สงครามนี้แบ่งออกเป็นสองระยะ ระยะแรกเป็นสคงามกลางเมืองในปาเลสไตน์ในอาณัติปี 1947- 1948 นับตั้งแต่สหประชาชาติลงมติให้แบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐเอกราชยิวและอาหรับ และเยรูซาเลมซึ่งอยุ่ภายใต้การบริหารของนานาชาติ (ข้อมติสมัชชาสหประชาชาติที่ 181
อาหรับรวมตัวกันตามแบบ ปี 1936 อาหรับเริ่มโจมตีป้านเมืองของชาวยิวและยิวก็ตอบโต้ด้วยการโจมตีอาหรับ ปลายเดือนพฤศจิกายนสถานกาณ์ตึงเครียดและเลวร้ายลงอย่างรวดเร็ว มกราคม 1948 อาสาสมัครอาหรับจากประเทศเพื่อบ้านเร่ิมเข้าสู่ปาเลสไตน์ ผุ้นำอาหรับของการปฏิวัติปี 1936 ก็อยู่ในปาเลสไตน์อีกครั้งหนึ่งพร้อมด้วยอาศาสมัครจำนวน 5,000 คน แต่กระจัดกระจายกัน ถนนตามเมืองจต่างๆและหมู่บ้าถูกตัดขาด ข
ขณะที่อกงทัพอังกฤษเร่ิมถอนตัวออก กองโจรอาหรับก็จู่โจมยบ้านเรือน ถนนจากเทลาวิฟไปเยรูซาเลมถูกตัดขาด ในไม่ช้าทั้งสองฝ่ายต่างจัดตั้งรัฐบาลเงาของตน ซึ่เหตุการณ์ในแต่ละวันนับจากเดือนธันวาคม 1947 ไปถึงเดือนพฤศจิกายน 1948 มีจคนเสียชีวิต ห้าพันคนตลอดทั้ง 5 เดือน ความเสียหายยประามหบายล้านดอลลาร์รถไฟถูกระเบิด มีการปล้นธนาคาร สำนักงานของรัฐบาลถูกโจมตีการจลาจลรุนแรง เกิดไฟไหม้การะปะทะกันระหว่างกองทัพและกลุ่มชนที่แข่ขันกัน
ประเทศอาหรับรอบด้านเตรียมพร้อมสำหรับสงตครมและประกาศว่าพวกเขาของขัดขวางจนตายต่อการตัดสินใจขององค์การสหประชาชาติ อย่างไรก็ตาม
ต้นเดือนเมษายน เหตุกาณ์ต่างๆ ดูเหมือนจะเข้าส๔่ภาวะที่ดีขึ้น กองทัพอังกฤษได้อถอนกำลังไปแล้ว ในวันที่ 20 มีนาคม เลขาธการของสันนิบาตอาหรับได้กล่าวสุทรพจว่าอาหรับจะยอมรับการพักรบชัวคราวและจะยอมเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีที่ถูกจำกัดถ้าองค์การยิวจะตกลง แต่ประากฎว่าผู้นำยิว ปฏิเสธทันที ดังนั้นสถานกาณ์ทีท่ทำว่าจะดีขึ้นก็กลายเป็นการต่อสุ้อย่างรุนแรง ซึ่งดำเนินต่อไปเรื่อยๆ และทั่วปาเลสไตน์ เครื่องบินของยิวได้เข้าร่วมในการต่อสู้เป็นครั้งแรก ต่อมาผู้นำอาหรับซึ่งเป็นหัวหน้าของกางรักษาความปลอดภัยของอาหรับก็ถูกฆ่า ต่อมา อร์กัน พร้อมกับยความช่วยเหลือของฮากานาฮ์ก็เข้าดจมตีและยึดหมุ่ยบ้านเรียร์ เยซิน อิร์กันได้พยายามสร้างความน่ากลัวให้เกิดมากขึ้นในหมุ่ประชาชนอาหรับ มีการฆ่าหมู่ชาวบ้่านทั้งหมด และประกาศการกระทำของตนเอง อาหรับเร่ิมโจมตีบ้านเรือนยิวแลพื้นที่ของยิว แต่ก็พ่ายแพ้ ฮากานาฮ์เร่มตีโต้กองทัพอาหรับ นับจากนั้นกำลังของอาหรับก็เร่ิมพ่ายแพ้ ทั้งในความพยายามและการป้องกันตนเอง ฮากานาฮ์ยึดได้เมืองทิเบเรยส ต่อมาอิร์กัน และฮากานาฮ์ เข้าสู่เมืองไฮฟาได้ และขับไล่ประชาชนอาหรับออกไปจากเมือง ตันเดือนพฤษภาคม เมือง จัฟฟา ก็ถูกประกาศให้เป็นเมืองเปิดภายใต้การควบคุมของฮากานาฮ์และต่อมาฮากานาฮ์ก็ยึดเมืองแอคเค่ได้ จากความพ่ายแพ้ของฝ่ายอาหรับทำให้ชาวอาหรับจากมเมืองต่่างๆ ดังกลาวรีับหนีออกนอกประเทสทันที่ทันใด และแล้วในวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 ทีเมือง เทลาวิฟ นายเดวิด เบน กูเรียน ก็ประกาศการกอ่ตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น ซึ่งจักรวรรดิบริติชกำหนดการถอนกำลังและสลำการอ้งสิทธิ์ทั้งปวงในปาเลสไตน์ในวันเีดยวกัน เมือทหารและกำลังพลบิติชคนสุดท้ายออกจากนครไฮฟา ผุ้นำยิวในปาเลสไตน์ประกาศสภาปนารัฐอิสราเอล และเป็นเวลาเดียวกันที่อกงทัพอาหรับและกำลัรบนอกประเทศของอาหรับที่อยุ่โดยรอบก็บุครองอิสราเอลทันทีสงครามยิว อาหรับครั้งที่ เกิดขึ้นในทันที่ที่อิสราเอลประกาศเป็นประเทศ ในระยะแรกการรบดำเนินอยู่ประมาณ 4 สัปดาห์ องค์การสหประชาชาิตได้เข้าำกล่เหลี่ยย ดดยมีมติจากคณะมนตรีความมั่นคง มิถูนายน 1948 ให้ทั้งสองฝ่่ายทำการหยุดยิงพร้อมเสนอให้รวมปาเลสไตน์เข้ากับจอร์แดนและจัดตั้งเป็นสหพันธรัฐยิว-อาหรับ ซึ่งข้อเสนอดังกลาวนี้ทั้งยิวและอาหรับบต่างปฏิเสธอย่างสิ้นเชง ในเดือนธันวาคมของปีะเดียวกันการสู้รบจึงเกิดขึ้นอีก จาการสู้รบครั้งนี้อิสราเอลสามารถยดนครเยรูซาเลมได้ ทางด้านพรมแดนอียิปต์ก็รุกเข้าเขตนาเกฟ นอกจากนั้นยังสามารถยึดดินแดนบางส่วนของเลบานอนและซีเรยได้อีกอด้วย จาสภาพการดังกล่าว กุมภาพันธ์ 1949 อียิปต์จึงจำยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอล ตามด้วย เลบานอน ซีเรีย จอร์แดนและซาอุดิอาระเบีย เซ้นสัญญาสงบศึกกับอิสราเอลเช่นกัน
ในช่วงสามปีหลังสงคราม ยิวกว่า เจ็ดแสนคนเข้าเมืองอิสราเอลจากทวีปยุโปรและดินแดนอาหรับ หนึ่งในสามออกหรือถูกขับออกจากประเทศในตะวันออกกลางผุ้ลี้ภายเหล่านี้ถูกกลืนเข้าสู่อิสราเอลในแผนหนึ่งล้าน
ที่มา : วิกิพีเดีย
nsion://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI405(48)/hi405(48)-10.pdf
chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-4.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น