วันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Muslim

           มุสลิม ภาษาอาหรับ อัลมุสลิมูล แปลวา "ผู้อ่นน้อม)ต่อพระเจ้า" เป็นบุคคลที่นับถือศาสนาอิลาม ศาสนาเอกเทวนิยม อยุ่ในธรรมเนียมศาสนอบราฮัมพวกเขาถือว่าคัมภีร์อัลกุลาอาน คัมภีร์ในศาสนาอิสลามเป็นพระดพรัสของพระเจ้าของอับราฮัมที่ประทานให้แก่มุฮัมมัน ศาสดกนศสนาอิสลามมุสลิมส่วนใหญ่ยัดำเนินตามคำสอนและการปฏิบัติของมุฮัมหมัน(ซุนนะฮ์)ตามที่มีการจดบันทึกในรายงานต่างๆ ฮะดีษ)



          ด้วยจำนวนผุ้นับถือเกือบ 2,000,000,000 คน ในปี 2020 เป็นประชากว่า 24.9 ของประชากรของโลกทั้งหมด โดยแบ่งตามจำนวนในทวีปต่างๆ ดังนี้ แอฟริกา 45%, เอเซียและโอเซียเนีย(โดยรวม) 25%, ยุโรป 6%, อเมริกา 1%, นอกจากนี้ เมือนำจำนวนตามภมิภาค จำนวนนั้นจะกลายเป็น 91% ในตะวันออกกลาง-แอฟริกาเนหือ 90% ในเอเซียกลาง, 65% ในคอเคซัส,  42% ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, 32% ในเอซียใต้และ 42% ในแอฟริกาใต้สะฮารา 

         อิสลามมีนิกายต่างๆอยุ่หลายนิกาย แต่ที่มีผุ้นับถือมากที่สุดคือ ซุนนี่ 75-90%ของมุสลิมทั้งหมด และ ซีอะฮ์ 10-20% ของมุสลิมทั้งหมด

         เมื่ออิงจากตัวเลขจริงเอเซียใต้มีจำนวนมุสลิมมากที่สุด 31% จากประชากรมุสลิมทั้่วโลก ฝดยหลักออาศัยอยู่ทั่วในสามประเทศคือ ปากีสถาน,อินเดียและบังคลาเทศ

         เมื่อแบ่งตามประเทศ อินโดนิเซีย มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกมุสลิม โดยมีประชากรประมาณ 12% ของมุสลิมทั่วโลก 

         ส่วนในประเทศที่มุสลิมเป็นชนกลุ่มน้อย ในอินเดียและจีนมีประชากรมุสลิมมากเป็นอันดับหนึ่ง (11%)และที่สอง(2%) ตามลำดับ 

       เนื่องจากการเติบโตของประชากรมุสลิมอยู่ในระดับสูง ทำให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก

        นิกายและสำนักคิดในศาสนาอิสลาม นักวิชาการอิสลา มีทัศนะแตกต่างกันในการจำแนกจำนวนนิกายต่างๆ ในโลกอิสลาม 

          - การตีความหมายของคำว่า 73 จำพวกในที่นี้ว่ามาถึงมุสลิมจะแตกกลุ่มแยกกันมากมายหลายกลุ่ม ไม่เจาะจงวาต้องแตกออกเป้น 73 จำพวก พอดีตามตัวบทวจนะของท่านศาสดา (ซ.ล.)

          - บ้างกล่าวว่ามีมากกว่า 73 กลุ่ม

          - บ้างว่าน้อยกว่า 70 กลุ่ม

         อย่างไรก็ตามไม่ว่าศาสนาอิสลามจะแตกออกเป็นหลายกลุ่ม แต่ศาสนาอิสลามที่ถูกต้องมีเพียงกลุ่มเดียวส่วนกลุ่มอื่นๆ ที่แตกแนวนั้นถือเป็นกลุ่มนอกศาสนา เพราะที่อยุ่ของเขาเหล่านัี้นคือๆฟนรก ดังนั้นเราอาจจะสรุปได้ว่า สาสนาอิสลาม มีนิกายเดียว (เพราะนิกายอื่นๆ นั้นไม่ใช่อิสลาม ณ ที่อัลลอฮฺ (ซ.บ.))

         โลกมุสลิม มีนิกายทางศาสนาที่สำคัญอยู่ 2 นิกาย คือ นิกายสุนหนี่ และ นิกายชีอะห์ ซึ่งเป็นสาเหตุประการหนึ่งของการขัดแย้งระหวางประเทศมุสลิมด้วยกันเอง อาทิ

          - หลังจากขบวนการปฏิวัิตอิสลามภายใต้การนำของอิหม่ามโคมัยนี่ประสบความสำเร็จในการโค่นล้มจักพรรดิซาห์ปาหืเลวีแห่งอิหร่นในปี 1979  อิหร่านพยายามมีบทบาทในเวทีการเมืองของโลกมุสลิม และพยายามผลักดันตนเองในการเป็นผุ้นำของประเทศมุสลิม ทั้งพยายามแย่งชิงศูนย์การนำจากประเทศอาหรับ โดยเฉพาะซาอุดิอาระเบียมาสู่อิหร่าย

              จากพฤติกรรมดังกล่าว ทำให้ประเทสอาหรับและมุสลิมอื่นซึ่งส่วนใหญ่นับถือสนุหนี่ ขัดขวางการแผ่อิทธิพลของอิหร่ายที่ชูการปฏิวัติอิสลามพร้อมกับนำแนวความเชื่อหรือนิกายชีอะหือิมามียะห์เข้าเผยแพร่ด้วย

         
  - หตุการณ์ในซาอุดิอาระเบีย มเื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 1987 นักแสวงุญอิหน่าน กว่า 150,000 คน ได้มีการรวมตัวเดินขบวนต่อต้านอเมริกา รัสเซยและอิสราเอลในนครเมกกะซึ่งเป็นที่รวมของนักแสวงบุญทั่วโลกกว่า 2 ล้านคน ด้วยเหตุที่นักแสวงบุญชาวอิหร่านนับถือชีอะห์ ทำให้ทาการซาอุดิอาระเบียซึ่งนับถือสุนหนี่เกิดความระแวงและไม่วางใจเกรงจะเกิดเหตุการณื เช่น ปี 1979 ซึ่งมีบุคคลกลุ่มหนึ่งพร้อมอาวุธเข้ายึดมัสยิด อัล-ฮะรอม ดันเป็นที่ตั้งของหินดำ (กะบะห์) จึงพยายามสกัดกั้นการเดินขบวนมิให้ลุกลามใหญ่โตจนไม่อาจควบคุมได้ แตก่ก็เกิดการปะทะระหว่างผู้เดินขบวนกับเจ้าหน้าที่รักษาคาวามสงบของทางการ ซาอุดิอาระเบียและเกิดโศกนาฎกรรม มีผุ้เสียชีวิตจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักแสวงบุญชาวอิหร่าน


             นักวิชาการมุสลิมมีความเหต็แตกต่างกันในเรื่องการกำเนิดของลัทธิชีอะห์ อย่างไรก็ตามจากการบันทึกของประวัติศาสตร์อิสลาม หลังจากที่ท่านศาสดามูฮัมมัดเสียชีวิต ชาวมุสลิมในขณะนั้นมีความเห็นแตกต่างกนในเรืองของการเลือกผุ้นำประชาชาติมุสลิม (คอลีฟะฮฺ) บางพวกเห็นว่าควรจะเป็นผุ้ที่มาจากอันซอร์(ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองมะดีนฮฺ ซึ่งได้ให้ความช่วยเหลือกแก่ท่านศาสดาและชาวมุสลิมในคราวที่มีการอพยพจากเมืองเมกกะ) บางพวกเห็ว่าควรจะเป็นพวกมูฮาญิริน(ผู้อพยพมาพร้อมท่านศาสดา บางพวกสนับสนุนให้ท่านอะลีเป็นผู้นำ ชีอะห์เกิดจากความขัดแย้งในเรื่องความเหมาะสมของผุ้ที่จะดำรงตำแหน่งผู้นำประชาชาติมุสลิมสืบทอดจากท่านศาสดาเป็นหลัก ทำให้ผุ้สนับสนุนอะลีปลีกตัวไปตั้งนิกายของตนเองเพื่อรอโอกาสที่จะความยุติสู่อาณาจักรอิสลาม แม้ว่าความเชื่อตามแนวนี้จะขัดกับมุสลิมส่วนใหญ่(สุนหนี่)ก็ตาม แต่ก็ไม่มีนักวิชาการมุลิมคนใดออกมาประณามพวกเขาว่าเป็นผุ้ตกศาสนา(กาเฟรฺ)


           

                ที่มา : วิกิพีเดีย

                           http://library1.nida.ac.th/nida_jour0/NJv28n1_05.pdf

          

วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Al-Qaeda


           อัลกออิดะฮ์  แปลว่า ฐาน.รากฐาน เป็นองค์กรขัามชาติของกลุ่มนักรบอิสลาม นิกายซุนนี เป็นที่
ยอมรับว่าเป็นองค์กรผู้ก่อการร้าย ก่อตั้งในปี 1988 โดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน อับดุลลาห์ อัซซัม และทหารอาสาสมัครชาวอาหรับอีกหลายคนในช่วงสงครามโซเวียต-อาฟกานิสถาน

         ภายหลังการรุกรานอัฟกานิสถาน โดยโซเวียตในปี 1979 ชาวอาหรับจากต่างประเทศบริหารในชื่อมุญาฮิดี ได้รับการสนับสนุนทางการเงินโดย บิน ลาดินและการบริจาคของชาวมุสลิม สหรัฐมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น หน่วยสืบราชการลับสหรัฐให้การช่วยเหลือองค์กรผ่านทางปากีสถาน อัลกออิดะฮ์ พัฒนาจากกลุ่ม มากแทบ อัล คัลดามัท ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมุญาฮิดีน  สมาชิกส่วนใหญ่เป็นทหารชาวปาเลสไตน์  และได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐเช่นเดียวกับมุญาฮิดีนและกลุ่มอื่นๆ การสู้รบดำเนินเป็นเวลา 9 ปี สหภาพเวียตจึงถอนกำลังออกจากอัฟกานิสถานในปี 1989 รัฐบาลสังคมนิยมขถูกมุญาฮิดีนล้มล้าง แต่เนื่องจากผุ้ำกลุ่มมุญาฮิดีนไม่สามารถตกลงกันได้ ความวุนวานจากการแย่งชิงอำนาจจึงตามมา

         หลังจากสงครามนักรบมุจาฮีดนบางกลุ่มต้องการขยายการสู้รบออกไปทั่วโลกในนามนักรบอิสลาม เช่นความขัดแย้งในอิสราเอล และแคชเมียร์ และอัลกออิดะฮ์ก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสงครามอัฟกันจบลง บินลาดิน เดินทางกลับสู่ซาอุดิอาระเบีย เมื่อเกิดการรุกรานคูเวตของอิรัก บิน ลาดิน ได้เสนอให้ใช้นักรบมุญาฮิดีนของเขาร่วมมือกับกษัตริย์ฟาฮัต เพื่อปกป้องซาอุดิอาระเบีย แต่ราชวงศืปฏิเสธและไปให้ความร่วมมือกับสหรัฐดดยอนุญาตให้ตั้งฐานทัพในซาอุดิอาระเบีย บิน ลาดินไม่พอใจ เขาไม่ต้องการให้มีกองทหารต่างชาติในดินแดนศักดิ์สิทธิของศาสนาอิสลาม ( เมกกะ และ เมดินา) การที่เขาออกมาต่อต้านส่งผลให้เขาถูกบีบให้ไปซูดานและุถูกถอนสัญชาตซาอุดิอาระเบีย

        ซูดาน ปี 1991แนวร่วมอิสลามแห่งชาติซูดาน ขึ้นมามีอำนาจและเชิญกลุ่มอัลกออิดะฮ์ให้ย้ายเขามาในประเทศ เขาช่วยในการพัฒนาซูดาน .ปี 1996 และถูกสหรัฐสร้างแรงกดดันเขาจึงย้ายกลุ่มอัลกออิดะฮ์ไปต้งมั่นในเมืองจะลลาบาต อัฟกานิถาน

         บอสเนีย การประกาศเอกราชของ บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา ออกจากยูโกสลาเวีย ในปี 1991  ทำให้เกิดความขัดแย้งทางเชื้อชาติศาสนาแห่งใหม่ในยุโรป บอสเนีย คนส่วนใหญ่เป็นมุสลิมแต่มีชาวเซิร์บ ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ และชาว โครแอต นับถือศาสนาคริสต์ นิกายดรมันคาทอลิก ทำให้เกิดความขัดแย้งเป็นสามเส้า โดยเซอร์เบีย และโครเอเซียหนุนหลังชาวเซิร์บและชาวโครแอตที่มีเชื้อชาติเดียวกันตามลำดับ เหลานักรบอาหรับในอัฟกานิสถานเห็นว่าสงครามในบอสเนียเป็นโอกาสที่จะปกป้องศาสนาอิสลาม ทำให้กลุ่มต่างๆ รวมทั้งอัลกออิดะฮ์เข้าร่วมในสงคราม ตั้งเป็นกลุ่มมุญาฮีดินบอสเนีย โดยนักรบส่วนใหญ่เป็นชาวอาหรับไม่ใช่ชาวบอสเนีย

         การลงนามในข้อตกลงวอชิงตัน มีนาคม 1994 ทำให้สงครามสิ้นสุดลง กลุ่มมุจาฮิดินยังคงสุ้รบกับชาวเซิร์บต่อไป จนกระทั้งบันทึกสันติภาพเดย์ตัสในเดือนพฤศจิกายน 1995 ทำให้สงครามสิ้นสุด นักรบต่างๆ ถูกบีบให้ออกนอกประเทศ ผุ้ที่แต่งงานกับชาวบอสเนียหรือไม่มีที่ให้กลับ จะได้รับสัญชาติบอสเนียและอนุญาตให้อยุ่ต่อได้

         ผู้ลี้ภัยชาวอัฟกานิสถาน หลังจากโซเวียตถอนตัว อัฟกานิสถานอยู่ในสภาพวุ่นวายถึง 7 ปี จากการสุ้รบของกลุ่มที่เคยเป็นพันธมิตร ในช่วงปี 1992 มีกลุ่มเกิดขึ้นใหม่คือกลุ่มตาลีบัน แปลตรงตัวปว่า นักเรียน เป็นปลุ่มเยาวชนที่เกิดในอัฟกานิสถานยุึคสงครามได้รับการศึกษาในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม ในเมือง ดันดะฮาร์ หรือ ค่ายผู้อพยพตามแนวชายแดนปากีสถาน-อัฟกานิสถาน

  ตาลีบัน แปลวา นักเรียน หรือผู้แสวงหา เรียกตนเองว่า เอมิตส์อิสลามแห่งอัฟากนิสถาน เป็นขบวนการทางศาสนาทางการเมืองของอิสลามมิสต์ดิปันดี และองค์กรทางทหารในอัฟกานิสถาน ซึ่งหลายรัฐบาลและองค์กรต่างๆ ยังมองว่าเป็นกลุ่มผู้ก่อการร้าย เป็นหนึ่งในสองหน่วนานที่กล่าวอ้างว่่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมายของอัฟานิสถาน ควบคู่ไปกับสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ในขณะที่ ตาลีบันมีเพียง ปากีสภาน ซาอุดิอารเบีย และสหรัฐอาหลับเอมิรตส์

         ตั้งแต่ปี 1996 -2001 ตาลีบันเข้ายึดอำนาจสามในสี่ของอัฟกานิสถาน และบังคับใช้กฎ๓กมายชารีอะฮ์ หรือกฎหมายอิสลามอย่างเคร่งครัด ตาลีบันเป็นกลุ่มที่เกิดในช่วงสงครามกลางเมืองอัฟการนสสถาน สวนใหญ่ประกอบด้วยนักเรียน(ตาลิบ) จารกพื้นที่ ปัชตุน ทางตะวันออกและทางใต้ของอัฟกานิสถาน ที่ได้เข้าศึกาาในดรงเรียนอิสลามแบบดั้งเดิม และต่อสู้ในช่วงสงครามโซเวียต-อัฟกานิสถาน ภายใต้การนำของมุฮัมมัด อุมใัร และแผ่ขยรยไปทั่้วอัฟกานิสถาน อำนาจชองกลุ่มขุนศึกมุจาฮีดิจึงต้องจบลง 

          ผู้นำ 5 คนของตาลีบันจบการศึกษาจากดรงเรียนสอนศาสนาอิสลามใกล้กับเมือง"เปศวาร์"ในปากรีสภาน ผุ้เข้าเรียนส่วนใหญ่เป็นผุ้อพยพจากปากีสถาน โรงเรียนแห่งนี้สอนศสนาตามลัทธิซาลาฟีย์ และได้รับการสนับสนุนจากชาวอาหรับโดยเฉพาะ บิน ลาดิน ชาวอาหรับในอัฟกานิสถานและตาีบีนมีความเีก่ยวพันกันมาก หลังจากโซเวียตถอนตัวออกไป ตาลีบันมีอิทธิพลขึ้นในอัฟกานิสถาน

         หลังจากซูดานได้บีบให้บิน ลาดินและกลุ่มของเขาออกนอกประเทศ เป็นเวลาเดียวกับที่ตาลีบบันมีอำนาจในอัฟกานิสถาน บิน ลาดินจึงเข้าไปตั้งมั่นในเขตจะลาลาบาต ซึ่งมีเพียง 3 ประเทศที่กล่าวแล้วยอมรับการเป็นรัฐบาลอัฟการนิสถานของตาลีบัน บิน ลาดินจัดตั้งค่ายฝึกรักรบมุสลิมจากทั่วโลก กระทั้งรฐบาลตาลีบันถูกชับไล่โดยกองกำลังผสม+ภายในประเทศร่วมกับกองทัพสหรัฐในปี 2001 หลังจากนั้นเชื่อกันว่า บิน ลาดิน ยังคงพำนักกับกลุ่มตาลีบันในบริเวณชายแดนปากีสถาน



       ปฏิบัติการ ปี 1993 ผุ้นำคนหนึงของอัลกออิดะฮ์ ใช้การวางระเบิดในรถยนต์ โจมตีตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ในนิวยอร์ก แต่ไม่สำเร็จ และถูกจับในปากีสถาน แต่ก็เป็นแรงบันตาลใจให้กลุ่มของ บิน ลาดิน ทำสำเร็จ ในเหตุการณ์ 9/11 

       อัลกอดิอะฮ์เร่ิมสงครามครูเสดใน ปี 1996 เพื่อขับไล่กองทหารต่างชาติออกจากดินแดนอิสลามโดยต่อต้านสหรัฐและพันธมิตร 23 กุมภาพันธ์  1998 บินลาดิน และผุ้นำกลุ่มญิฮาดอิยิปต์และผุ้นำศาสนาอิสลามอีกสามคน ร่วมลงนาม ใน "ฟัตวาห์" หรือคำตัดสินภายใต้ชื่อ แนวร่วมอิสลามโลกเพื่อญิฮาดต่อต้านยิวและครูเสด โดยประกาศว่าเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมทุกประเทศในการสังหารชาวสหรัฐและพันธมิตรทั้งทหารและพลเรือนเพื่อปลดปล่อย "มัสยิตอัลอักซา" ในเยรูซาเลม และมัสยิตศักดิ์สิทธิในเมกกะ หลังจากนั้นได้เกิดการวางระเบิดสถานทูตสหรัฐในแอฟริกาตะวันออกภายในปีเดียวกัน มีผุ้เสียชีวิต กว่า 300 คน ตุลาปี 2000 เกิดระเบิดพลีชีพในกองทัพเรือสหรัฐในเยเมน

       9/11/2001 การก่อวินาศกรรม ครั้งนี้ทำให้สกรัฐและเนโทออกมาต่อต้านอัลกออิดะฮ์ และผัตวาห์ปี 1998 การโจมตีครั้งนี้ถือเป็นวินาศภัยครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา ผุ้เสียชีวิตกวา 3,000 คน รวามทั้งความเสียหายจากการพังทลายของตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์และตึกเพนตากกอนถูกทำลายบางส่วน หลังจากนั้นสหรัฐ มีปฏิบัติการทางการทหารโต้ตอบเรียกร้องให้ มุลลาร์ โอมาร์ ผุ้นำตาลีบันส่งตัว บิน ลาดินมาให้ แต่ตาลีบนเลื่อกที่จะส่งตัว บิน ลาดินให้ประเทศที่เป็นกลาง สหรัฐจึงส่งกองทัพอากาศทิ้งระเบิดทะลายที่มัี่นที่เชื่อว่าเป็นแหล่งกบดานของ อัลกอดิอะฮ์ และส่งปฏิบัติการทางทหารภาคพื้นดินร่วมกับพันธมิตรฝ่ายเหนือเพื่อล้มล้างรัฐบาลตาลีบัน..

       อิรัก บินลาดิน เริใสนใจอิรักตั้งแต่สงครามอ่าวเปอร์เซียครั้งแรกเมือ ปี 1990 อัลกอดิอะฮ์ ติดต่อกับกลุ่มมุสลิม ชาวเคิร์ตในปี 1999 ระหวางการรุกรานอิรักในปี 2003 อัลกอดิอะฮ์ให้ความสนใจเป็นพเศา หน่วนทหารของอัลกออิดะฮ์เริ่มวางระเบิดกองบัญชาการของ UN และกาชาดสากล พ.ศ. 2004 ฐานที่มัี่นของอัลกออิดะฮ์ในเมือง ฟาลุยะห์ ถูกดจมตีและปิดล้อมด้วยกองทหารสหรัฐ แต่อัลกออิดะฮ์ยังคงโจมตีทั่วอิรัก แม้จะสูญเสียกำลังคนไปมากในระหวางการเลือกตั้งในอิรัด ปี 2005 กลุ่มอัลกออิดะฮ์ประกาศความรับผิดชอบระเบิดพลีชีพ 9 ครั้ง ในแบกแดด

         ทหารชาวจอแดนจัดตั้งองค์กรและประกาศเป็นตัวแทนของอัลกออิดะฮ์ในอิรัก แม้วาการต่อสุ้ของอัลกออิดะฮ์ในอิรักไม่ประสบผลในการขับไล่กองทหารอังกฤษและสหรัฐ ร่วมทั้ล้มล้างรัฐบาลของผุ้นับถือนิกายชีอะฮ์ แต่ก็ได้สร้างความรุนแรงกระจายไปทั่วประเทศ

         แคชเมีย 13 กรกฏาคม  2005 ชายลึกลับอ้างว่าเป็นสมาชิกอัลกออิดะฮ์โทรศัพท์ไปสำนักข่าวท้องถ่ินในศรีนคร ประกาศวาขณะนี้อัลกออิดะฮ์เข้าในแคชเมียร์แล้ว เพื่อปกป้องชนกลุ่มน้อยชาวมุสลิมที่ถูกรัฐาลอินเดียกดขี่ อย่างไรก็ตาม มีรายงานว่า อัลกออิดะฮ์ แทรกซึมเข้าในบริเวณนี้ตั้งแต่การรุกรานอัฟการนิสถานของสหรัฐ และน่าจะมีความสัมพันธ์กับกลุ่มก่อการร้ายในปากีสภาน

       กลุ่มอัลกออิอะห์ใช้อินเทอร์เน็ตในการสร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ผลงาน การโอนเงินจากบัญชีของ บิน ลาดิน จากธนาคารแห่งชาติบาห์เรนจะถูกส่งต่อยังบัญชีผิดกฎหมายที่ไม่แสดงข้อมูลใน เคลียร์สตรีม ซึ่งเป็นแหล่งฟอกเงิน

       อิสราเอล อัลกออิดะฮ์ ไม่ค่อยมีบทบาทในการต่อต้านอิสราเอล ทฤษฎีหนึ่งคือ อัลกออิดะฮืไม่ยอมร่วมือกับกลุ่มนิกาย "ชีอะห์" อาทิ "ฮิซบุลลอฮ์" ซึ่งสนับสนุนการต้อต้านอิสราเอลของ ปาเลสไตน์ หรือมิฉะนัน ชาวปาเลสไตน์ไม่ต้องการต่อสุ้ภายใต้กลัการของอัลกออิดะห์ แต่ต้องการต่อสู้ด้วยหลัการของตนเอง อัลกออิดะฮ์เคยถูกตั้งข้อสงสัยว่าน่าจะม่ส่วนในการโจมตีพลเรือน อิสราเอล เมือ ปี 2003 ที่เคนน่ เช่นการระเบิดดรงแรมที่มีชาวอิสราเอลเข้ัาพัก หรือยายามดจมตีเครื่องบิน

                                   ที่มา : วิกิพีเดีย


วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2567

War on Terror

            สงครามต่อต้านการก่อการร้าย เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกัยการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน 2001 การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัด อัลกอลลิดะห์ และองค์การก่อการร้ายอื่นๆ สหรัชอาณาจักร ประเทศสมาชิกเนโทอื่นๆ และประเทศนอกกล่มเนโทเขั้าี่วมในความขัดแย้งครั้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช นำมาใช้เป็นคนแรก รัฐบาลบุชและสือตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมายและเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้าย..

......


           สงครามโซเวียต-อัฟกานิสถาน เป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น เกิดขึ้นเป็นเวลา 9 ปี ตั้งแต่ ธันวาคม 1979 - กุมภาพันธ์ 1989 เป็นการรบกันระหว่าง กองทัพอัฟกานิสถาน ที่มีโซเวียตเป็นหัวหน้า กับมุจญาฮิดีน ซึ่งเป็นกลุ่มขบถหลายชนชาติและมีพันธมิตร คือ เปศวาร์ 7 และ เตหะราน 8 กบฎเปศวาร์ 7 Peshawa 7 ได้รับการฝึกฝนทหารจากประเทศ ปากีสถาน และสาธารณรัฐประชาชนจีน ทั้งได้รับอาวุธยุทธภันฑ์พร้อมเงินหลาพันล้านดอลลาร์ จากสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ซาอุดิอาระเบีย และอีกหลายประเทศ ส่วนกลุ่มชีอิฮ์ จาฝ่าย เตหะราน 8 ได้รับการสนับสนุนจากสาธารณะรัฐอิสลามอิหร่าน

           สงครามยือเยื้อกว่าทศวรรษและส่งผลในชาวอัฟกันหลายบ้านคนลี้ภั ส่วนใหญ่ไปยังปากีสถานและอิหร่าน นอกจากกฎบที่เสียชีวิตแล้ว พลเรือนอัฟกันจำนวนมากก็เสียชีวิต สงครามเร่ิมเมืองกองทัพที่ 40 ซึ่งโซเวียตประจำการในอัฟกานิสถาน เคลื่อนพลพร้อมรบในปี 1979 และสิ้นสุดลงเมืองโซเวียต ถอนทหารจากอัฟกานิสถานในปี 1988-89 มีผุ้เรียกสงครามครั้งนี้ตามสภาพที่ยือเยื้อว่า ไสงครามเวียดนามของสหภาพโซเวียต"Soviet Union's Vietnam War และ กับดักหมี ฺBear Trap 

.......


        การสงครามในอัฟกานิสถาน 2001 หลังเหตุวินาสกรรม 9 11 ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเลิลยู บุช เรียกร้องให้กลุ่มตาลีบัน สงตัว อุซามะห์ บิน ลาดิน ผุ้นำกลุ่มอัลอกอิดะห์ ให้สหรัฐฯ ในทันที่ แต่กลุ่มตาลีบันปฏิเสธดดยอ้างว่าไม่มีหลักฐานว่า บิน ลาดินมีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้รัฐบาลสหรัฐตัดสินใจเปิดฉากปฏิบัติการเสรีภาพยั่งยืน Operation Enduring Freedom OEF ในอัฟกานิสถาน ร่วมกับกองกำลังผสมนานาชาติ เมือ 7 ตุลาคม 2001 โดยเป็นส่นหนึ่งของสงครามต่อต้านก่อการร้ายทั่วโลก ส่งผลให้กลุ่มตาลีบันถูกโค่นอำนาจรัฐบาลและต้องเปลี่ยนไปทำสงครามกองโจร

        การต่อสู้ระหว่างกองกำลังผสมนำโดยสหรัฐ กับกลุ่มตาลีบันที่ใช้พื้นที่เทือกเขาในการซ่อนตัวเป็นไปอย่างยืดเยื้อนานนับทศวรรษ กระทั่งเดือนธันวาคม 2014 กองกำลังชาติดสมาชิก NATO ตัดสินใจยิติปฏิบัติการสู้รบในอัฟกานิสถานอย่างเป็นทางการ และโอนความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยทั้งหมดให้กับรัฐบาลอัฟกานิสถาน 

         การไม่สามารถกำจัดกลุ่มตาลีบันด้วยวิธีการทางการทหารได้ ทำให้กองกำลังผสมและรัฐบาลอัฟกานิสถานตัดสินใจหันมาใช้การทูตเพื่อยุติความขัดแย้ง และบรรลุข้อตกลงสหรัฐ-ตาลีบันในเดือนกุมภาพันธ์ 2020 ซึ่งกำหนดให้ต้องถอนทหารสหรัฐฯ ทั้งหมดออกจากอัฟกานิสถานภายในปี 2021 แต่มีข้อแลกเปลี่ยนหลักคือกลุ่มตาลีบันต้องให้คำมั่นที่จะป้องกันไม่ให้กลุ่มติดอาวุธใดๆ ใช้พื้นที่อัฟกานิสถานเป็นฐานโจมตีสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร

        อย่า่งไรก็ตาม รัฐบบาลอัฟกานิสถานไม่มีส่วนร่วมในข้อตกลงและปฏิเสธเงือนไขดังกล่าว ขณะที่การถอนทหารของสหรัฐ และกองกำลังผสมเร่ิมต้นขึ้นท่ามกลางการรุกคืบเข้ายึดครองเมืองต่างๆ ของกลุ่มตาลีบันตลอดช่วงฤดูร้อนปี 2021 กระทั้งประสบความสำเร็จในการบุกยึดกรุงคาบูล และเข้าคววบคุมอำนาจปกครองอัฟกานิสถานอีกครั้ง ทำหใ้ อัชราฟ กานี ประธานาธิบดีคนสุดท้ายของรัฐบาลพลเรอนอัฟกานิสถาน ต้องหลบหนีออกนอกประเทศและกลุ่มตาลีบันประกาศชัยชนะและสงครามสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการ 

          ตามโครงการ Costs of War ค่าใช้จ่ายของสงคราม ที่มหาวิทยาลัยบราวน์ (หนึ่งในมหาวิทยาลัยไอวีลัก มหาวิทยาลัยที่อยุ่ระดับต้นๆ ที่มีคนเข้าเลือกเรียนของสหรัฐและของโลก) เมษายน 2021 สงครามคร่าชีวิตผู้คนไป 171,000-174,000 คนในอัฟกานิสถาน ข้อมุลจากสหประชาชาตินับตั้งแต่การบุครองในปี 2001 อดีตผุ้ลี้ภัยจำนวนมากกว่า 5.7 ล้านคนได้เดินทากลับอัฟกานิสถาน อย่างไรก็ตาม ปี 2021 ชาวอัฟกานิสถาน กว่า 2.6 ล้านคนยังคงเป็นผุ้ลี้ภัยหรือหลบหนีไปแล้ว ซึ่งสวนใหญ่อยู่ในปากีสถานหรืออิหร่าน และจำนวนชาวอัฟกันอีก 4 ล้านคนยังคงเป็นผู้พลัดถ่ินภายในประเทศ ถึงอย่างไร ตั้งแต่ปี 2001 อัฟากนิสถานยังได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพ การศึกษาและสิทธิสตรี...

         ที่มา : wikipedia.

                   https://thestandard.co/onthisday07102001/

                  https://images.app.goo.gl/BrPuzrzr9M2Ng4Vs9

วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Gulf War

            โดยก่อนหน้าสงครามอ่าวเกิดสงครามอิรัก-อิหร่านขึ้นมากอ่นในปี 1980 - 1988 ซึ่งสงครามในครั้งมี


บาททฤษฎีกล่าวว่าเป็นเหตุผลหนึ่ง ที่รัฐบาลอิรักบุกคูเวตเนืองจากเป็นหนี้กว่า 14 พันล้านดอลลาร์ยูเอส จากการกู้มาใช้ในสงคราม และหลังสงคราม คูเวตทำการผลิตน้ำมันออกสู่ตลอดจำนวนมหาศาล ส่งผลให้ราคาน้ำมันตกต่ำ อิรักไม่มีรายได้มากพอจะชำระหนี้จึงทำการบุกครองคูเวตและถูกแทรกแซงโดยสหรัฐอเมริกาบานปลายเป็นสงครามอ่าวเปอร์เซียในที่สุด

           การปฏิวัติอิหร่าน คือเหตุกำารที่เกี่ยวกับการโค่นล้มราชวงศ์ปาห์ลาวี ภายใต้พระเจ้าซาห์ โมอัมหมัด ปาห์ลาวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอมเริกา และารแทนที่ด้วยสาธารณรัฐอิสลามภายใต้ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ผุ้นำการปฏิวัติ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาอกงค์การฝ่ายซ้ายและอิสลามหลายแห่ง และขบวนการนักศึกษาอิหร่าน โคมัยนี เถลิงอำนาจอย่างเป็นทางการอิหร่านออกเสียงลงคะแนนการลงประชามติทั่วประเทศให้เป็นสาธารณรัฐอิสลามเมือวันที่ 1 เมษายน 1979 และรับรองรัฐธรรมนูญเทวาธิปไตย-สาะารณรัฐนิยม แบับใหม่ ซึ่งโคมัยนี่ เป็นผู้นำสูงสุดของประเทศและประกาศตัวป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะห์ อันเป็นส่วนามากในอิรักลุกขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกันอิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทรที่อิหร่าน 

 สงครามอิรัก-อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสในขณะที่อิหร่านกำลังวุนวายเข้าโจมตีโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึคดครองยังไม่ได้มากนักก็ถูกโต้กลับอยางรวดเร็ว อิหรานสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตอลดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาติร้องขอให้มีการหยุดยิงนับสิบครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988

          สงครามครั้งนี้ทำให้มีผุ้เสียชีวิตรวมกันกว่า1,000,000 คน แต่ไม่มีฝ่ายใดได้หรือเสียดินแดน สงครามครั้งนี้ถุกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศอิสลามจำนวนมากอยุ่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้. ยุ่ทโธปกรณ์และภาพดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงUN จะประกาศให้อิรักเป็นผุ้ก่อสงครามก็ล่วงไปถึงปีที่ 12 ให้หลังจากอิรักรุกรานอิหร่าน และล่วงเข้าเดือนที่ 16 หลังอิรักรุกรานคูเวตซึ่งบานหลายเป็นสงครามอ่าว

        การบุกยึดครองคูเวต หรือ สงครามอรัก-คูเวต เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพรรคบาอัธของประเทศอิรักและเอมิเรตแห่งคูเวต อิรักสามารถยึดคูเวตได้อย่างง่ายดายและปกครองคูเวตอยู่ 7 เดือน กระทั้งสหรัฐอเมริกาภายใต้การนำของประธานาธิบดี จอร์จ เอช.ดับเบิลยู บุช ส่งกำลังทหารเข้าแทรกแซงและบานปลายเป็นสงครามอ่าวเปอร์เซีย

          สงครามอ่าวเปอร์เซีย การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมันคงแห่งสหประชาชาติ ใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช วางกำลังทหารสหรัฐเข้าสู่ซาอุดิอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันะมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังทหรของกำลังผสมส่วนใหย่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาณาจักรและอิยิปต์ เป็นผู้มีส่วนร่ว่มตามลำดับ ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักอออกจากคูเวตเร่ิมด้วยการระดมท้ิงระเบิดทางอากาศและทางเรือ ซึ้งดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดิน สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่รางขาดลอยของกองกำลังผสม 

         


ตลอดช่วงเวลาของสงครามเย็น อิรักเป็นพันธมิตรสหภาพโซเวียตและมีประวัิตความไม่ลงรอยกับสหรัฐ ซึ่ง สหรัฐกังวลถึงตำแหน่งของอิรักต่อการเมือง อิสราเอล-ปาเลสไตน์ และการที่อิรักไม่เห็นด้วยกับสันติภาพระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์

         สหรัฐไม่พอใจนักกับการที่อิรักเข้าสนับสนุนกลุ่มอาหรับและปาเลสไตน์ติดอาวุธอย่าางอาบูไนตัล ซึ่งทำให้มีการรวมอิรักเข้าไปในรายชื่อประเทศผู้ให้การสนับสนุนการก่อการร้ายข้ามชาติของสหรัฐ สหรัฐยังคงสถานะเป็นกลางอยางเป็นทางการหลังจากการรุกรานของอิหร่าน แม้จะคอยช่วยอิรักอย่างลับๆ ในความพยายามของสหรัฐที่จะเป็นความสัมพันธ์ทางการทูตต่ออิรัก อิรักได้ถูกนำออกจากรายชื่อประเทศที่สัยสนุนการก่อการร้าย ซึ่งอิดีตผุ้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ได้กล่าวในเวลาต่อมาว่า "ไม่มีใครที่สงสัยในเรื่องที่อิรักยังคงมีส่วนเกี่ยวข้องกับผุ้ก่อการร้าย..เหตุผลที่แท้จริงคือเพื่อช่วยให้พวกเขามีชัยเหนืออิหร่น" 

          การขับไล่ปาเลสไตน์ออกจากคูเวต 1991 นโยบายขับไล่ของ


คูเวตนั้นมีเหตุมาจาการที่ผุ้นำองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ ยัสเซอร์ อาราฟัส เข้าร่วมกับซัดดัมก่อนทีจะมีการรุำกรานคูเวต ก่อนหน้าสงครามทีชาวปาเลสไตน์ประมาณ 30% ของประชากรจำนวน 2 ล้านคนในคูเวต การับไล่เกิดขึ้นในสัปดาห์หนึ่งของเดือนมีนาคมหลังจากที่คูเวตถูกปลดปล่อย คูเวตได้ขับไล่ชาวปาเลสไตน์ประมาณ 3 แสนคนออกจากอาณาเขต ในปี 1991 ปัจจุบันมีชาวปาเลสไตน์ในคูเวตประมาณ 9 หมื่นคน


ปฏิบัติการเซา่ท์เธิร์นวอท์ซ ด้วยเหตุจากสงครามสหรัฐจึงคงทหารจำนวน ห้าพันนายไว้ในซาอุดิอาระเบียและเพื่มเป็น หนึงหมื่นนายในช่วงสงครามอิริัก 2003 ปฏิบัติการน้มีการบังคับใช้เขตห้ามบินเหนือพื้นที่ทางใต้ของอิรักหลังจากปี 1991 การส่งออกน้ำมันผ่านอ่าวเปอร์เซียได้รับการคุ้มกันจากกองเรือที่ห้าของสหรัฐที่มีฐานในบาร์เรน

          ด้วยเหตุที่ซาอุดิอาระเบียเป็นที่ตั้งของเมกกะและเมตินา สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวมุสลิม ชาาวมุสลิมจำนวนมากจึงไม่พอใจที่ทหารเข้ามาประจำการภาวรในเมือง การมีอยุ่ของทหารสหรัฐในซาอุหลังจากสิ้นสุดสงครามเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นแรงจูงใจให้เกิดเหตุ 9 11 การรเเบิดหอโคบาร์ และการเลือกวันระเบิดสถานทูตสหรัฐ ซึ่งนับเป็นระยะเวลาแปดปีตั้งแต่ที่ทหารสหรัฐเข้าไปตั้งฐานในซาอุดิอาระเบีย โอซามะ บิน ลาดิน ย้ำเสมอว่าศาสดามุฮัมมัด ได้ห้ามมิให้มีการปรากฎตัวของพวกนอกศาสนาในพื้นที่ของอาหรับ ปี 1996 บิน ลาดิน ได้ทำการฟัตวาโดยเรียกร้องมให้ทหา่รอเมริกันถอนกำลังออกจากซาอุดิอาระเีบีย ธันวาคม 1999 บิน ลาดิน ให้สัมภาษณ์ว่าเขารู้สึกว่าชาวอเมริกัน "อยู่ใกล้เมกกะมากเกินไป" และมองว่าป็นการกระทำที่ยั่วยุโลกอาหรับ

 

                                     ที่มา: วิกิพีเดีย

          

         

          

วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Wanted

             ญะมาล อับดุนนาศิร สุชัยน์ Gamal Abdel Nasser Hussein  15 มกราคม 1918- 28 กันยายน 1970 เป็นประธานาธิบดนที่สอง ของอิยิปต์ เขานำการล้มล้างระบอบกษัตริย์ ปี 1952 และแนะนำการปฏิรูปที่ดินกยางกว้างขวาง ความนิยมของนาศิรในอิยิปต์และโลกอาหรับได้พุ่งขึ้นสูงขึ้น ภายหลังจากที่เขาได้เปลี่ยนให้คลองสุเอซกลายเป็นของรัฐและชัยชนะท างการเมืองของเขาในวิกฤตการณืคลองสุเอซ ความเป็นเอกภาพของชาวอาหรับภายใต้ความเป็นผุ้นำของเขาที่เพีมมากขึ้น และถึงขีดสุดด้วยการก่อตั้งสหสาธารณรัฐอาหรับกับซีเรีย 

           นาศิรได้เร่ิมต้นด้วยหนึ่งในมาตราการสังคมนิยมที่สำคัญและการปฏิรูปความทันสมัยในอิยิปต์ แม้ว่า


จะล้มเหลวในจุดชนวนของการรวมชาวอาหรับ ผู้สนับสนุนเขาได้รับอำนาจในหลายประเทศอาหรับ แต่เขาได้กลายเป็นผู้มีส่วนพัวพันในสงครามกลางเมืองเยเมนเหนือ และในที่สุดก้เป็นสงครามเย็นอาหรับซึ่งขยายลุกลามในโลกอาหรับ 

          ปี 1968 นาศิร แต่งตั้งตนเองเป็นนายกรัฐมนตร เปิดฉากสงครามเพื่อทวงคือนดินแดนที่เสียไป ออกกหนดของการปฏิรูปเสรีภาพทางเมือง ภายหลังจากการสรุปของการประชุมสุยอดสันนิบาตอาหรับ ปี 1970 นาศิรประสบภาวะหัวใจล้มเหลวและเสียชีวิต 

           ยัสเซอร์ อาราฟัด. ยาชิร อะเราะฟาตะ 24 สิงหาคม 1929- 11 พฤศจิกายน 2004 เป็นที่รู้จักในชื่อการรบว่า อะบู อัมมาร์ ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุลราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัด อัล กุตวา เป็นผุ้นำปาเลสไตน์ ป็นประธานองคืการปลดปล่อยปาเลสไตน์ PLO ประธานองค์การบริหารแห่งบชาติปาเลสไตน์ และผู้นำฟาตาห์ Fatah พรรคการเมืองและอดคตกลุ่มกำลังภึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน อาราฟัดใช้เวลาส่วน


ใหญ่ของชีวิตในการต่อสู้อิสราเอลลเพื่อการกำหนดการปกครองด้วยตนเองบของปาเลสไตน์ แต่จากดิมที่คัดคั้านการมีอยุ่ของอิสราเอล ขเาเปลี่ยนท่าทีของตนใน เมือเขายอมรับข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 242 

         อาราฟัดเข้าร่วมเจรจาหลายคร้งกับรัฐบาลอิสราเอลเพื่อยุติความขัดแย้งนานหลายทศวรรษระหวางอิสราเอลกับองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ซึ่งรวมถึงการประชุมมาดริด ข้องตกลงกรุงออสโล และการประชุมสุดยอดแคมป์เดวิด คู่แข่งทางการเมืองของเขารวมทั้งกลุ่มอิสลายและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ฝ่ายซ้าย มักประณามเขาว่าทุจริต หรือยอมให้กับรัฐบาลอิสราเอลมากเกินไป 

          อาราฟัดได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ร่วมกับ ยิดส์ฮัก ราบิน และซิมอน เปเรส สำหรับการเจรจาที่กรุงออสโล ในช่วงนี้ "ฮามาส"และกลุ่มพร้อมรบอื่นๆ เถลิงอำนาจ และสั่นคลอนรากฐานของอำนาจที่ฟะตะห์ภายใต้การนำของอาราฟัดได้สถาปนาขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์

          หลังถูกกักกันในบริเวณบ้านของเขาป็นเวลากว่า 2 ปี ดดยกองทัพอิสราเอล อาราฟัดก็ล้มป่วย โคม่าและเสียชีวิตเมือวันที่ 11 พฤศจิกายน 2004 อายุ 75 ปี สาเหตุการเสียชีวิตยังเป็นที่ถกเถียง...

           ซัดดัม ฮุสเซน หรือ ศ็อดตาม ฮุเซน อับดุลมะญีต อัลดีกรีตี  28 เมษายน 1937- 2006 อดีตประธานาธิบดีอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ปี 1979 กระทั่งถูกจับกุมและถอนออกจากตำแหน่ง ดดยกองกำลังนานาชาติซึ่งนำโดย สหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามอิรัก

            ซัดดัมเคยเป็นผุ้นำพรรคบะอษ์ พรรคการเมืองหัวปฏิวัติของอิรัก ซึ่งเป็นผุ้ริเร่ิมลัทธินิยมรวมชาติอาหรับ โดยไม่อ้างอิงกับศาสนา การปรับระบบเศรษฐกิจให้ทันสมัย และระบอบสังคมนิยม ซัดดัม มีบ่ทบาทสำคัญในการก่อรัฐประหารในปี 1968 ที่ทำให้พรรคบาสษ์ ก้าวขึ้นสู่อำนาจในระยะยาว ในฐานะของรองประธานาธิบดีโดยมีนายพล อาฮ์มัด บากัร ลูกพี่ลูกน้องของเขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ซัดดัมกุมอำนาจในการจัดการปัญหาข้อิพาทระหว่างรัฐบาลกับกองทัพ ในช่วงเวลาที่กลุ่มการเมอืงต่างๆ ภุกมองวาสามารถโค่นล้มรัฐบาลได้ทุกเมือโดยซัดดัมได้จัดตั้งกองกำลังรักษาความมั่นคง เพื่อส่งเสริมอำนาจของเขาในการควบคุมรัฐบาลอิรัก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 ราคานำมันปิโตเลียมที่พุ่งสุงขึ้นช่วยให้เศรษฐกิจอิรักเติบโตเป็นอย่างมากและในอัตราสม่ำเสมอ 

           เมือดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ชัดดัมได้พัฒนาลัทธินิยมตัวผุ้นำอย่างบ้าคลั่ง ปกครองรัฐบาลเผด็จการ และกุมอำนาจไว้ได้ในช่วงสงครามอิรัก-อิหร่าน. สงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งสงครามนี้ทำให้อิรักทรุดโทรม ทำลายมาตรฐานการครองชีพและสิทะิมนุษยชน รัฐบาลของซัดดัมได้จัดการกับการเคลื่อนไหวที่มีแนวโน้มเป็นภัยคุกคาม ดดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพวกชนกลุ่มน้อย หรือกลุ่มทางศาสนาที่ต้องการเรียกร้องอิสรภาพ หรือการปกครองตนเอง

          ขณะที่ยังคงเป็นวีรบุรุษที่ผรพชาชนชื่้นชม โดดเด่นในหมู่ผู้นำอาหรับอื่นๆ ในฐานะผู้ที่ลุกขึ้นต่้อต้านสหรัฐ และให้การสนับสนุน ปาเลสไตน์ ภายหลังสงครามอ่าวเปิอร์เซีย สหรัฐอเมริกาและชาติอื่นไ ในประชาคมโลก ยังคงเผ้าระวังจับตามองซัดดัมด้วยความหวาดระแวงว่ามีอาวุธทีมีอานุภาพทำลายล้างสูงในครอบครอง ซัดดัมได้ถูกถอดถอนโดยสหรัฐและฝ่ายสัมพันธมิตรในการบุกอิรักเมืองปี 2003 เขาสู้คดีในศาลพิเศษอิรักที่จัดขึ้นดดยรัฐบาลขั่วคราวของอิรัก

          5 พฤศจิกายน 2006 ผุ้พิพากษาศาลอิรัก สั่งลงดทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ในคดีสังหารหมู่ชาวชีอะห์ 148 คน ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในเมืองดูเญลเมือ ปี 1982 เขาถูกประหารในวันที่ 30 ธันวาคม 2006

           โอซามะฮ์ บิน โฮอัมเม็ด บิน อาวัด บินลาดิน 10 มีนาคม 1957-2 พฤษภาคม 2011 เป็นผุ้ก่อตั้งอค์การทหารรวมอิสลาม อัลกออิดะห์ ซึ่คณะในตรีความมั่นคงแห่งสหประาชติ เนโท สหภาพยุโรป และอกีหลายประเศที่ประกาศว่าเป็นกลุ่มก่อการร้าย

           เขาเคยเป็นพลเมืองซาอุดิอาระเบีย ถึงปี 1994 และเป็นสมาชิกของครอบครัว บิน ลาดิน ที่ร่ำรวย พ่อของเขาเป็นเศรษฐีชาวซาอุ เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทก่อสร้าง ซาอุดิบินลาดินกรุป  แม่ของเขา เป็นหราวาสจากครอบครัวชนชั้นกลางของซีเรีย เขาเกิดในซาอุดิอาระเบียและศึกษาที่มหาวิทลัยในประเทศจนถึงปี 1979 เขาเข้าร่วมก่องกำลัง มุญาฮีดีน ที่ปากีสถาน สู้รบกับสหภาพโซเวีต ที่อัฟกานิสถาน เขาช่วยเหลือพวกมุญาฮิดีนด้วยการส่งอาวุธ เงน และนักสู้จากโลกอาหรับ ไปยังอัฟกานิสถาน ทำให้ได้รับความนิยมในชาวอาหรับ ในปี 1988 เขาก่อตั้งกลุ่มอัลกออิดะฮ์ จากนั้นถูกเนรเทศออกจากประเทศซาอุดิอารเบียในปี 1992 และย้ายฐานไปประเทศซูดาน กระทั่งสหรัฐบังคับให้เขาออกจากซูดานในปี 1996 หลังตั้งฐานทัพใหม่ที่อัฟกานิสถาน เขาประกาศสงครามกับสหรัฐ และเริ่มภารกิจระเบิดกับการโจมตีที่คล้ายๆ กัน บิน ลาดินอยุ่ในรายชื่อสิบผุ้หลบหนีทีต้องการตัวมากที่สุด และผู้ก่อการร้ายที่ต้องการตัวมากที่สุด ของสำนักงานสบอสวนกลาง FBI จกการระเบิดสถานทูตสหรัฐในปี 1998

          บินลาดิน เป็นที่รู้เจักจาการเป็นผุ้ก่อเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน ซึ่งทำให้มีผุ้เสียชีวิตเกือบ 3,000 คน และทำให้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช เร่ิมต้นสงครามรต่อต้านการก่อการร้าย ตั้งแต่ ปี 2001 -2011 หน่วยซีลแห่งกองทัพเรือสหรัฐได้สังหารบินลาดิน ที่บ้านพักส่วนตัวใน เอบเฆอบอต ประเทศปากีสถาน ปฏิบัติการนี้ควบคุมตามคำสั่งของประธานาธิบดี บารัก โอบามา ภายใต้การนำของ บิน ลาดิน องค์ อัลกออิดะฮ์มีส่วนในการโจมตีทั่วโลก

                          ที่มา วิกิพีเดีย

           

วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2567

PLO

            ผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์ ถูกปฏิเสธว่าเป็นทรัพยากรบุคคลของประเทศอาหรับต่างๆ ขณะที่ชาวอาเลส


ไตน์เหล่านี้ต้องขึ้ต่อรัฐบาลอาหรับของวประเทศต่างๆ ที่พวกตนไปอาศัย ซึ่งรัฐบาลอาหรับแต่ละรัฐบาลมีความแตกต่างกัน ในระยะแรกเร่ิมชาวปาเลสไตน์ก็ไม่เคยสนใจการเมือง แต่ด้วยสภานะความเป็นอยู่  ความคุ้นชินกับการปฏิบัติการของหน่วยคอมมานโดประเทศต่างๆ ซึ่งกลุ่มจู่โจมเหล่านี้ไม่ได้รวมกันอย่างเห็นได้ชัด แตะมีเป้าหมายเดียวกัน  กลุ่มที่ทำงานจากฉนวนกาซาถุกบรรยายโดยองการค์ปลดปลอยปาเลสไตน์ว่า ได้รับการฝึกฝนและนำโดยข้าราชากรประจำกองทัพอียิปต์และทำงานกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ การเร่ิมต้นขององค์การกองโจรอาหรับไม่มีบันทึกที่เป็นเอสาร เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงที่ค่อยเป็นค่อยไปก นำไปสู่องค์ การทางการเมืองของพวกอาหรับปาเลสไตน์ การที่พวเขาได้อ่านวรรณคดีอารบิก โคลงกลอนและนิยาย ซึ่ทำให้ได้เข้าใจถึงสาเหตุของการเกิดการเคลื่อนไหวแบบกองโจร สิ่งที่ปรากฎชัดคือ คนหนถ่มสาวซึ่งเติบโตมาจากความทรงจำอันขมขื่้นในวัยเด็ก การบอกเล่าของผุ้อาวุโส ความเสียใจ และความต่ำต้อยของชีวิตผุ้ลี้ภัย คนเหล่านีจึงเร่ิมมีความรู้สึุกใหม่เกิดขึ้น คือความรู้สึกชาตินิยมที่เริ่มด้วยการรวมตัวกันป็นองค์การที่มีความเคลื่อนไหว คล้ายกองโจร

            องค์กรในยุคแรกๆ ที่ปรากฎที่สำคัญมี 2 องค์กร คือ ฮารากัท อัลดาห์รีร์ อัลฟลัสตินี่ Harakut al Tahir al- Flastini หรือ ฟาตาห์ Fatah และองค์การปลดปล่อยปลาเลสไตน์ Palestine Liberation Organization หรือ PLO องค์กรทั้ง 2 นี้ได้กลายเป็นตัวแทนกึค่งทางการของประชาชนชาวอาหรับปาเลสไตน์ แต่ทั้ง 2 องค์กรมีลักษณะที่แตกต่างกัน

 พี แอล โอ เป็นองค์การที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป เร่ิมด้วยการที่ชาวอาหรับปาเลสไตน์ประมาณ 400 คน ได้ร่วมกันจัดให้มีการประชุม ปาเลสไตน์ เนชั่นแนล คองเกรส ที่กรุงเยรูซาเลม ในปี 1963 โดยได้รับการสนับสนุนจากพรเจ้าฮุสเซนแห่งจอร์แน พ้อมกับการปชะมครั้งได้มีการจัดตั้งองค์การ พี แอล โอ ขึ้นดดยได้รับเงินสนับสนุนจากสันิบาตอาหรับ และมีการเปิดค่ายเพื่อฝึกฝนให้สมาชิกทำงานในลักษณะอกงโจรด้วย การจัดการประชุมหลายครั้งในมืองต่างๆ ทำให้องค์การ พีแอลโอ เป็นที่สนใจของรัฐบาลอาหรับ ในสายตาชาวอาหรับถูกมองว่า พี แอล โอ เป็นเพียงเครื่องมือของรัฐบาลอาหรับทั้งหลายที่่ใช้ต่อสู้กับอิสราเอล

            ฟาตาห์ เป็นองค์การลับ การเร่ิมตนนี้ไม่แน่ชัด กระทั้งปี 1965 เริ่มปรากฎให้เห็น ผุ้นำคนสำคัญที่สุด


ของอค์การ คือ ยัสเซอร์ อาระฟัด (อาราฟัดเกิด เมือ 4 สิงหาคม 1929 ในครบครัวชาวปาเลสไตน์เช้อสายิียิปต์ ที่อยู่ในฉนวนกาซา ได้ไปใช้ชีวิตวัยเด็ก และวัยรุ่นที่กรุงไคโร กับพี่น้องชายหญิงอีกหกคน ทำหให้สามารถเชื่อความสัมพันธ์ทางสายเลือดกับครอบครัวที่อาศัยในอียิปต์ไว้ได้ เขาเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนมัธยมฟารุก ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง) อาราฟัด ได้รับความเคารพนับถือจากชาวอหาีับจำนวนมาก" และชาวปาเลสไตน์ส่วนใหญ่จะมองเขาเป็นนักสู้เพื่อเสรีภาพ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความปรารถนาชาติของพวกเขา แต่กลับกันกับชาวอิสราเอล

           สงครามอาหรับ-อิสราเอล ปี 1967 ทำให้มีผู้ลี้ภัยอาหรับ 175,000 คน ุต้องถูกเคลื่อนย้ายอีกครั้งนหึ่ง ชาวปาเลสไตน์อีกกว่า 350,000 คน ถูส่งมาเป็นผู้ลี้ภัย และในการดูและของ UNRWA ของสหประชาชาติ ดว่า 1,375,915 คน และสิ่งที่สำคัญคือไม่มีรัฐบาลอาหรับของประเทศใดมีความเข้มแข็งพอจะสู้กับอิสราเอล ซึ่งเปิดโอกาศแก่อาระฟัด กองโจรอาหรับปาเลสไตน์ได้ทำงานด้วยการต่อสู้บริเวณพรมแดน เพื่อความปลอดภัยของประชาชน กองโจรเข้ามาแทนที่หน่วยคอมมานโด และทหารของรับบาลประเทศอาหรับซึ่งในความเป็นจริงการต่อสู้ของกองโจรต้องต่อสู้ด้วยอาวุธที่ไม่มีประสิทธิภาพ ความไม่มีศีลธรรมและกองทัพที่กระจัดกระจาย วิลเลี่ยม ควอท ได้เขียนไว้ว่่า

 "คำขวัญเก่า ที่ว่า ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับจะเป็นการสิ้นสุดความมีอิสระภาพของปาเลสไตน์....

           หรือจะกล่าวอีกอย่างว่า อิสราภาพของปาเลสไตน์จะเป็หนทางของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับ ความรู้สึกใหม่ของความเคารพตัวเองของชาวปาเลสไตน์ และกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย กลุ่มกองดจรมิได้หมดหวังในความต้องการของการเป็นผุ้นำชุมชนปาเลสไตน์ คำว่าชุมชน Community ยังคงเป็นคำที่มีความหมายเข้มแข็ง แต่การแ่งแยกในวันเก่าๆ ที่ยังคงอยุ่ ชนรุ่นเก่ายังคงอ้างงถึงผุ้นำที่มีลัษณะเป็นจารีตประเพณี ขณะที่ชุมชนอมุ่บ้านยังคงรักษาความจงรักภักดีระดับหมู่บ้าน...ปัจจัยต่างๆ ทำให้การพัฒนาที่จะนำไปสู่การสร้างประเทศต้องล้าหลัง อำนาจอยู่ในมือของกองโจรซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายจากหมู่บ้านแห่งหนึ่งมาสู่อีกแห่งหนึ่งและจากคายแห่งหนึ่งไปยังค่ายอีกแห่งหนึ่งได้ ดดยที่พวกเขาสามารถเดินทางข้ามพรมแดนได้ อย่างไรก็ตาม พวกกองโจรไม่เพียงแตกแยกกันเอง แต่ยังเป็นศัตรูกันด้วย


          การก่อตั้งกลุ่มผุ้ลี้ภัยใหม่ซึ่งมีลักษณผสมกันระหว่างการเมืองและทหาร การรวมกันของวกลี้ภัยเก่าและการต่อสู้เพื้ออิทธิพลได้เกิดขึ้นอย่างลับๆ การต่อสู้ของกองดจรจะสำเร็จได้ก็จะต้องทำให้เกิดการปฏิวัติ เกิดความวุ่นวายและความตาย มิเชล ฮัดสัน ได้สรุปว่า

        "ขณะที่ประเทศอาหรับกำลังอ่อนกำลังจากการพ่ายแพ้อิสราเอล  ในปี 1967 องคการฟาร์ตาก็กำลังแผ่ขยายใหญ่ขึ้น กลุ่มอื่นๆ ก็กำลังเร่ิมปรากฎขึ้น 

        อาราฟัดเล็งเห็นความไม่มีความสามารถของผู้นำ PLO เข้าจึงตัดสินใจเข้าเป็นผู้นำโดยการเจรากับองค์การกองโจรต่างและจัดให้มีการออกเสียง อาราฟัด ได้รับเลือกใหเป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ PLO และคณะกรรมการพิเศษอีก 11คน อยุ่ภายใต้การควบคุมของสมาชิก "ฟาตาห์"เมื่อกกลุ่มกองโจรรวมกันได้ แต่ยังคงมีอุปสรรคที่สำคัญคือ กษัตริย์จอร์แดน การสู้รบจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึงเกิดเหตุการสู้รบในเวลาต่อมา ที่ชาวปาเลสไตน์เรียกว่า "กรีน จูน" และ "แบล็ก เซฟเทมเบอร์"

กองโจรในจอร์แดนถูกขับไล่ไปสู่ความสิ้นหวังในจุดยืนสำคัญทางการเมือง แต่ก็มีกลุ่มใหม่ลักลอบดำเนินการต่อไป มีการโจมตีคังน้ำมันของอิสราเอล และท่าลำเลียงน้ำมันของอเมริกาซึ่งส่งน้ำมันจากท่อน้ำมันของอาหรับถูกทำลาย  ต่อมา นายกรัฐมนตรีจอร์แดนถูกฆาตกรรม กองโจรยังคงดจมตีต่อไป มีการโจมตีสนามบินลอดของอิสราเอล และลักพาตัวและฆาตกรรมสมาชิกของทีมโอลิมปิกอิสราเอลจำนวน 11 คน การกระทำดังกล่าวถูกมองว่าเป็นการกระทำของกลุ่มคนที่สิ้นหวังล้มเหลวในจุดหมายทางการเมือง

         กองโจรถูกขับไล่ออกจากจอร์แดน พวกเขามุ่งไปยังเลบานอนแต่ถูกอิสราเอลขัดขวาง เพื่อป้องกันการร่วมมือกันระหวางกองโจรและเลบานอน ทั้งนี้เพราะอิสราเอลเคยดจมตีสรามบินนานาชาติที่เบรุต ในปี 1968 และมีการปฏิบัติการโจมตีอีกสองครั้งในเวลาถัดมา ซึ่งในเหตุการณ์ครั้งหลังสุดอิสราเอลได้ดินแดนมากมาย  อิสราเอลจึงเตือนเลบานอนให้ระวังจะถูกโจมตี หากให้ความร่วมมือกัยกองโจร

        เลบานอนจึงบังคับกองโจรฟาตาห์ให้ตกลงที่จะไม่โจมตีเบรุตและได้ฆ่าผุ้นำ 3 คน เกิดการจลาจลนอง


เลือด กองโจรตำหนิชาวเลบานอนวาขี้ขลาดและได้ลักพาตัวทหารเลบานอนไป 2 คน รัฐบาลตอบโต้อยางรุนแรงทำลายค่ายที่พักของกองโจร

        นับจากมิุถุนายน 1970 กองโจรพบว่าตนเองอยุ่ในฐานะที่ต่ำต้อยในเลบานอน พวกกองโจรไม่สามารถยืนยัดถึงความเป็นผู้นำด้านการเมืองและการปกครองเนหือพื้นที่ส่วนต่างที่ยึคดรองได้ พวกเขาได้รับการขัดขวางอย่างรุนแรงในประเทศอาหรับทั้ง 2 ทั้งเลบานอนและจอร์แดน ขณะที่ในประเทศอาหรับอื่นๆ ก็อยุ่อย่างอดทนและขุ่นแค้น เช่นใน อิรัก ซีเรียและอิยิปต์ ซึ่งต่อมาชาวปาเลสไตน์เหล่านี้จึงมีชีวิตอยุ่อยางสิ้นหวังอย่างแท้จริง

                      ที่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-7.pdf


            

วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2567

October War;

           เมื่อเหตุกาณ์การปะทะกันระหว่างกองโจรปาเลสไตน์ และรัฐบาลจอร์แดนซึ่งเรียกว่า เหตุกาณ์ แบ็ก เซฟเทบเบอร์ (ๅBlack September)  ได้สิ้นสุดลง ในเดือนกันยายน 1970 เป็นเวลาเดียวกับที่ประานาธิบดีนัสเซอร์สถึงแก่อาัญกรรม "อันวาร์ ซาคัท ผู้ซึ่งชอบความประนีประนอม คนทั่วไปมักปเรียบวา ซาคัทป็นชาลี แชปลิ้น ที่มาแสดงบทบาทของ เจมส์ บอนด์ เข้าขึ้นครองตำแหน่งท่ามกลางสรพันปัญหา แต่ก้สามารถเป็นผู้ปกครองที่แท้จริงของอิยิต์ การต่อสุ้ของซาคัททำเพื่อรักษาตำแหน่งของตนเองและเพื่อแก้ปัญหาในอีิยิปต์ แต่ก็มีัการวิพากษ์วิจารณืวว่าอีิยิปต์อยุ่เบ้องหลังสงครตามระหว่าอาหรับกับอิสราเอลครั้ต่อมาซึในเดือน ตุลาคม ปี 1973 


           ขณะที่เหตุการความขัดแย้งในปาเลสไตน์ได้รับความสนใจจากประชนเป็นอยางมาก ระว่ารงปี 1972-1973 รัฐบาลอาหรับทั้งหลายต้องเผชิญกับปัญหาการโจมตีกันตลอดระยะเวลาดังกล่าว เช่น อิสราเอลโจมตีเลบานอน มกราคม 1972 อาหรับโจมตีทีมโอลิมปิกของอิสราเอลอยางรุนแรงที่เมืองมิวนิค กันยายน 1972 และอิสราเอลยิงเครื่องบินลิเบียพร้อมผุ้โดยสาร 108 คน  ในเดือน กุมาภาพันธ์ 1973 และอิสราเอลใช้หน่วยคอมมานโดยิงเมืองเบรุตในเดือนเมษายน 1973 ทำให้สัญญาการพักรบชั่วคราว ปี 1970 เกิดการสั่นคลอน เนื่องจากความล้มเหลวของ๕ระกรรมการจากอเมริก อิยิปต์จึงพยายามหาทางให้ได้รับควาข่วยเหลือมาขึ้นจากโซเวียตเพื่อการคงอยู่ของกำลังทหารและกองทัพ แต่โซเวียตก็ให้ความช่วยเหลือได้เพียงเล็กน้อย ขณะเดียวกันอิสราเอลก็ไม่เต็มใจที่จะทำข้อตกลงยินยิมใดๆ ณะที่อเมริกายังแสดงท่าที่ที่เยือกเย็นแะเหนห่างจากอียิปต์ แต่สนับสนุนอิสราเอลอย่างเต็มที่ 

            อิยิปต์ต้องสูญเสียแหล่งน้ำมันใน้แก่อิสราเอล คลองสุเอลถูกปิด ค่าใช้จ่ายสในการรักษาความปลอดภัยสูงมากประมาณมากว่า 25% ของรายได้ของประเทศ และยงมีการทำรัฐประหารเกิดขึ้นในประเทศถึง 2 ครั้ง การวิพากษืวิจารณืในปมุ่คนหนุ่มหัวรุนแรงก็เพ่่มมากขึ้นเรื่ยๆ แม้แต่ในหมู่ผุ้ที่รู้คำตอบก็ยังอดสงสัยไม่ได้ว่าทำไมทั้งที่ อิยิต์มัีกองทัพใหญ่ฝโตมีอาวุธพร้อมแต่หตุใดรับบาลจึงยินยอมให้มารยึคดพื้นที่ กว่า 26,000 ตารางไมล็ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างจากมืเงอหลวงเพียงไม่ถึง 100 ไมล์

           อียิปต์ได้รับการช่วยเหลือจากรัศเซีย โดยชาวรัศเซียต้องการให้ตนมีอิทธิพลต่อโลกเอเซีย-แอฟริกา แต่อย่างไรชาวรัสเซียก็มิได้ทำเช่นนั้นเพราะจะก่อให้เกิดคามตึงเครียดอย่างมากกับอเมริกา ดังนั้นเมือประธานาธิบดี ซาคัทเดินทางไปเยือนมอสโกในเดือนกุมภาพันธ์ 1972  เพื่อขอาวุธใหม่ จากรัศเว๊ย เขาจึงได้รับการปฏิเสธ แม้ในการเดินท่างไปเยือนในครั้งก็ได้รับการปฏิเสธอีกเช่นกัน  และการเดินทางไปมอสโกครั้งที่โดยส่งนายกรัฐมนตรี ดร. ฮาซีซ วซิดโก เดินทางไปมอสโกด้วยจุดประสงค์เดิม ก็ถูกปฏิเสธอีกเช่นเดิม  ประธานาธิบดี ซาคัม ซึ่งทั้งโกระและผิดหวังจึงสั่งให้ถอนทหารชาวรัสเซียกว่า 40,000 นายออกไปจากประเทสทันที และได้ส่งกอทัพอียิปต์ไปควบคุมฐานต่างๆ ของโซเวียตที่เคยอยู่ในอียิต์ 

         


   อิสราเอลยังคงดำเนินนโยบายแข็งกร้าวต่อไป นางโกลเดอร์ แมร์ นายกรัฐมนตรีอิสราเอล ตั้งเจตุจำนงไว้ 5 ประการ คือ 

                - การรักษาพื้นที่ทั้งหมดของที่ราบสูงโกลันในซีเรีย

                  - การมีสิทธิในการปกครองเหนือพื้นที่ฝั่งตะวันตก (เวสท์ แบงค์ แอเรีย) และมีอำนาจเหนือประชาชนอาหรับที่อาศัยอยุ่ที่นั่น 

                    - การมีอิทธิพลเหนือน่านน้ำเมดิเตอร์เรเนียน

                     - การรักษาฉนวนกาซา

                     - การรักษา ชาม เอล ซิค  และเส้นทางภายนอกที่เชื่อมกับอิสราเอล

                     อิสราเอลไม่สนใจต่อการเจรจาที่ยุติปัญหาใดๆ ทังสิ้น และไม่ไม่มีทีท่าจะยอมรับข้อเสนิของอียิปต์

                     .ในวันที่ 8 ธันวาคม 1972 สมัชชาใหญ่ออกเสียง 86ต่อ 7 โดยไม่ให้สมาชิกจัดหาเงินช่วยเหลือิสราเอล เพราะเงินดังกล่าวจะช่วยให้อิสราเอลสามารถรักษาดินแดนที่ยึดครองไว้ได้นาน  อยางไรก็ตามสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนใหญ่ได้ออกเสียงต่อต้านมาตรการของสมัชา

                    อิยิปต์เบือกใช้วิธีการทางการทูตและแนนอนวาจะต้องเปิดทางไปสู่สงครามอย่างแนนอน วิธีการนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของนโยบาย Forward Policy มีเหตุการหลายอย่่างที่ชี้ให้เห็นว่าอิยิปต์พร้อมทำสงคราม คณะทูตพิเศษของอียิปต์ที่เดนทางไปตามเมืองหลวงของประเทศต่างๆ ล้วนได้รับการต้อนรับด้วยคำพูดที่แสดงความสงสารและเห็นอกเห็นใจ

                     อิสราเอลพิจารณาเห็นนดยบายอันก้าวร้าวทางการทูตของอียิปต์ จึงโต้ตอบดดยย้ำเน้นถึงวิถีทางที่แข็งแกร่งต่อไป  อิสลาเอล พิจารณาเห็นว่า ด้วยเจตจำนงของอิสราอล อาจไม่เติมเต็มด้วยสันติภาพ นดยบายของอิสราเอลจึงเป็นไปในทางลบ นั้นคือ ทำให้ความหวังของกำลังอาหรับต้องต้องพังทลาย ความหวังจะได้รับความคุ้มครองของรัสเซียและ ความหวังที่สหประชาชาตคิจะเข้ามาแทรกแซง ถ้ากอหาหรับถูกขัดขวางและถูกบังคับให้จนมุม  ชทวอาหรับก็คงตระหนักดีว่าการเชผลิญหน่ากับอิสราเอลเป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

                   ซาคัด ก็ตระหนักดีในเรื่องดังกล่าว เขากล่าว่า เขารุ้สึกว่าสงครามจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายใน


เวลา 2-3 เพือนนี้ แม้แต่ผุ้สังเกตุการณ์ที่มีความีคุ้นเคยกับตะวันออกลางและรัสเวียก็มีควารมเห็นไปในทิศทางเดียวกัน ขณะที่ความคึงเครียดกำลังเพ่ิมมากขึ้น  ข้าราชการชาวรัสเซียได้เตือนผุ้มีส่วนร่วมชาวอเมริกันดยเน้นถึงคำภามประเด็นหนึ่งว่่า ไสงครามจะเกิดขึ้นเมือไรและจะต่้อสุ้กันเพื่อคุนค่าอะไร"

                   ความก้าวร้าวทางการทูต เกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม เมือสามาชิกคณะมนตรีความมั่นคงจำนวน 13 คน จาก 15 คนได้ออกเสียงแสดงความเสียใจที่อิสราเอลยังคงยึดครองดินแดนของอาหรัต่อไป จึงไม่ออกเสียงขณะที่อเมริกาออกเสียงคัดค้านผลสรุป สำหรับอาหรับดุเหมือนว่าจะใช้ทางเลือโดยวิธีทางการทูตถูกปิดกั้นลง และความสามารถของพวกเขาในการบังคับใช้มติ 242 จะต้องถูกตัดเพราะการคัดค้านของอเมริกา  

                 จากเหตุการดังกล่าว นายเดวิด โฮลเดน รายงานจากลอนดอน ออฟเซิฟเวอร์  แบับวันที่ 29 กรกฎาคม 1973 ว่า "ชาวอิสราเอลโต้เถียง..และชาวอเมริกาสนับสนุนพววกเขา..ถ้าพวกอาหรับถุกตัดสิทธิทางเลือกทั้งหมด..พวกเขาก็จะเก็บความภาคภูมิใจเอาไว้ในใจและยอมรับความจริงว่ อิสราเอลมีอำนาจสุสุด" 

                 ขณะเดียวกัน การจัดหาอาวุธจาโวเวีตได้เริ่มมาถึง ซีเรียได้รับคำสัญญาในเดือนพฤษภาคมว่าจะไดรับเครื่องบินต่อสู้อากาศยาน มิกซ์ 21 จำนนมากละรวมทั้งจรวดต่อสู้อากาศยานด้วย ในปี 1973 ซีเรียได้รับความช่วยเหลือประมาณ 200 ล้านดอลลาร์ ขณะเดียวกันยูโกสลาเวียก็ได้เริ่มให้เครื่องบินต่อสู้อากาศยานใหม่แก่อิยิปต์อย่างเงียบๆ 

                   ปลายเดือนมิถุนายน ประธานาธิบดีซาคัทและประธานาธิบดีอัสซัดแห่งซีเรยได้ร่วมกันจึดตั้งแนการรบ อีิยปต้องเป็นผุ้มีส่วนร่วมที่อาวุโสที่สุดและซีเนียต้องจำกัดจุดประสงของตนเพื่อที่จะกระทให้สองคล้องกันเ ในทีุ่สุดอิยิปกไนกดวันที่ 8 ตุลาคม วซึ่งเป็นวันไม่เพียงแต่อากาศดี พระจันทร์เต็มดวงเท่านั้นแตยังเป็นวันที่มีความสำคํยทางศาสนาอีกด้วย เป็นวันที่พระมะหะหมัดเร่ิมเตียมแผนกาณ์สำหรับการรบครั้งแรกที่สำคัญที่สุดของอิสลาม นั้นคือ  "การสงครมแห่งบาตร์ไ ซึ่งได้ชัยชนะหนือเมกกะ

               


  อิสราเอลเปิดฉากสงครามในวันที่ 13 กันยายน กองกำลังอากศปฏิบัติการปฏิบัติการนอกชายฝั่งซีเรียและยิงเครื่องบินซีเรียตก 8 ลำ  ประธานาธิบดีซีเรยกล่่าวว่าการกระทำของอิสราเอลเป็นการท้าทายอย่างก้าวร้าวและกล่าวว่าสงครามได้เร่ิมต้นขึ้นแล้ว 

                  เป็นที่น่าสังเกตวาแผนการณ์สำหรับการปกิบัติงานทางทหารในสงครามเดือนตุลาคมนั้้น อิยิปต์ไม่ได้มีความคิดวาพวกเขามีความสามารถเอชนะอิสราเอลได้ ฝีมือที่ไม่เสมอกัน ระหว่างอหาอาหรับและอิสราเอลซึ่งเห้นมาแล้วในสงครามปี 1948 ก็ยังคงเป็นอยู่อย่างนั้น ตลอจนความไม่เขั้นพื้นฐาน อิสราเอลป็นประเทศที่เจริญก้าวหน้า ส่วนอาหรัีบเป็นประเทศที่ยากจน้าหลังและยังไม่พัฒนา

                   ผุู้้สังเกตุการเชื่อว่าอิยปิต์ต้องการให้มหาอำนาจเข้าแทรกแซงอย่างน้อยก็ในระยะแรกของสงคราม ดังที่หนังสือพิพม์ ซันเดย์ ไทมส์ ทีม ได้วิเคราะห์เหตุกาณ์ดังนี้ 

                  " คิงซิงเจอร์ต้องการให้อิสราเอลพ่ายแพ้แต่อยุ่ในขอบเขตจำกัด แต่ก็ใหญ่พอที่จะสร้างความพอใจให้แก่อาหรับ และทันสมัยพอที่จะทำให้หมดข้อสงสัยในชัยชนะของการโฆษณาชวนเชื่อสหรับรัสเซีย สุขุมพอที่จะสามารถนำอิสราเอลมาสู่การประชุม และน่าเชื่อถือได้พอที่จะหลีกเลืี่ยงการพังทลายของรัฐบาลของนางแมร์"

                   ในวันที่ 16 ตุลาคม ประธานาะิบดี ซาคัท เร่ิมต้นการเจรจาเพื่อสันติแต่ในขณะเดียวกัน ซาคัทไม่รุ้ว่่าอิอสราเอลทำลาแนวป้องกันของอิยปต์เพื่อหาทางข้ามคลองบริวณทิศใต้ของเมืองอิสไมเลีย และเพื่อให้แนวป้องกันของอียิปต์ถูกตัดขาดจากหน่วยกองกำลังที่ 3 อิสราเลมีัชัยชนะเเหนือกองทัพอิยิปต์ทางภาคใต้

                 อิหร่าน ประกาศว่า สมาชิก กลุ่ม "เปอร์เซีย


 น กลัฟ" แห่งโอเปค ซึ่งเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันได้มาพบกันที่คูเวตเพื่ออภพปรายถึงปฏิกริยาของวพวกตนต่อวิกฤตกาลของตะวันออกกลาง ผุ้เแทนของอิหร่านซึ่งเป็นประเทศสำคัญที่จัดหาน้ำมันให้แก่อิสราเอลก็ได้เข้ามีส่วนร่วมในการประชุมด้วย อย่างไรก้ตาม แม้ว่าอิหร่านจะม่ชอบการควำ่บาตร แต่สถากาณ์ก็ทำให้นำ้มันทีราคาสูงขึ้น  และอิหร่านก้เตรียมพร้อมที่จะมีสัมพันธ์อันดีกับประเทศอาหรับเพื่อนบ้าน ไมนัส ปรธานชาวอิหร่านนผุ้ซึ่งได้ออกจากรประชุมก็ออกเสียงให้หยุดส่งน้ำมันจนกว่ามติ 242 ข้อของคณะมนตรีความมั่นคงจะถูกนำมาสช้

                 ซึ่งมีอานุภาพเป็นอย่างมาก ดยางไรก็ตาม ตลอดวิกฤต รัฐบาลซาอุดิอาระเบียคัดค้านการขึ้นระคาน้ำมันเพราะซาอุดิอาระเีและอเมริกามีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มีเพียงญี่ปุ่นและฮอลันดาที่มีความสัมพันะ์ทางการค้ากับอิสราเอล และโปรตุเกสซึ่งเป็นศัตรูสำคัยของลัทธิชาตินิยมแอริกาที่ไม่ให้ใช้วิธีที่รุนแรง แต่ะจะมีประเทสใดที่จะเข้าช่วยเหลือชาติอาหรับ 

  พระเจ้าไฟซาแห่งซีเรียส่งรัฐมนตรีต่างประเทศ ไปพบประธานาธิบดีนิกสันเพื่อกรุตุ้มนให้อเมริกาช่วยยิติปัญหาในตะวันออกกลาง หลังจากนั้นไม่นานทำเนีบขาวได้ข้อ้องสภาคองเหรสตั้งวบประมษรช่วยเหลือกองทัพอิสราเอล พระเจ้าไฟซาลแห่งซีเรรยไม่พอใจอย่างมากจากการกระทำของอเมริกา จึงงดส่งน้ำมันทั้งหมดสุ่อเมริกา

                การเผลิญหน้าทางการทุตและเศราฐกิจระหว่างอาหรับกับมหาอำนาจเป็การบั่นทอนฐานะทางทหารของอิยิปต์ และการเผชิญหร้าดังกล่วเป็นการเชื้อเชิญทั้้ง รัสเซีย และอเมริกเข้ัาแทรกแซงวิกฤตกาลในตะวันออกกลาง

                ทั้งอเมริกาและโซเวียตสนับสนุนมติของคณะมนตรีความมั่นคง โดยขอร้องให้ทุกฝ่ายยุติกิจกรรมทางทหารอยางทันที และเร่ิมต้นใช้มติที่ 242 ของคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนั้นคณะมนตรีความมั่นคงยังเรียกร้องให้ทุกฝ่ายเริ่มหาทางเจรจาเืพ่อสร้างความยุติธรรมและสันติภาพอย่างถาวร สงครามแนวรบอิยปิปต์ค่อยๆ ลดลง และ แนวรบซีเรียหยุดยิงในเพื่อนพฤษภาคม 1974

                สงครามในครั้งนี้ทำใหป้ระวัติศาสตร์อาหรับเปลี่ยนไป และในที่สุดก็ปรากฎชัดว่าชาวอาหรับมีความสามารถโดยปราศจการทำให้ต่ำต้อยและความอ่อนแอในอดีตที่ผ่านมา เพื่อที่จะกลับไปแก้ปัญหาด้านสังคม เศรษฐกิจและมีความหวังในภายภาคหน้า...

               

                              ที่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-8.pdf

               

             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...