ในสภานการเช่นนี้ อังกฤษประสบควาามล้มเหลว ประกอบกับต้องจ่ายทั้งกำลังเงนและกำลังคนอย่างมาก ในที่สุดอังกฤษตัดสินใจนำปัญหานี้ไปสู่องค์การสหประชาาติ ภายหลังจากประชุมกันถึงปัญหานี้ใในสภาสามัญ ในวันที่18 กุมภาพันธ์ 1947 คณะมนตรีความมันคง และสมัชชาใหย่ จงรับปัญหาดังกล่าวไปพิจารณา และในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน สมัชชาใหญ่เสนอให้จัดตั้งคณะกรรมพิเศษสำหรับปาเลสไตน์ UNSCOP United Nation Special Committee on Palestine เพื่อเินทางไปศึกษาสถภานกาณ์ในปาเลสไตน์และหาข้อมูลเพื่อนำมาพิจารณาหาทางแก้ไขปัญาซึ่งข้อสนอนี้ไ้รับการเห้นด้วยจากทุกฝ่าย
ในการเดินทางไปสำรวจครั้งนี้ อาหรับแสดงตนโดยปฏิเสธไม่เข้าร่วมในกาประชุมกับคณะกรรมการพิเศษ ตรงข้ามกับองค์การยิว ได้ให้ความร่วมมือกับ คณะกรรมการชุดนี้และยังหาเอกสารต่างๆ ให้ด้วย ภายหลังจากการศึกษาสภานการณ์ พบว่าผลการศึกแทบจะไม่มีความแตกต่างจากรายงานของคณะกรรมการชุดก่อน
..ปาเลสไตน์มีมีพื้นที่ประมาณ 10,000 ตารางไมล์ เป็นประเทศเล็ก และเพียงครึ่งหนึ่งของพื้นที่เท่านั้นที่มีประชาชนอยุ่อาศัย ถึงแม้จะเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชาชนประมาน 65% มีชีวิตอยุ่โดยกษตรกรรม แต่ประมาฯ 50% ของพืชประเภทข้าวที่ประชานบริโภคต้องสั่งเป้นสินค้าเข้า "ปาลเสไตน์จนกินไป" ในทรัพยากรทังหมดที่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ มีประชาชนอาหรับ 1,200,000 คน ยิว 600,000 คนหรือประมาณ 2:1 เนื่องจากอัตราการเกิดขงออาหรับสูงกว่ายิวมาก ในปี 1960 ถ้าการอพยพถูกห้าม จำนวนประชการจะเพิ่มขึ้นเอง โดยธรราชาติ ประชากรจะประมาณ 5;2 อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการก็พบว่าปัญหาการแบ่่งปาเลสไตน์มีปัญหาซับซ้อนมาก กล่าวคือ "ในเมืองจัฟฟา (รวมแทลาวิฟ) ไฮฟาและเยรูซาเลม มียิวมากกว่า 40% ของประชชนทั้งหมดของเมืองเหล่านั้น ในพื้นที่ภาคเหนือบริวณเมืองทิเบดเรียสและเบซาน มียิว ประมาณ 25% และ 44% ของประชาชนทั้งหมด ส่วนที่เมืองเซเฟด และนาซาเรธ และตามชายฝั่งเมองทุลคาร์ม และแรมเล มียิวประมษณ 10% และ 25% ของประชาชนทั้งหมด ในขณะที่พื้นที่ตรงกลางของภาคใต้ของเยรูซาเลม มีัยิวไม่เกิน 5% ของประชาชนทั้งหมด"
ดังนั้น ปัญหาที่เกี่ยวกับการแบ่งแยกนั้นยุ่งยากมาก แต่ขณะดียวกันความรีบร้อนในการยุติปัญหาก็มีมากกว่าปีก่อนๆ จำนวนผฝุ้อพยพที่ไม่ถูกกฎหมายมีมากถึงกว่า 17,000 ก็กำลังถูกกักขัง และชาปาเลสไตน์็ 820 คน ถูกจับ บรรยารกาศในปาเลสไตน์ตึงเครียดอย่างน่ากลัวตามถนนขงอเมืองเยรูซาเลมและพื้นที่สำคัญๆ มีลวดหนมามกั้น ถนนถูกปิด มีที่ตั้งปืน รถหุ้มเกราะมีอยุ่ทั่วไป และเพื่อความปลอดภัยของข้าราชการของรับบาลและกองทหาร จึงต้องอาศัยอยุ่ในเขตที่ปลอดภัย และทำงานภายในตึกที่ปิดมิดชิด และมียามเฝ้าตลอดเวลา
จากกบทเรีียนารปกครองโดยอังกฤษพบว่า พลังทั้งหมดต้องอุทิศให้แก่ความปลอดภัยของประชาชนและการป้องกันตนเอง อังกฤษกล่าวว่า "ชุมชนใดที่มีจุดมุ่งหมายที่จะได้สิทธิทางการเมือดดยการใช้กำลังนั้น อังกฤษไม่ยอมรับ เนื่องจากต้นปี 1945 ที่ยิวได้เรียกร้องสิทธิอันนี้แล้วได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มการเมืองที่ผิดกฎหมาย รวมทั้งการฆาตกรรม..ไม่มีอะไรได้รับอนุญาติให้เป้็นประเทศยิว และไม่ีการอนุญาตให้มีการอพยพอยางอิสระเข้าสู่ปรเทศยิว" อังกฤษพบวิกฤติอยย่างหนัก
ด้วยเหตุนี้UNSCOP จึงแนะนำว่าการปกครองในระบอบอาณัติของอังกฤษควรจะยุติลง ควรให้เอกราชแก่ปาเลสไตน์ และองค์การสหประชาชารติจะป็นผุ้รับผิดชอบต่อเอกราชดังกล่าว และยังแนะนำอีกว่า ชุมชนนานาชาติ(ยิวและอาหรับ)ควรได้รับความรีับผิดชอบต่อตเอง และช่วยผุ้ลี้ภัยยิง สองแสนห้าหมือนคนที่ยังอยุ่ในยุโรป เพื่อผ่อนเปบาความกดดันในปาเลสไตฯ ในที่สุด คณะกรรมการชุดพิเศษ แนะนำอีกว่าไม่ว่าจะมีการแบ่งกันอย่ารงไรในปาเลสไตน์ก็ควรจะรักษาความร่วมมือทางเศรษฐกิจไว้ เมพือมีการลงมติ เสียงส่วนใหญ่ UNSCOP ยอมรับแผนการณ์แบ่งแยกพร้อมกับความร่วมือทางเศษฐกิจ ดัดังนั้นถ้าแบ่งเป็นประเทศตามแผนการณ์แต่ละประเทศจะมีประชาชนดังนี้คือ
1 ประเทอาหรับ มีอาหรับ 725,000 คน ยิว 10,000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก
2 ประเทศยิว มียิว 498,000 คน อาหรับ 407000 คน และรวมคนอื่นๆ อีก
3 เยรูซาเลม เขตระหว่างชาติ มียิว 100,000 คน อาหรับ 105,000 คน และรวมคนอืนๆ อีก
อย่างไรก็ตาม สมาชิกกล่มุนึ่ง ของคณะกรรมการพิเศษ ซึ่งเป็นผุ้แทนจากอินเดีย อิหรานและยูโกสลาเวีย เสนอว่ารควรมีการจัดตั้งสหพันธรัฐ เืพ่อหลักเลี่ยงการแบ่งแยก ซึ่งการแบงแยกได้เน้นให้เห็ชัดถึงความแตกต่างระหว่างยิวและอาหรับในตะวันอออกกลาง และเพื่อหลกเลี่ยงลบัทธิคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นอันตราย โดยที่สมาชิกเหล่านั้นมีความเห็นว่าการแ่งแยกไม่ว่าจะรูปแบบใด ก็ตาม ล้วนแต่นำมาซึ่งลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนั้นสมาชิกเหล่านั้นบังคาดว่าประชาชนทั้งยิวและอาหรับที่กลายเป็นชนกลุ่มน้อยตามแยนกาณ์นั้นจะต้องขัดขวางอย่างแน่นอน ส่วนการก่อตั้งสหพันธรัฐ รัฐยิวและรัฐอาหรับจะมีอำนาจเต็มที่ใสนการปกครองตนเองภายใต้รัฐะรรมนูญของสหพันธรัฐ พรมแดนที่แนะนำก้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยจากที่เสนอโดยสมาชิกกลุ่มหใญ่
ที่องค์การสหประชาชาิผุ้แทนโซเวียต นายอังกเตร โกรมิโก แสดงความคิดเห็นรัสเซียต่อปัญหาปาเลสไตน์ โดยย้ำถึงความล้มเหลวของระบอบอาณัตในการปกครองปาเลสไตน์ เขเห็นด้วยกัยรายงานและข้อเสนอแนะของผุ้สังเตกกาณณ์ทุกคน นับตั้งแต่คณะกรรมการของอังกฤษชุดแรกที่ส่งไปสำรวจปัญหา เขาจึงสนับสนุน "ความหวังของยิวในการก่อตั้งประเทศของตน" และยังมีความเห็นอกเห็นใจชาวอาหรับไม่น้อย
รัฐบาลอังกฤษประกาศถึงความต้้งใจจะเคลื่อนทัพของตนออาจากปาเลสไตน์และพื้อนที่บริวเณคลองสุเอซ ลึกไปถึงแอฟริกากลาง จนถึงเคนยา ในการตีพิมพ์ข้อสเนอของ UNSCOP ผลก็คือรัฐบาลาอังกฤษพร้อมที่จะถอนตนเองออกจาปาเลสไตน์ อย่างไรก็ตาม การกระทำเช่นั้นของอังกฤษอาจทำให้เกิดการต้อสุ้อย่างนองเลือดกระทั่งอังกฤษอาจถูกสาปแช่ง
ชาวยิวพอใจต่อแผนการแบ่งแยก ม้วาจะไม่ได้พื้นทีี่ทั้งหมดในปาเลสไตน์ แต่กก็ได้มากกว่าอหารีับ นับเป็นขั้นต้นของเอกราช อาหรับมีความรู้สึกดังสูญเสียทุกอย่าง ปละประกาศว่าพวกตนจะต้อต้านข้อเสนอของ UNSCOP โดยากรใช้กำลัง
เมื่อสถานะการตึงเครียดและความโกรธแค้นอขงฝ่ายอาหรับ ได้ทำให้ชุมชนที่แข่งขันกัยอยู่แล้วกำลังเครียมพร้อมสำหรับสงครามที่ต่างก็คาดว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแนนอน
สหประชาชาติ เสียงส่วนใหญ่สนับสนุนการแบ่งแยกและตัดสินใจวาการปครองของอังกฤษควรยุติลงในวันที 1 พฏษภาคม 1948 และประเทศยิวและประเทศอาหรับควรถูกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม ผุ้แทนอังกฤษประกาศว่ากองทัพอังกฤษจะถอนออก ในวันที่ 1 สิงหาคม และอังกฤษจะไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในความพยายามใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งแยก ครั้นเมือมีการประชุมของสมัชชาใหญ่ในวันที 26 เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คาโดกัน ประกาศวาอังกฤษต้องการยืนยันอย่างแนนอนว่าการแบ่งแยกจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับกำลังของอังกฤษ
สภานการในตะวันออกกลาง นอกปาเลนไตน์ ความไม่พอใจอาหรับเพื่อบ้านที่มีต่อไซออนนิสต์ถึงขึคสุด พวกเขาพร้อมที่จะต่อต้านมนทุกรูแปบบการเดินขบวนอย่างน่ากลีัวได้ระเบิดขึ้นตา จุดต่างๆ มากมายทั่วตะวันออกกลางตามเมืองต่างๆ เช่น เอเดน ลิเบีย และแบกแดด ชาวอาหรับมีความโกรธแค้นต่อชุมชนยิวในปากิลสไตที่อยุ่ห่างไกล แต่พวกเขาไม่สามารถโจมตีชาวยิวเลห่านั้นได้ ผลก็คือชาวยิวผุ้อาศัยอยู่ในดินแดนอาหรับเหล่านั้นและผุ้ไม่เกี่ยวข้องกับไซออนนิสต์ ต้องุถูกโจมตีดดยอาหรับที่กำลังโกรธแค้น ทำให้กลุ่มชาวยิวหล่าันอยุ่ในความกลัวและในที่สุดก็นำไปสู่การอพยพออกจาดินแดนอาหรับไม่วาจากอิรักและเยเมน ผลคือความกดดันต่อการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์มากขึ้นเป็นลำดับ
ภายหลังจากที่อภฺปรายกันยาวนานที่องค์การสหประชาชาติ และหลังจากมีการศึกษาโดยคณะอนุกรรมการต่างๆ แล้ว และมีการเลปี่ยนแปลงเล็กน้อยเกี่ยวกับพรมแดนของการแบ่งวในที่สุดในวันที่ 29 พฤศจิการยน ข้อเสนอของการแบ่งแยกก็ผ่านโดบยคะแนนเสียง 33:13 และอีก 10 ไม่ออกเสียง
ที่มา : /http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-4.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น