็นประเทศสำคัญที่จัดหาน้ำมันให้แก่อิสราเอลก็ได้เข้ามีส่วนร่วมในการประชุมด้วย อย่างไรก้ตาม แม้ว่าอิหร่านจะม่ชอบการควำ่บาตร แต่สถากาณ์ก็ทำให้นำ้มันทีราคาสูงขึ้น และอิหร่านก้เตรียมพร้อมที่จะมีสัมพันธ์อันดีกับประเทศอาหรับเพื่อนบ้าน ไมนัส ปรธานชาวอิหร่านนผุ้ซึ่งได้ออกจากรประชุมก็ออกเสียงให้หยุดส่งน้ำมันจนกว่ามติ 242 ข้อของคณะมนตรีความมั่นคงจะถูกนำมาสช้
ซึ่งมีอานุภาพเป็นอย่างมาก ดยางไรก็ตาม ตลอดวิกฤต รัฐบาลซาอุดิอาระเบียคัดค้านการขึ้นระคาน้ำมันเพราะซาอุดิอาระเีและอเมริกามีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มีเพียงญี่ปุ่นและฮอลันดาที่มีความสัมพันะ์ทางการค้ากับอิสราเอล และโปรตุเกสซึ่งเป็นศัตรูสำคัยของลัทธิชาตินิยมแอริกาที่ไม่ให้ใช้วิธีที่รุนแรง แต่ะจะมีประเทสใดที่จะเข้าช่วยเหลือชาติอาหรับ
พระเจ้าไฟซาแห่งซีเรียส่งรัฐมนตรีต่างประเทศ ไปพบประธานาธิบดีนิกสันเพื่อกรุตุ้มนให้อเมริกาช่วยยิติปัญหาในตะวันออกกลาง หลังจากนั้นไม่นานทำเนีบขาวได้ข้อ้องสภาคองเหรสตั้งวบประมษรช่วยเหลือกองทัพอิสราเอล พระเจ้าไฟซาลแห่งซีเรรยไม่พอใจอย่างมากจากการกระทำของอเมริกา จึงงดส่งน้ำมันทั้งหมดสุ่อเมริกาการเผลิญหน้าทางการทุตและเศราฐกิจระหว่างอาหรับกับมหาอำนาจเป็การบั่นทอนฐานะทางทหารของอิยิปต์ และการเผชิญหร้าดังกล่วเป็นการเชื้อเชิญทั้้ง รัสเซีย และอเมริกเข้ัาแทรกแซงวิกฤตกาลในตะวันออกกลาง
ทั้งอเมริกาและโซเวียตสนับสนุนมติของคณะมนตรีความมั่นคง โดยขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติกิจกรรมทางทหารอยางทันที และเร่ิมต้นใช้มติที่ 242 ของคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนั้นคณะมนตรีความมั่นคงยังเรียกร้องให้ทุกฝ่ายเริ่มหาทางเจรจาเืพ่อสร้างความยุติธรรมและสันติภาพอย่างถาวร สงครามแนวรบอิยปิปต์ค่อยๆ ลดลง และ แนวรบซีเรียหยุดยิงในเพื่อนพฤษภาคม 1974
สงครามในครั้งนี้ทำใหป้ระวัติศาสตร์อาหรับเปลี่ยนไป และในที่สุดก็ปรากฎชัดว่าชาวอาหรับมีความสามารถโดยปราศจการทำให้ต่ำต้อยและความอ่อนแอในอดีตที่ผ่านมา เพื่อที่จะกลับไปแก้ปัญหาด้านสังคม เศรษฐกิจและมีความหวังในภายภาคหน้า...
ที่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-8.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น