วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Wanted

             ญะมาล อับดุนนาศิร สุชัยน์ Gamal Abdel Nasser Hussein  15 มกราคม 1918- 28 กันยายน 1970 เป็นประธานาธิบดนที่สอง ของอิยิปต์ เขานำการล้มล้างระบอบกษัตริย์ ปี 1952 และแนะนำการปฏิรูปที่ดินกยางกว้างขวาง ความนิยมของนาศิรในอิยิปต์และโลกอาหรับได้พุ่งขึ้นสูงขึ้น ภายหลังจากที่เขาได้เปลี่ยนให้คลองสุเอซกลายเป็นของรัฐและชัยชนะท างการเมืองของเขาในวิกฤตการณืคลองสุเอซ ความเป็นเอกภาพของชาวอาหรับภายใต้ความเป็นผุ้นำของเขาที่เพีมมากขึ้น และถึงขีดสุดด้วยการก่อตั้งสหสาธารณรัฐอาหรับกับซีเรีย 

           นาศิรได้เร่ิมต้นด้วยหนึ่งในมาตราการสังคมนิยมที่สำคัญและการปฏิรูปความทันสมัยในอิยิปต์ แม้ว่า


จะล้มเหลวในจุดชนวนของการรวมชาวอาหรับ ผู้สนับสนุนเขาได้รับอำนาจในหลายประเทศอาหรับ แต่เขาได้กลายเป็นผู้มีส่วนพัวพันในสงครามกลางเมืองเยเมนเหนือ และในที่สุดก้เป็นสงครามเย็นอาหรับซึ่งขยายลุกลามในโลกอาหรับ 

          ปี 1968 นาศิร แต่งตั้งตนเองเป็นนายกรัฐมนตร เปิดฉากสงครามเพื่อทวงคือนดินแดนที่เสียไป ออกกหนดของการปฏิรูปเสรีภาพทางเมือง ภายหลังจากการสรุปของการประชุมสุยอดสันนิบาตอาหรับ ปี 1970 นาศิรประสบภาวะหัวใจล้มเหลวและเสียชีวิต 

           ยัสเซอร์ อาราฟัด. ยาชิร อะเราะฟาตะ 24 สิงหาคม 1929- 11 พฤศจิกายน 2004 เป็นที่รู้จักในชื่อการรบว่า อะบู อัมมาร์ ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุลราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัด อัล กุตวา เป็นผุ้นำปาเลสไตน์ ป็นประธานองคืการปลดปล่อยปาเลสไตน์ PLO ประธานองค์การบริหารแห่งบชาติปาเลสไตน์ และผู้นำฟาตาห์ Fatah พรรคการเมืองและอดคตกลุ่มกำลังภึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน อาราฟัดใช้เวลาส่วน


ใหญ่ของชีวิตในการต่อสู้อิสราเอลลเพื่อการกำหนดการปกครองด้วยตนเองบของปาเลสไตน์ แต่จากดิมที่คัดคั้านการมีอยุ่ของอิสราเอล ขเาเปลี่ยนท่าทีของตนใน เมือเขายอมรับข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 242 

         อาราฟัดเข้าร่วมเจรจาหลายคร้งกับรัฐบาลอิสราเอลเพื่อยุติความขัดแย้งนานหลายทศวรรษระหวางอิสราเอลกับองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ซึ่งรวมถึงการประชุมมาดริด ข้องตกลงกรุงออสโล และการประชุมสุดยอดแคมป์เดวิด คู่แข่งทางการเมืองของเขารวมทั้งกลุ่มอิสลายและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ฝ่ายซ้าย มักประณามเขาว่าทุจริต หรือยอมให้กับรัฐบาลอิสราเอลมากเกินไป 

          อาราฟัดได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ร่วมกับ ยิดส์ฮัก ราบิน และซิมอน เปเรส สำหรับการเจรจาที่กรุงออสโล ในช่วงนี้ "ฮามาส"และกลุ่มพร้อมรบอื่นๆ เถลิงอำนาจ และสั่นคลอนรากฐานของอำนาจที่ฟะตะห์ภายใต้การนำของอาราฟัดได้สถาปนาขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์

          หลังถูกกักกันในบริเวณบ้านของเขาป็นเวลากว่า 2 ปี ดดยกองทัพอิสราเอล อาราฟัดก็ล้มป่วย โคม่าและเสียชีวิตเมือวันที่ 11 พฤศจิกายน 2004 อายุ 75 ปี สาเหตุการเสียชีวิตยังเป็นที่ถกเถียง...

           ซัดดัม ฮุสเซน หรือ ศ็อดตาม ฮุเซน อับดุลมะญีต อัลดีกรีตี  28 เมษายน 1937- 2006 อดีตประธานาธิบดีอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ปี 1979 กระทั่งถูกจับกุมและถอนออกจากตำแหน่ง ดดยกองกำลังนานาชาติซึ่งนำโดย สหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามอิรัก

            ซัดดัมเคยเป็นผุ้นำพรรคบะอษ์ พรรคการเมืองหัวปฏิวัติของอิรัก ซึ่งเป็นผุ้ริเร่ิมลัทธินิยมรวมชาติอาหรับ โดยไม่อ้างอิงกับศาสนา การปรับระบบเศรษฐกิจให้ทันสมัย และระบอบสังคมนิยม ซัดดัม มีบ่ทบาทสำคัญในการก่อรัฐประหารในปี 1968 ที่ทำให้พรรคบาสษ์ ก้าวขึ้นสู่อำนาจในระยะยาว ในฐานะของรองประธานาธิบดีโดยมีนายพล อาฮ์มัด บากัร ลูกพี่ลูกน้องของเขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ซัดดัมกุมอำนาจในการจัดการปัญหาข้อิพาทระหว่างรัฐบาลกับกองทัพ ในช่วงเวลาที่กลุ่มการเมอืงต่างๆ ภุกมองวาสามารถโค่นล้มรัฐบาลได้ทุกเมือโดยซัดดัมได้จัดตั้งกองกำลังรักษาความมั่นคง เพื่อส่งเสริมอำนาจของเขาในการควบคุมรัฐบาลอิรัก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 ราคานำมันปิโตเลียมที่พุ่งสุงขึ้นช่วยให้เศรษฐกิจอิรักเติบโตเป็นอย่างมากและในอัตราสม่ำเสมอ 

           เมือดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ชัดดัมได้พัฒนาลัทธินิยมตัวผุ้นำอย่างบ้าคลั่ง ปกครองรัฐบาลเผด็จการ และกุมอำนาจไว้ได้ในช่วงสงครามอิรัก-อิหร่าน. สงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งสงครามนี้ทำให้อิรักทรุดโทรม ทำลายมาตรฐานการครองชีพและสิทะิมนุษยชน รัฐบาลของซัดดัมได้จัดการกับการเคลื่อนไหวที่มีแนวโน้มเป็นภัยคุกคาม ดดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพวกชนกลุ่มน้อย หรือกลุ่มทางศาสนาที่ต้องการเรียกร้องอิสรภาพ หรือการปกครองตนเอง

          ขณะที่ยังคงเป็นวีรบุรุษที่ผรพชาชนชื่้นชม โดดเด่นในหมู่ผู้นำอาหรับอื่นๆ ในฐานะผู้ที่ลุกขึ้นต่้อต้านสหรัฐ และให้การสนับสนุน ปาเลสไตน์ ภายหลังสงครามอ่าวเปิอร์เซีย สหรัฐอเมริกาและชาติอื่นไ ในประชาคมโลก ยังคงเผ้าระวังจับตามองซัดดัมด้วยความหวาดระแวงว่ามีอาวุธทีมีอานุภาพทำลายล้างสูงในครอบครอง ซัดดัมได้ถูกถอดถอนโดยสหรัฐและฝ่ายสัมพันธมิตรในการบุกอิรักเมืองปี 2003 เขาสู้คดีในศาลพิเศษอิรักที่จัดขึ้นดดยรัฐบาลขั่วคราวของอิรัก

          5 พฤศจิกายน 2006 ผุ้พิพากษาศาลอิรัก สั่งลงดทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ในคดีสังหารหมู่ชาวชีอะห์ 148 คน ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในเมืองดูเญลเมือ ปี 1982 เขาถูกประหารในวันที่ 30 ธันวาคม 2006

           โอซามะฮ์ บิน โฮอัมเม็ด บิน อาวัด บินลาดิน 10 มีนาคม 1957-2 พฤษภาคม 2011 เป็นผุ้ก่อตั้งอค์การทหารรวมอิสลาม อัลกออิดะห์ ซึ่คณะในตรีความมั่นคงแห่งสหประาชติ เนโท สหภาพยุโรป และอกีหลายประเศที่ประกาศว่าเป็นกลุ่มก่อการร้าย

           เขาเคยเป็นพลเมืองซาอุดิอาระเบีย ถึงปี 1994 และเป็นสมาชิกของครอบครัว บิน ลาดิน ที่ร่ำรวย พ่อของเขาเป็นเศรษฐีชาวซาอุ เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทก่อสร้าง ซาอุดิบินลาดินกรุป  แม่ของเขา เป็นหราวาสจากครอบครัวชนชั้นกลางของซีเรีย เขาเกิดในซาอุดิอาระเบียและศึกษาที่มหาวิทลัยในประเทศจนถึงปี 1979 เขาเข้าร่วมก่องกำลัง มุญาฮีดีน ที่ปากีสถาน สู้รบกับสหภาพโซเวีต ที่อัฟกานิสถาน เขาช่วยเหลือพวกมุญาฮิดีนด้วยการส่งอาวุธ เงน และนักสู้จากโลกอาหรับ ไปยังอัฟกานิสถาน ทำให้ได้รับความนิยมในชาวอาหรับ ในปี 1988 เขาก่อตั้งกลุ่มอัลกออิดะฮ์ จากนั้นถูกเนรเทศออกจากประเทศซาอุดิอารเบียในปี 1992 และย้ายฐานไปประเทศซูดาน กระทั่งสหรัฐบังคับให้เขาออกจากซูดานในปี 1996 หลังตั้งฐานทัพใหม่ที่อัฟกานิสถาน เขาประกาศสงครามกับสหรัฐ และเริ่มภารกิจระเบิดกับการโจมตีที่คล้ายๆ กัน บิน ลาดินอยุ่ในรายชื่อสิบผุ้หลบหนีทีต้องการตัวมากที่สุด และผู้ก่อการร้ายที่ต้องการตัวมากที่สุด ของสำนักงานสบอสวนกลาง FBI จกการระเบิดสถานทูตสหรัฐในปี 1998

          บินลาดิน เป็นที่รู้เจักจาการเป็นผุ้ก่อเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน ซึ่งทำให้มีผุ้เสียชีวิตเกือบ 3,000 คน และทำให้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช เร่ิมต้นสงครามรต่อต้านการก่อการร้าย ตั้งแต่ ปี 2001 -2011 หน่วยซีลแห่งกองทัพเรือสหรัฐได้สังหารบินลาดิน ที่บ้านพักส่วนตัวใน เอบเฆอบอต ประเทศปากีสถาน ปฏิบัติการนี้ควบคุมตามคำสั่งของประธานาธิบดี บารัก โอบามา ภายใต้การนำของ บิน ลาดิน องค์ อัลกออิดะฮ์มีส่วนในการโจมตีทั่วโลก

                          ที่มา วิกิพีเดีย

           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...