มุสลิม ภาษาอาหรับ อัลมุสลิมูล แปลวา "ผู้อ่นน้อม)ต่อพระเจ้า" เป็นบุคคลที่นับถือศาสนาอิลาม ศาสนาเอกเทวนิยม อยุ่ในธรรมเนียมศาสนอบราฮัมพวกเขาถือว่าคัมภีร์อัลกุลาอาน คัมภีร์ในศาสนาอิสลามเป็นพระดพรัสของพระเจ้าของอับราฮัมที่ประทานให้แก่มุฮัมมัน ศาสดกนศสนาอิสลามมุสลิมส่วนใหญ่ยัดำเนินตามคำสอนและการปฏิบัติของมุฮัมหมัน(ซุนนะฮ์)ตามที่มีการจดบันทึกในรายงานต่างๆ ฮะดีษ)
ด้วยจำนวนผุ้นับถือเกือบ 2,000,000,000 คน ในปี 2020 เป็นประชากว่า 24.9 ของประชากรของโลกทั้งหมด โดยแบ่งตามจำนวนในทวีปต่างๆ ดังนี้ แอฟริกา 45%, เอเซียและโอเซียเนีย(โดยรวม) 25%, ยุโรป 6%, อเมริกา 1%, นอกจากนี้ เมือนำจำนวนตามภมิภาค จำนวนนั้นจะกลายเป็น 91% ในตะวันออกกลาง-แอฟริกาเนหือ 90% ในเอเซียกลาง, 65% ในคอเคซัส, 42% ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, 32% ในเอซียใต้และ 42% ในแอฟริกาใต้สะฮารา
อิสลามมีนิกายต่างๆอยุ่หลายนิกาย แต่ที่มีผุ้นับถือมากที่สุดคือ ซุนนี่ 75-90%ของมุสลิมทั้งหมด และ ซีอะฮ์ 10-20% ของมุสลิมทั้งหมด
เมื่ออิงจากตัวเลขจริงเอเซียใต้มีจำนวนมุสลิมมากที่สุด 31% จากประชากรมุสลิมทั้่วโลก ฝดยหลักออาศัยอยู่ทั่วในสามประเทศคือ ปากีสถาน,อินเดียและบังคลาเทศ
เมื่อแบ่งตามประเทศ อินโดนิเซีย มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกมุสลิม โดยมีประชากรประมาณ 12% ของมุสลิมทั่วโลก
ส่วนในประเทศที่มุสลิมเป็นชนกลุ่มน้อย ในอินเดียและจีนมีประชากรมุสลิมมากเป็นอันดับหนึ่ง (11%)และที่สอง(2%) ตามลำดับ
เนื่องจากการเติบโตของประชากรมุสลิมอยู่ในระดับสูง ทำให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก
นิกายและสำนักคิดในศาสนาอิสลาม นักวิชาการอิสลา มีทัศนะแตกต่างกันในการจำแนกจำนวนนิกายต่างๆ ในโลกอิสลาม
- การตีความหมายของคำว่า 73 จำพวกในที่นี้ว่ามาถึงมุสลิมจะแตกกลุ่มแยกกันมากมายหลายกลุ่ม ไม่เจาะจงวาต้องแตกออกเป้น 73 จำพวก พอดีตามตัวบทวจนะของท่านศาสดา (ซ.ล.)
- บ้างกล่าวว่ามีมากกว่า 73 กลุ่ม - บ้างว่าน้อยกว่า 70 กลุ่ม
อย่างไรก็ตามไม่ว่าศาสนาอิสลามจะแตกออกเป็นหลายกลุ่ม แต่ศาสนาอิสลามที่ถูกต้องมีเพียงกลุ่มเดียวส่วนกลุ่มอื่นๆ ที่แตกแนวนั้นถือเป็นกลุ่มนอกศาสนา เพราะที่อยุ่ของเขาเหล่านัี้นคือๆฟนรก ดังนั้นเราอาจจะสรุปได้ว่า สาสนาอิสลาม มีนิกายเดียว (เพราะนิกายอื่นๆ นั้นไม่ใช่อิสลาม ณ ที่อัลลอฮฺ (ซ.บ.))
โลกมุสลิม มีนิกายทางศาสนาที่สำคัญอยู่ 2 นิกาย คือ นิกายสุนหนี่ และ นิกายชีอะห์ ซึ่งเป็นสาเหตุประการหนึ่งของการขัดแย้งระหวางประเทศมุสลิมด้วยกันเอง อาทิ
- หลังจากขบวนการปฏิวัิตอิสลามภายใต้การนำของอิหม่ามโคมัยนี่ประสบความสำเร็จในการโค่นล้มจักพรรดิซาห์ปาหืเลวีแห่งอิหร่นในปี 1979 อิหร่านพยายามมีบทบาทในเวทีการเมืองของโลกมุสลิม และพยายามผลักดันตนเองในการเป็นผุ้นำของประเทศมุสลิม ทั้งพยายามแย่งชิงศูนย์การนำจากประเทศอาหรับ โดยเฉพาะซาอุดิอาระเบียมาสู่อิหร่าย
จากพฤติกรรมดังกล่าว ทำให้ประเทสอาหรับและมุสลิมอื่นซึ่งส่วนใหญ่นับถือสนุหนี่ ขัดขวางการแผ่อิทธิพลของอิหร่ายที่ชูการปฏิวัติอิสลามพร้อมกับนำแนวความเชื่อหรือนิกายชีอะหือิมามียะห์เข้าเผยแพร่ด้วย
- หตุการณ์ในซาอุดิอาระเบีย มเื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 1987 นักแสวงุญอิหน่าน กว่า 150,000 คน ได้มีการรวมตัวเดินขบวนต่อต้านอเมริกา รัสเซยและอิสราเอลในนครเมกกะซึ่งเป็นที่รวมของนักแสวงบุญทั่วโลกกว่า 2 ล้านคน ด้วยเหตุที่นักแสวงบุญชาวอิหร่านนับถือชีอะห์ ทำให้ทาการซาอุดิอาระเบียซึ่งนับถือสุนหนี่เกิดความระแวงและไม่วางใจเกรงจะเกิดเหตุการณื เช่น ปี 1979 ซึ่งมีบุคคลกลุ่มหนึ่งพร้อมอาวุธเข้ายึดมัสยิด อัล-ฮะรอม ดันเป็นที่ตั้งของหินดำ (กะบะห์) จึงพยายามสกัดกั้นการเดินขบวนมิให้ลุกลามใหญ่โตจนไม่อาจควบคุมได้ แตก่ก็เกิดการปะทะระหว่างผู้เดินขบวนกับเจ้าหน้าที่รักษาคาวามสงบของทางการ ซาอุดิอาระเบียและเกิดโศกนาฎกรรม มีผุ้เสียชีวิตจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักแสวงบุญชาวอิหร่าน
นักวิชาการมุสลิมมีความเหต็แตกต่างกันในเรื่องการกำเนิดของลัทธิชีอะห์ อย่างไรก็ตามจากการบันทึกของประวัติศาสตร์อิสลาม หลังจากที่ท่านศาสดามูฮัมมัดเสียชีวิต ชาวมุสลิมในขณะนั้นมีความเห็นแตกต่างกนในเรืองของการเลือกผุ้นำประชาชาติมุสลิม (คอลีฟะฮฺ) บางพวกเห็นว่าควรจะเป็นผุ้ที่มาจากอันซอร์(ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองมะดีนฮฺ ซึ่งได้ให้ความช่วยเหลือกแก่ท่านศาสดาและชาวมุสลิมในคราวที่มีการอพยพจากเมืองเมกกะ) บางพวกเห็ว่าควรจะเป็นพวกมูฮาญิริน(ผู้อพยพมาพร้อมท่านศาสดา บางพวกสนับสนุนให้ท่านอะลีเป็นผู้นำ ชีอะห์เกิดจากความขัดแย้งในเรื่องความเหมาะสมของผุ้ที่จะดำรงตำแหน่งผู้นำประชาชาติมุสลิมสืบทอดจากท่านศาสดาเป็นหลัก ทำให้ผุ้สนับสนุนอะลีปลีกตัวไปตั้งนิกายของตนเองเพื่อรอโอกาสที่จะความยุติสู่อาณาจักรอิสลาม แม้ว่าความเชื่อตามแนวนี้จะขัดกับมุสลิมส่วนใหญ่(สุนหนี่)ก็ตาม แต่ก็ไม่มีนักวิชาการมุลิมคนใดออกมาประณามพวกเขาว่าเป็นผุ้ตกศาสนา(กาเฟรฺ)
ที่มา : วิกิพีเดีย
http://library1.nida.ac.th/nida_jour0/NJv28n1_05.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น