ซิปบิ๊กนิว คาซิมีรซ์ เบรเซงสกี้ Zbigniew Kazimierz Brzezinski เกิดเมื่อ 28 มีนาคม 1928 ที่กรุง
วอร์ซอ ประเทศโปรแลนด์ เป็นนักรัฐศาสตร์ชาวโปล-อเมริกัน เป็นนักยุทธศาสตร์และรัฐบุรุษ เขาทำงานในตำแหน่งที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐ ในสมัยของประธาาธิบดี จิมมี่คาร์เตอร ระหว่างปี 1977-1981 นโยบายต่างประเทศที่มีลักษณแบบสายเหยี่ยวของเขาเป้นที่รู้จักกันดีในยุคหนึ่ง เมื่อพรรคเดโมแครตพยายามใช้นโยบายสายพิราบมากขึน เชขาเป็นพวกที่กำหนดนโยบายต่างประเทศโดยอยู่ใจโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งเป็นการโต้แย้งกับแนวนโยบายของพรรคเดโมแครตภายมต้ควาสรับผิดชอบชองเฮนรี คิสซิงเจอร์ ผุ้รับผิดชอบด้านนโยบายตืางประเทศในสมัยของ ประธานาธิบิีนิกสัน นธยบายต่างผะเทศหลักในสมัยที่เขาดำรงตำแหน่งอยู่ ได้แก่ นโยบายการรักษาความสัมพันะ์ในระดับปกติกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน การส่งสัญญาณให้มีการปกิบัติตามสนธิสัญญาควบคุมอาวุธ ขั้อตกลงแคมป์เดวิด การเปลี่ยนให้อิหร่านต่อต้านรัฐอิสลามตะวันตกสร้างกองกำลังนักรบมูจาฮีดนในอัฟากนิสถานเพื่อต่อต้านสหภาพโซเวียตและรัฐบาล อัฟกันที่เอนเอียงเข้าข้างโซเวียต รวมทั้งเขาปะทะกับกองกำลังโซเวียตที่บุกเข้าไปในอัฟกานิสถานด้วย เขาเป็นศาสตราจารย์ด้านยโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่สำนักการศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศขึ้นสูง ที่มหาวิทยาลัยจอห์น ฮอบกิ้นส์ เป็นผู้เชี่ยวชาญของศูนย์การศึกษายุทธศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งยังเป็นกรรมการในคณะกรรมการอีกหลายชุด เขามักจะประกฎตัวบ่อยๆ ในฐานะผุ้เชี่ยวชาญที่ได้รับเชิญมาออกรายการร่่วมกับ จิม ลิททรีร์ ทางช่อง PBS
เข้าสู่แวดวงการเมือง ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี เมือปี 1960 เบเซงสกี้ ได้เป็นที่ปรึกษาในการหาเสียงเลือกตั้งให้ จอห์น เอฟ. เคนเนดี้ โดยให้มุ่งสนับบสนุนนโยบายไม่สร้างความเป็นปรกปักษ์ตอยุโรปตะวันออก และมองโซเวียตในฐานะคู่แข่งขันในยุคแห่งความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันทั้งในด้านเศรษบกิจและการเมือง เบรเซงสกี้ได้ทำนายไว้ว่าในที่สุดสหภาพโซเวียตจะต้องล่มสลาย ไปตามเชื้อชาติ
เบรเซงสกี็ ไม่เห็นด้วยกับการสนับนุนให้เกิดความตึงเครียดต่อไปอีก 2-3 ปี โดยเขาได้ตีพิมพ์บทความเรื่อง "สันติภาพเชิงสร้างสรรค์ในยุโรปตะวันออก" และสนับสนุนนโยบายไม่สร้างความเป็นปฏิปักษ์ภายหลังวิกฤติคิวบา ดังนั้นเขาจึงเป็นว่าต้องแก้ไขความเข้าใจของชาติยุโรปตะวันออกซึ่งหวาดกลัวว่าจะโดนเยอรมันรุกราน และปลอบชาวยุโรปตะวันตกไม่ให้หวาดกลัวตว่าจะโดนเยอรมันรุกราน และปลอบชาวยุโรปตะวันตกไม่ให้หวาดกลัวต่อการเกิดขึ้นของอภิมหาอำนาจจาการประชุมที่ยัลต้า
ปี 1964 เบรเซงสกี้ ให้การสนับสนุนนโยบายหาเสียงในการเลือกตั้งประธานาะิบดีของ นาย ลินดอน บี จอห์นสัน ในเรื่องการสร้างสังคมที่ยิ่งหใย่ และสิทธิพลเมือง ในอีกด้านหนึ่งเขาก็เห็นว่าผุ้นำของโซเวียตจะยังต้องกวาดล้างศัตรูที่พยายามจะโค่นนาย นิกิต้าร ครุซซอฟ อยู่ต่อไปอีก
เบรเซงสกี้ยังคงให้การสนับสนุนในการทำความเข้าใจและติดต่อกับยุโปตะวันออกอยุ่ต่อไปนอกจากนี้เขาก็ยังสนับสนุนในการเข้าแทรกแซงในเวียดนามเพื่อลบล้างคำสบประมาทของเหมา เจ๋อ ตุง ที่อ้างว่าสหรัฐเป็นเพียงเสือกระดาษ ในช่วงปี 1966-1968 เบรเซงสกี้ได้เป็นสามาชิกของสภาวางแผนทางนโยบาย กระทรวงมหาดไทยของสหรัฐ
ในการหาเสียงเลือกตั้งเมื่อปี 1968 เบรเซงสกี้ได้เป็นประธานคณะผู้จัดทำนโยบายต่างประเทศให้แก่ฮุเบิร์ท เขาแนนำให้หยุดนดยบายหลายอย่างงของ ประธานาธิบดี จอห์นสัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับเวียดนาม ตะวันออกกลาง และการแข่งขันทงอำนาจกับสหภาพโซเวียต
เบรเซงสกี้ได้รับการเรียกตัวเขามาช่วงในการจัดประชุมชาติยุโรป ซึ่งแนวความคิดนี้บรรลุผลสำเร็จในปี 1973 โดยเป็นการประชุมในเรื่องความมั่นคงและความร่วมมือกันในหมู่ชาติยุโรป แต่ในระหวางนั้นเองเขาได้กลายเป็นผุ้นำในการวิพากษ์วิจารณืนโยบาย "ผ่อนคลายความตึงเครียดระหว่างกัน" หมายถึงความตึงเครียดในยุคสงครามเย็นโดยเฉพาะระหวา่งสหรัฐกับสหภาพโซเวียต ของประธานาธิบดีริชาร์ด เอ็ม นิกสันและนายเฮนรี คิสซิงเจรอ์ และนโยบายคลั่งสันติภาพของ จอร์ช แมคโกเวิร์น
ผลงานของเขาในปี 1970 เรื่อง "ระหว่างสองยุค : บทบาทของอเมริกาในสมัยแห่งการใช้วิทยาการเพื่ออการแก้ปัญหา" Between Two Ages : America's Role in the Technetronic Era ได้โต้แย้งข้อตกลงทางนโยบายในหมู่ประเทศที่พัฒนาแล้วที่เห็นว่าเป็นความจำเป็นเข้าเผชิญกับความำร้เสถียรภาพของโลกอันเหนื่องมาจาการขยายตัวของช่องว่างทางเศรษฐกิจ จากผลงานชิ้นนี้ เบรเซงสกี้ได้สร้างให้เกิดคณะกรรมาธิการโตรภาคีขึ้นมาโดยมี เดวิด ร็อคกี้เฟลเลอร์ รับเป็นประธานกรรมาะิการตั้งแต่ปี 1973-1976 คณะกรรมาธิการไตรภาคีนี้เป็นกลุ่มของนัการเมืองคนสำคัญ ผุ้นำทางธุรกิจ และนักวิชาการชั้นนำจากสหรัฐ ยุดรปตะวันตก และญี่ปุ่น วัตถุประสงค์ขององค์กรนี้ก็คือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมสูงสุดของโลกเสรีทั้ง 3 ภูมิภาค ให้มีความแน่นแฟ้น ในการนี้เบรเซงสกี้ได้เลื่อกให้ จิมมี คาร์เตอร์ เข้าเป็นกรรมาธิการด้วย
จิมมี่ คาร์เตอร์ ชนะการเลือกตั้งในปี 1976 เขาได้แต่งตั้งให้เบรเซงสกี้เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงของเขา เป็นการก้าวสู่วงจรของอำนาจที่จะสามารถมีส่วนในการกำหนดนโยบายชองชาติอย่างเต็มตัว
ปี 1978 เบรเซงสกี้ และวานซ์ แข่งขันกันอย่างมากที่จะเป็นผุ้นำเหนือการกำหนดนโยบายต่างประเทศของคาร์เตอร์ วาซ์พยายามที่จะคงลักษระของการผ่านคลายความตึงเครียดแบบนิกสัน โดยให้ความสำคัญไปที่การควบคุมกำลังทหาร ในขณะที่เบรเซงสกี้เชื่อว่าลักษณะแบบของการผ่านอคลายความตึงเครียดนี้ เป็นการเพิ่มกำลังทหารและการเน้นหลักสิทธิมนุษยชนอย่างสุดโต่ง ทั้งนี้ วานซ์ กระทรวงมหาดไทย และสื่อมวลชน ตางก็พากันวิพากษืวิจารณ์เบรเซงสกี้ว่า เป็นผุ้ต้องการให้สงครามเย็นคงอยู่ต่อไป
เบรเซงสกี้ได้ให้การแนนำแก่คาร์เตอร์ถึงการสานสัมพันะ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนหรือจีนแดง และความไปเยื่อนปักกิ่งเพื่อเป็นการวางรากฐานสำหรับที่จะได้ปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและจีนแดงให้อยู่ในระดับปกติต่อไป และในปีเดียวกันนี้ พระคาดินัล คาดรล์ วอจ์ยลา ซึ่งเป็นชาวโปลได้เลือกให้พระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ขึ้นเป็นผุ้นำคริสตจักรดรมันคาทอลิก ซึ่งเรื่องนี้โซเวียตเชื่อว่าเป็นฝีมือของเบรเซงสกี้
1979 เกิดเหตุการ์สำคัญ 2 เหตุการคือ การล้มล้างพระเจาชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นพันธมิตรของสหรัฐ ซึ่งการปกิวัติอิหรานก่อให้เกิดเหตุกาณ์วิกฤการณ์จับตัวประกันในอิหร่านต่อมา และการบุกอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต ซึ่งเรื่องนี้เบรเซงสกี้ได้คาดการณ์ไว้ว่าโซเวียตจะบุก (บางคนเห็นว่าเาเป็นผุ้จัดแากเรื่องนี้ขึ้นมาเองโดยได้รับการสนับสนุนจาก ซาอุดิอาระเบีย ปากีสถาน และสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจะได้สร้างเป็นยุทธศาสตร์ในการเข้าปะทะกับโซเวียตในขั้นสูงต่อไป
ในสภาวะแห่งความไม่มั่นคงนี้ เบรเซงสกี้ได้นำสหรัฐฯไปสุ่การสร้างกองกำลังแบบใหม่และการพัฒนากองกำลังเคลื่อนที่เร็ว ซึ่งนดยบายทั้ง 2 ประการประธานาธิบดีเรแกนได็ได้นำไปใช้ต่อใน ปี 1980 เบรเซงสกี้ได้วางแผนปฏิบัติการ "กรงเล็บอินทรี" เพื่อเข้าช่วยเหลือตัวประกันในอิหร่าน โดยใช้กองกำลังเดลต้า ที่สร้างขึ้นมาใหม่ ประกอบกับกองกำลังพิเศษหน่วยอื่นๆ แต่ภารกิจนี้ไม่ประสบความสำเร็จและทำให้รัฐมนตรีวานซืลาออก เบรเซงสกี้ถูกวิจารณือย่างหนักในหน้าหนังสือพิมพ์และกลายเป็นผุ้ที่เกือบจะไม่มีความสำคัญอีกต่อไปในทีมงานของ คาร์เตอร์
1990 เขาได้กล่าวเตือนว่าอย่าหลงดีใจกับการสิ้นสุดของสงครามเย็น เขาได้นำเสนอทัศนะที่ไม่เห็นด้วยกับการทำสงครามอ่าวเปอร์เซีย ดดยเขาโต้แย้งว่าสหรัฐใช้ความเชื่อถือไว้วางใจที่นานาประเทศมีให้มาตั้งแต่ที่สามารถพิชิตสหภาพโซเวียตได้ และสิ่งนี้จะเป็นชนวนที่สร้างเสริมให้เกิดความไม่พอใจอย่างกว้างขวางทั่วโลกอาหรับ เขาได้ขยายทัศนะนี้ในผลงานของเขาที่ชื่อว่า "เหนือการควบคุม" Out of Contrl
1993 เบรเซงสกี้วิจารณืความลังเลของประธานาธิบดี คลินตันในการเข้าแทรกแซงต่อต้านเซอร์เบียในวิกฤตการ์สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย เบรเซงสกี้เร่ิมกล่าวดจมตีรัสเซียเกี่ยวกับปฏิบัติกาในแชชเนีย เขาได้จับตาเฝ้าดูและกล่าวย้ำถึงเรื่องอำนาจของรัสนเซีย เบรเซงสกี้มีความเห็นในทางบลต่อการเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบีของอดีตเจ้าหน้าที่ KGB วลาติเมียร์ ปูติน เขาจึงผู้สนับสนุนคนแรกๆในการขยายหน้าที่ขององค์การนาโต้
ภายหลังเหตุการ 9/11/2001 เบรเซงสกี้ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักสำหรับบทบาทของเขาที่ได้มีส่วนในการสร้างเครือข่ายนักรบมุจาอิดีนชาวอัฟกันขึ้นมา เพราะคนกลุ่มนี้ให้การสนับสนุนกลุ่มตาลีบัีน และให้ที่พักพิงแก่อัลเคด้า
เบรเซงสกี้ กลายเป็นผุ้นำในการวิพากษืวจารณ์การบริหารงานของประธานาธิบดีจอร์ซ ดับเบิลยู บุช ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง "สงครามการก่อการร้าย" ความคิดของเขาได้รับการทาสีว่าเป็นพวก "อนุรักนิยมใหม่" (พวกที่มีลักาณะความคิด ปฏิเสธความคิดแบบอุดคตี และมองว่าสหรัฐสามารถมีมาตรการในการรักษาผลประโยชน์และความมั่นคงปลอดภัยของตนเองดดยไม่ต้องคำนึงวาจะผิดกฎเกณฑ์หรือจรรยาบรรณระหว่างประเทศหรือไม่ และสหรับต้องเตรียมความรบพร้อมอยุ่ตลอดเวลา ทั้งนี้ในบางครั้งสหรัฐอาจสร้างสภานการณ์เพื่อดจมตีคนอื่นก่อนที่คนอื่นจะมาโจมตีก็ได้ นอกจากนี้ก็มี การสนับสนุนการสร้างฐานทัพไว้ทั่วโลก และพยายามใช้องค์การระหว่างประเทศในการสร้างกฎที่เป็นประดยชน์กับสหรัฐ) ทั้งนี้ก็
เนื่องจากการที่เขาเกี่ยวข้องกับ พอล วูฟล์โฟวิตซ์ รัซมนตรีช่วยว่าการการะทรวงกลาโหมสมัยประธานาธิบดี จอร์ซ ดับเบิลยู บุช สมัยแรก และแนวความคิดของเขาในหนังสือ "กระดานหมากรุกที่ยิ่งหใหญ่ ซึ่งตีพิมพ์ใน ปี 1997 เขาได้เขียน "ทางเลือก" ในปี 2004 ซึ่งเป็นการขยายความจากหนังสือเรื่อง "กระดานหมากรุกที่ย่ิงใหญ่" ของเขา และเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์ที่แหลมคมต่อนโยบายต่างประเทสของประธานาธิบดีบุชเข้าไปด้วย ซึ่งเป็นการแก้ต่างกับรายงานของ "นักล๊อบบี้ชาวอิสราเอลกับนดยบายต่างประเทศของสหรัฐ" เขายังคงเป็นคนที่พูดจาวิพากษ์วิจารณ์อย่างตรงไปตรงมาโดยเฉพาะในเรื่องการบุกอิรักในปี 2003 และการรักษาความสงบในพื้นที่ต่อมา
เบรเซงสกี้ได้วางหลักการที่สำคัญที่สุดของเขาไว้สำหรับเป็นปนวทางให้สหรัฐดำเนินการในยุคหลังสงครามเย็น เรียกว่า "ภูมิยุทธศาสตร์" ซึ่งแนวคิดนี้ปรากฎในหนังสือของเขา เรื่อง "กระดานหมากรุกที่ยิ่งใหญ่" ดดยเขาได้ให้คำอธิบายถึงภูมิภาคทั้ง 4 ของดินแดนยูเรเซีย ซึ่งสหรัฐฯ ควรจะต้องออกแบบนโยบายที่เหมาะสมสำหรับแต่ละภูมิภาคแต่ให้มั่นใจได้ว่าสหรัฐฯจะยังควเป็นอภิมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกต่อไป สำหรับภูมิภาคที่ 4 ได้แก่
- ยุโรป กองหน้าของฝ่ายประชาธิปไตย
- รัสเซีย เป็นเสมือนหลุ่มดำที่อยุ่กลางดินแดนยูเรเซีย
- เขตคอเคซัสและเอเซียกลาง เป็นดินแดนบอลข่านแห่งยูเรเซีย
- ตะวันออก เป็นเครื่องยึดเหยี่ยวตะวันออกไกล
นอกจากนี้เขายังได้วางยุทธศาสตร์ในการครองความเป็นเจ้าของสหรัฐอเมริกาไว้ 2 ประการ คือ
- ปัจจุบัน การเมืองระหว่างประเทศที่มีเพียงขั้วเดียว ดดยที่สหรัฐอเมริกาก้าวขึ้นมาเป็นประเทศอภิมหาอำนาจเพียงประเทศเดียว
- สหรัฐฯไม่สามารถที่จะเป็นอันดับหนึ่งของโลกได้ตลอดกาล ดังนั้น จึงต้องเตรียมการรองรับเมือวันที่จะต้องลงจากบัลลังก์
ที่มา :KU0168010c.pdf