ในประเทศสวีเดน เมือปี 1916 และถูกนำไปเป็นวิชาหลักสำคัญของเยอรมนีและแพร่ไปทั่วโลก โดยพลเอกศาสตราจารย์คาล เฮาโซเฟอร์ ผุ้เสนอทฤษฎี เลเบนสเราม์ มีแนวคิดว่ รัฐเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการพื้นที่ดินเพื่อขยายตัวอยุ่ตลอดเวลา จึงถูกระบอบนาซีอ้างเป็นเหตุในการขยายอาณาเขตกระทั่งกลายเป็นสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นเอง
ภูมิรัฐศาสตร์ประกอบด้วย รัฐศาสตร์ ซึ่งภูมิรัฐศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภูมิศาสตร์ ตั้งเิมจะเน้นเฉพาะภูมิศาสตร์ทางกายภาพ เช่น ภูเขา ที่ราบสูง สมุทรศาสตร์ ภูมิอากาศวิทยา หิน อุตุนิยม เป็นต้น เพื่อประกอบกับเรื่องการทหาร สำหรับฝ่ายการเมืองจะนำไปเป็นข้อพิจารณาเพื่อประกอบการตัดสินใจเป็นนโยบายการต่างประเทศต่อไป แต่ภูมิรัฐศาสตร์ปัจจุบัน ได้ให้ความสำคัญต่อวิชาภูมิศาสตร์มนุษย์ ซึ่งเป็นเรื่องของคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นั้นๆ เช่น สาขา ภูมิรศาสตร์วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ภมฺิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์การเมือง ภูมิศาสตร์ศาสา เป็นต้น ภูมิศาสตร์มนุษย์ เป็นการศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น มันเกี่ยวโยงกับทั้งสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์การศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น
อาทิ ปัญหาในตะวันออกกลางหากจะวิเคราะห์ในแง่ของภุมิรัฐศาสตร์โดยปราศจากความรู้ทางภมิศาสตร์ศาสนาจากสาขาภูมิศสตร์มนุษย์ก็ยากที่จะเขาใจได้ จึงกล่าวได้ว่า ภูมิรฐศาสตร์ยุคใหม่นี้เน้นความสำคัญของภูมิศาสตร์มนุษย์มากกว่าเดิมซึ่งให้ความสำคัญเฉพาะภูมิศาสตร์กายภาพเท่านั้น
การทหาร ในวัชาภูมิรัฐศาสตร์นั้น กลักการที่สำคัญเป็นหัวใจของการทหารคือ War is mere continuation of policy by other means...a real political instrument...a continuation of political commerce... -สงครามเป็นเพียงความต่อเนื่องของนโยบายแบบหนึ่ง..เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างแท้จริง..เป็นส่วนต่อของพาณิชย์การเมือง"
เมื่อสงครามโลกครังที่ 2 ยุติลง โลกได้รู้จักกับนิวเคลียร์ เกิดการแข่งขันระหว่าง 2 มหาอำนาจ สหรัฐฯและรัฐเซีย ชีปนาวุธทีสามารถยิงได้ทัี่วทุกมุมโลก ทำให้ภูม้ิรัฐศาสตร์กลายเป็นวิชาที่บรรดามหาวิทยาลัยต่างๆเลิกสอน เลิกทำการวิจัยทางภูมิรั้ฐศาสตร์เกือบหมด
เมื่อโลกเข้าสู่สงครามเย็น ทั้งสองฝ่ายตระหนักดีว่าหากเกิดสงครามนิวเคลียร์จะได้รับผลเสียหายเป็นอย่างมาก ไม่ว่าใครจะแพ้หรือชนะ ดังนั้น 2 มหาอำนาจต่างให้การสนับสนุนความขัดแย้งในภูมิภาค หรือที่เรียกว่า สงครามตัวแทน ความขัดแย้งที่มีพื้นฐานมาจาการต่อสู้ทางอุดมการณ์และภูมิรัฐศาสตร์เพื่ออิทธิพลทั่วโลกโดยสองมหาอำนาจ
ดังนั้นการสงครามที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงไม่มีใครนำอาวุธนิวเคลียร์ออกมาใช้ ยังคงใช้อาวุธนานาชนิดที่ไม่ใช่นิวเคลียร์ การเมือ กองทัพทหารและต้องอาศัยภูมิศาสตร์เป็นหลักในการสงครามเหมือนในอดีต ภมฺรัฐศาสตร์ จึงกลับมาได้รับความสนใจ
ฟรีดริส รัทเซล เป้นนักภูมิศาสตร์และนักชาิตพันู์วิทยาที่มีชื่อเสียงที่ได้ให้คำอธิบายถึงศัพท์ "Lebensraum" หรือ "การขยายดินแดนเพื่อความอยุ่รอดของรัฐ" ความสำคัญของเขาที่มีต่อวิชาภฺมรัฐสษสตร์ก็คือ เขาเป็นผู้แผ้วทางแนวทางของภูมิรัฐศาสตร์โดยการนำความรู้ด้านภูมิศาสตร์ใสนเรื่องของระวางที่ เข้ามาผนวกเพื่อวิเคราะห์แนวทางทางการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของความมั่นคง
ในปี 1975 รัทเซลเดินทางกลับถคงเยอรมันและได้รับเป็นอาจารย์สอนวิชาภูมิศาสตร์ที่วิทยาลัยเทคนิคในเมืองมิวนิค และในปีถัดมาเขาได้สร้างผลงานชิ้นสำคัญข้นมาซึ่งต่อมาได้กลายเป็นรากฐานสำคัญในการก่อตังสาขาวิชา "ภูมิรัฐศาสตร์วัฒนธรรม" ในปี 1880 เขาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ ในระหว่างที่เขาเป็นอาจารย์อยุ่เมืองมิวนิคเาผลิดผลงานทางวิชาการและตำราขึ้จำนวนมาก ปี 1886 เขาได้รับแต่งตั้งให้ไปทำการสอนที่มหาวิทยาลัยในเมืองไลพ์ซิก คำบรรยายของเขาได้รับความสนใจจากคนในแวดวงภูมิศาสตร์อย่างมาก และตัวของรัทเซลก็ยิ่งมีชื่อเสียงโด่งดังมากขึ้นเมือง เอลเลน ครูชิล ซิมเปิล นักภูมิศาสตร์ชาวอเมริกันได้นำคำสอนของเขาไปเผยแพร่..เขายังได้เป็นผู้วางรากฐานวิชา "ภูมิศาสตร์มนุษย์"ด้วยแต่ถูกนำไปตีความผิดๆ
รัทเซล เกี่ยวข้องกับวิชาภูมิรัฐศาสตร์ในปี 1897 เป็ปีที่เขาตีพิมพ์ผลงานที่ชื่อว่า"ภูมิศาสตร์การเมือง" ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมากโดยเฉพาะเมือแปลเป็นภาษาอังกฤษ เป็นการผนวกเรื่องระวางที่ กับเรื่องทางกเมืองเข้าด้วยกัน เป็นจุดเร่ิมต้นขแงอนวคิดแบบ "ชีวรัฐ" โดยเขามทองว่ารัฐเปรียบเสมือนสิงมีชีวิต ดังนั้น รัฐจึงต้องมีการเจริญเติบโต และเมื่อเป็นเช่นนี้แล้วการที่รัฐต้องชยายดินแดนจึงเป็นเรื่องปกติเพราะการขยายดินแดนของรับก็เพื่อความอยุ่รอดของชาตินั่นเอง และยังเป็นแนวคิดทางสังคมแบบดาร์วินอีกด้วยซึ่งหลัการสำคัญของทฤษำีวิวัฒนาการของดาร์วินก็คือการคัดสรรโดยธรรมชาิตที่อธิบายว่่าสิงมีชีวิตที่มีสภาพและลักาณะเหมาะสมในการดำรงชีวติมากกว่าจึงจะสามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ เมื่อนำแนวคิดอย่างนี้มาใช้กับสังคมโดยเฉฑาะสังคมรัฐก็หมายถึงว่่ารัฐที่เข้มแข็งหรือเหมาะสมกว่าก็ควรทีจะอยู่ต่อไปส่วนรัฐที่อ่อนแอ่ไม่เหมาะสมก็ควรต้องสูญไป ผลงานที่เป็นรากฐานต่อมาของวิชาภูมิรัฐศาสตร์ก็เช่น ความเรียงว่าด้วยการขยายดินแดนเพื่อความอยู่อดของรัฐ ตีพิมพ์ปี 1901 ผลงานต่างๆ ของรัทเซลเป็นรากฐานของวิชาภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเยอรมันและทำให้วิชาภูมิรัฐศาสตร์ต่อไปของเยอรมันมัลักษณะพิเศษจากที่อื่น
ผลงานของรัทเซลในเรื่องที่เกี่ยวกับภูมศาสตร์การเมืองนั้นได้รับการผลิตออกมาในช่วงเดียวกันกับที่ลัทธิอุตสาหกรรมมนิยมในเยอรมันกำลังเจริญเติบโตภายหลังจากสงครามฟรานโก-ปรัสเซีย และเป็นช่วงหลังจาการแข่งขันในการค้นหาตลาดเพื่อระบายสินค้ากับอังกฤษ ทำให้แนวคิดของเขาตรงกับความต้องการในการแผ่ขยายจักรวรรดิของเยอรมัน....
ที่มา: https://www.matichon.co.th/article/news_4573267
https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/index.php?/BKN/search_detail/result/192659
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น