วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Global South

         

 การที่ประเทศชั้นใำหลายแห่งในแอฟริกาเอเชีย และละตินอเมริกา ไม่ร่วมกับ นาโต้ ใสนเรื่องสงคามยูเครน ได้นำคำว่า "โลกใต้" กลับมาใช้อีกครั้ง "

           "โลกใต้" หมายถึงประเทศต่างทั่วโลก ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า "กำลังพัฒนา" "พัฒนาน้อย" หรือ "ด้อยพัฒนา" หลายประเทศเหล่านี้ (แม้จะไม่ใช่ทั้งหมด) ก็อยุ่ในซีโลกใต้ ส่วนใหญ่อยุ่ในแอฟริกา เอเซีย และละตินอเมริกา

            คำว่า "โลกใต้ไ ดูเหมือจะถูกนำมาใช้คร้้งแรกในปี 1969 โดยนักเคลื่อนไหวทางการเมือง คาร์ล อ๊อกเลสบี้ โดยเขียนในนิตยสารซึ่งเป็นเสรีนิยมคาทอลิกโดยแย้งว่าสงครามในเวียดนามเป็นจุดสิ้นสุดของการครอบครองโลกใต้ โดยทางตอนเหนือ แต่หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของสิ่งที่เรียกว่า "โลกที่สอง" คำว่า "โลกใต้"จึงกลับมาอีกครั้ง ในเวลานั้นคำศัพท์ทีั่วไปที่ใช้เรียกประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังไม่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ คือ "โลกที่สาม" ซึ่งคำนี้บัญญัติขึ้นโดย อัลเฟรด โซวี ในปี 1952 โดยเปรียบเทียบกับ ฐานันดร 3 ฐานันดร ในประวัติศสตร์ของฝรั่่งเศส ได้แก่ ขุนนาง นักบวช และชนชั้น กระฎุมพี คำว่า "โลกที่หนึ่ง" หมายถึงประเทศทุนนิยมก้าวหน้า "โลกที่สอง" ต่อประเทศสังคมนิยมที่นำโดยสหภาพโซเวียต และ "โลกที่สาม" สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งหลายประเทศในสมัยนั้นยังอยู่ภายใต้จักรวรรดิอาณานิคม

          หนังสือของนักสังคมนิยมวิทยา ปีเตอร์ วอร์สเลย์ ปี 1964 เรื่อง "The Third World : A Vital New Force in International Affair" ทำให้คำนี่้แพร่หลายมากขึ้น หนังสือเล่มนี้ยังได้กล่าวถึง "โลกที่สาม" ซึ่งเป็นแกนหลักของ"ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด"ซึ่งก่อตั้ง เพื่อเป็นแนวร่วมในสงครามเย็น


         แม้มุมมองของ วอร์สเลย์ เกี่ยวกับ "โลกที่สาม" นี้จะเป็นไปในทางบวก แต่คำนี้ก็มีความเกี่ยวข้องกับประทเศต่างๆ ที่เต็มไปด้วยความยากจน ความสกปรก และความไม่มั่นคง "โลกที่สาม" กลายเป็นคพ้องความหายสำหรับสาะารัฐที่ปกครองโดยเผด็จการ ซึ่งเป็นภาพล้อเลียนที่เผยแพร่โดยสือตะวันตก

           การล่มสลายของสหภาพโซเียต และการสิ้นสุดของสิ่งที่เรยกว่าโลกที่สองทำให้เกิดข้ออ้างที่สะดวกสำหรับคำว่า "โลกที่สาม" ที่จะหายไปเช่นกัน การใช้คำนี้ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ ในขณะเดียวกัน "พัฒนาแล้ว" กำลังพัฒนา"และ"ด้อยพัฒนา"ก็เผชิญกับคำวิพากษ์วิจารณืที่ถือว่าประเทศตะวันตกเป็นอุดมคติ โดยขณะเดียวกันก็วาดภาพประเทศที่อยุ่นอกกลุ่มนั้นว่าล้าหลัง คำที่ใช้แทรคำเหล่านี้มากขึ้นเรือยๆ คือ "โลกใต้" ที่ฟังดูเป็นกลางมากกว่า

         เป็นคำภูมิศาสตร์การเมือง ซึ่ง ไม่ใช่ภูมิศาสตร์ "โลกใต้" ไม่ใช่คำทางภูมิศาสตร์ ในความเป็นจติง สองประเทศที่ใหญ่ที่สุดของโลกใต้ ได้แก่ จีนและอินเดีย อยุ่ในซีโลกเหนือทั้งหมด แต่หมายถึงความเหนือทางการเมือง ภูมิศาสตร์การเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศต่างๆ 

        ประเทศต่างๆ ในซีกโลกใต้ส่วนใหญ่พึ่งพ้นจากการอยู่ใต้อาณานิคม แอฟริกาเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของความสัมพันธ์ระหว่าง "ตะวันตกกับส่วนที่เหลือ" เมือพิจารณาถึงความสัมพันะ์ในอดีตที่ไม่สมดุลระหวาางประเทศต่างๆ ในโลก "ซีกโลกใต้และซีกโลกเหนือ" ทั้งสในยุคจักวรรดิและสงครามเย็น จึงไม่น่าแปลกใจที่ทุกว่านี้หลายประเทศเลือกที่จะไม่ฝักใฝ่มหาอำนาจใดๆ 

ในขณะที่คำว่า "โลกที่สาม" และ "ด้อยพัฒนา" สือถึงภาพลักษณ์ของการไร้อำนาจทางเศรษฐกิจ แต่ไม่ใช้กับ "โลกใต้" ธนาคารโลกคากการณ์ว่า ภายในปี 2030 ประเทศเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด 3 ใน 4 แห่งจะมาจากซีกโลกใต้ ตามลำดับ ได้แก่ จีน อินเดีย สหรัีฐอเมริกา และอินโดนีเซีย GDP ในแง่ของกำลังซื้อของกลุ่มประเทศ BRICS ( เป็นอักษรย่อใช้เรยกกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบด้วย บราซิล, รัสเซีย, อินเดีย, จีนและแอฟริกาใต้ โกลด์แมน แซคส์ กล่าววากลุ่มบริกส์พัฒนาอย่างรวดเร็วมากจนประมาณปี 2050 เศราฐกิจของกลุ่มรวมกันจะสามารถบดบังหลุ่มประเทศที่ร่ำรวยในขฯะนี้ได้ ปัจจุบัน ประเทศทั่งสี่รวมกัน มีพื้นที่มากว่าหนึ่งในสี่ของแผ่นดินโลก และมากกว่าร้อยละ 40 ของประชากรโลก..ที่มา: วิกิพีเดีย) ซึ่งครอบงำทางตอนใต้ของโลก ได้แซงหน้ากลุ่มประเทศ G7 ของ "โลกเหนือ"แล้ว และตอนนี้มหาเศรษฐีในปักกิ่งมากกว่าในนิวยอร์กซิตี้

          การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้เป็นไปพร้อมๆ กับการมีบทบาททางการเมืองโลกมากขึ้นของประเทศต่างๆ ใน "โลกใต้" ไม่ว่าจะเป็น "การเป็นตัวกลางของจีนต่ออิหร่านและการสร้างสายสัมพันธ์ของซาอุดิอาระเบีย หรือ ความพยายามของบราซิลในการผลักดันแผนสันติภาพเพื่อยุติสงครามในยูเครน ทำให้ผู้เชียวชาติด้านภูมิรัฐศาสตร์หลายท่าน เขียนเกี่ยวกับ การมาถึงของ "ศตวรรษแห่งเอเชีย" และเร่ิมพูดถึง "โลกหลังโลกตะวันตก" ที่มา : https://theconversation.com/the-global-south-is-on-the-rise-but-what-exactly-is-the-global-south-207959

           สี จิ้นผิง กำลังจะสร้าง "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ที่มีจีนเป็นแกน เพื่อประกบกับ "ระเบียบดลกขั้ว
เดียว" ทีมีสหรัฐเป็นพระเอก ผู้นำจีนเสนอ "โกลโบล เดเวอร์ลอฟเม้นท์ อินเทียทีฟ (CDI) หรือ "ความริเร่ิมพัฒนาโลก"ซึ่งเป็น"พิมพ์เขียว" ของจีนเพื่อสร้างพันธมิตรกลุ่มหใา่ที่มุ่งท้าทายโลที่นำโดยตะวันตกมาช้านาน ตัว GDI เองมีเป้าหมายสำคัญคือการส่งเสริมการพัฒนาา,ลดความยากจนและส่งเสริมสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนาแต่อีกสองแผนที่ตามมาสะท้อนถึง "ยุทธศาสตร์องค์รวม" ที่กระชับก้าวอย่างอันสำคัญของปักกิ่ง นั่นคือ "โกลโบล ซีเคียวริที้ อินเทียทีฟ" "ความริเริ่มด้านความั่นคงโลก" และ "โกโลบล ซิวิไลเซชั่น อินเทียทีฟ" หรือ "ความริเริ่มด้านอารยธรรมโลก" เป็นความพยายามอย่างชัดแจ้งของจีนที่จะระดมแรงสนับสนุนจาก "โลกใต้" เพื่อขยายอิทธิพลและบทบาทของจีนในเวทีระหว่างประเทศ เป็นความพยายามของปักกิ่งที่จะปรับปรุง "กฎกติกามารยาท"ระดับโลกที่เคยถูกกำหนดโดยดลกตะวันตกมาตลอดตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา

           อินเดีย กับการเดิมเกมส์สองหน้า อินเดียคงไม่ต่างจากหลากหลายประเทศเสรษฐกิจเกิดใหม่ที่มองเห็นถึงปัญหาหลายอย่างในโครงสร้างระเบียบและธรรมาภิบาลโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคณมนตรีความ


มั่นคงแห่งสหประชาชาติ UNSC ที่เปิดโอกาส ที่เปิดโอกาสให้สมาชิกถาวะเพียง 5 ชาติมีบทบาทและอิทธิพลอย่างสุงต่อการตัดสินความเป็นไปของความขัดแยงในการเมืองระหว่างประเทศ อินเดียถือเป็นหัวหอกสำคัญที่ต้องการปฏิรูปองค์กรดังกล่าวของสหประชาชาติ เช่นเดียวกับหลายประเทศในละตินอเมริกาและแอฟริกา ฉะนั้นถ้าจะตอบคำถามอย่างง่ายวส่าอะไรคือเป้าหมายนโยบายต่างประเทศอินเดียทั้งปัจจุบันและอนาคต คำตอบคือการยกระดับสถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้นในเวทีโลกที่ไปไกลกว่าเพียงแค่เอเซีย และหนึ่งในนั้นคงหมายรวมถึงการได้ที่นั่งถาวรใน UNSC พร้อมกับฐานะมหาอำนาจในภูมิภาคและระดับโลก  และเวที่ G20 ก็เป็นหนึ่งเวทียกระดับสู่สถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้น เพราะนอกจากรัฐบาลนิวเดลีจะสะท้อนให้เห็นแล้ว่า ตนเองไม่ได้เดินตามหลังสหรัฐฯและชาติตะวันตก ด้วยการเชิญรัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซียเข้าร่วมการประชุมด้วยแล้ว รัฐมนตรีต่างประเทศอินเดียยังมีโอกาสพูดคุยหารือกับรัฐมนตรีต่างประเทศของจีน เพื่อแสวงหาแนวทางฟื้นฟูความสัมพันธ์ของสองประเทศให้ดีย่ิงขึ้นด้วย

           บทเรียนในชั้นเรียนนดยบายการต่างประเทศของอินเดียมักเน้นย้ำเสมอถึงหลักการสำคัญของแนวนโยบายต่่างประเทศของอินเดียที่มุ่เน้นหลักการแห่งสันติภาพ เสถียรภาพ และผลประโยชน์ร่วมกัน นั่นจึงเป็นเหตุสำคัญที่อินเดียพยายามสานสัมพันธ์กับทุกประเทศ และพยายามถ่วงดุลอำนาจกับบรรดามหาอำนาจต่างๆ ทั่วโลก เพื่อแสวงหาลุ่ทางในการส่งเสริมสถานะตนในกิจการระหว่างประเทศ รวมถึงการขยายอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจของอินเดียในเวทีโลกด้วย หลายปีมานี้อินเดียยังคงขยายศักยภาพทางการทหารของตนเอง โดยเฉพาะการลดการพึ่งพายุทโธปกรณ์จากภายจอกและหันมาพัฒนาเทคโนโลยีทางการทหารด้วยตนเอง แต่จุดสำคัญที่สุดของนโยบายต่างประเทศอินเดียคงหนีไม่พ้นความเป็นอิสระในการกำหนดยุทธศาสตร์และปหป้องผลประโยชน์แห่งชาติ

          จากภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เปลี่ยนไปและการพยายามกำหนด "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ของจีนสงผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนกรอบนโยบายต่างประเทศของอินเดีย นโยบายต่างประเทศของอินเดียเป็นการยืนอยุ่บนรอยเลื่อนทางการเมืองโลก ดังที่รัฐมนตรีต่างประเทศคนปัจจุบันของอินเดีย มักกล่าวในหลายวาระว่า "นโยบายต่างประเทศของอินเดียคือการแสวงหาผลประะโยชน์แห่งชาติที่มากขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากความขัดแย้งระดับโลก" ซึ่งเข้าใจกันว่า"การเดิมเกมส์สองหน้า"

        อินเดียตระหนักดีว่า ณ เวลานี้ตนเองกำลังยืนอยงุ่บนรอยเลื่อนของภูมิรัฐศาสตร์โลก ที่ทุกย่างก้าวล้วนมีอ้นตราย มีทั้งผลเชิงบวกและลบ การพยายามรักษาสมดุลบนพื้นฐานของการมีอิสระทางด้านการต่อต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์สุงสุดแห่งชาติจึงถือเป็นเส้นทางเดียวที่อินเดียจะสามารถชกฉวยโอาสห่งความโกลาหลของระเบียบโลกเพื่อยกระดับสถานะของตันเองในเวทีโลก..ที่มา : https://www.the101.world/india-foreign-policy-status-seeking/



วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Trend World Geopolitical 2024


            จากสงครามการค้าสหรัฐฯกับจีนเริ่มขึ้นในปี 2018 สู่สงครามยูเครน-รัสเซีย 2022 ตามด้วยสงคราม
อิสราเอล-ฮามาส ปลายปี 2003 และไต้หวันที่มีความพยทยาสร้าง ไความปกติใหม่"ในการยกระดับการแลกเปลี่ยนการเยือนของเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลกับสหรัศฯ และชาติพันธมิตร แม้จะยังไม่ล้ำเส้น ที่จีนขคดไว้ แต่ทุกการขยับของไทเปที่ปักกิ่งมองว่าท้าทายโดยตรง ก็เพ่ิมความเสียงที่จะนำไปสู่สงครามใหญ่ได้  และประกอบกับปี 2024 เป็นปีแห่งการเลือกตั้งโลก ทั้งสหรัฐและยุโรป  ซึ่งตามปกติการหาเสียงในสหรัฐแทบทุกครั้งมักจะเป็นช่วงที่มีการสาดไฟ สาดสีใส่กัน แคดิเดตประธานาธิบดีแต่ละคนจะหาเสีงด้วยชุดนดยบายที่แข็งกร้าวต่อจีน ทำให้บรรยากาศทางการเมืองระหว่างประเทศยิ่งร้อนขึ้น... ที่มา : https://thestandard.co/world-geopolitics-2024-war-risk-thailand-challenge/

            การเลือกตั้งใหญ่จะเกิดขึ้นในมากกวา 50 ประเทศในปี 2024 โดยเฉพาะประเทศที่มีความสำคัญด้านภูมิรัฐศาสตร์ การเลือกต้งกิดขึ้นภายใต้แนวโน้มกระแสประชนิยม และการแบ่งขั้วทางการเมือง ทำให้เกิดความไม่แน่นอนต่อนโยบายเศรษฐกิจ ท่าที่ต่อากรเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และความขัดแย้งทางทหารที่ยังคงเกิดขึ้น 

          การเลือกตั้งที่สำคัญในปี 2024 จะเกิดขึ้นใน 6 ประเทศ ดังนี้


         - การเลือกตั้งทัวไปในบังคลาเทศ 7 มกราคมเป้นการเลือกตั้งแรกของปี 2024 เป็นหนึ่งในการเลือกตั้งที่จะมีความขัดแย้งมากที่สุด นายกรัฐมนตรี ซีค ฮาซีนา และพรรค อวามี ลีค ครองอำนาจมา 15 ปี องค์กร ฟรีดอม เฮาส์ รายงานว่า รัฐบาลกระชับอำนาจมากขึ้น ดดยการคุกคามพรรคฝ่ายค้าน สือมวลชน และประชสังคม ผุ้นำฝ่ายค้านส่วนใหญ่ถูกจับกุม ล่าสุด มุอัมหมัด ยุนุส ผุ้ก่อต้งธนาคาร กรามีน ถูกศาลสั่งจำคุก 6 เดือน เพราะละเมิดกฎหมายแรงงาน บังคลาเทศเป็นตัวอย่างประเทศที่สามารถจัดการเลือกตั้ง ดดยไม่ได้ยึดหลักการประธิปไตย

        - การเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวัน 13 มกราคม ซึ่งจะมีผลสำคัยต่อทิศทางภุมิรัฐศาสตร์ของภุมิภาคนี้ ประธานาธิบดี ไช่ อิงเหวิน ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 2 สมัย กฎหมายห้ามลงสมัครสมัยที่ 3 ผุ้สมัคร สำคัญคือ รองประธานาธิบดไล่ ชิงเต๋อ จากพรรครัฐบาล คู่แข่งคือ เหา ยัว อิฮ จากพรรคก๊กมินตั๋ง และ โคเวน- จี จากพรรค ไต้หวัน พีเพิล ปาร์ตี้ ผุ้สมัครทั้ง 3 คนล้วนเคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมาตรีมาก่อน จีนมองตัวแทนผู้ตัวแทนพรรค รัฐบาลว่าเป็นภัยต่อนโยบาย "จีนเดียว" แม้ทั้ง 3 พรรคการเมืองจะคัดค้านการที่ไต้หวันจะประกาศเป็นเอกราช

     - การเลือกตั้งทั่วไปปากีสถาน 8 กุมภาพันธ์ 2024 ปากีสถานเป็นประเทศที่การเลือกตังสามารถเลื่อนออกไปได้ นายกฯ Shehbaz Sharif ประกาศยุบสภาในเดือนสิงหาคม 2023 กฎหมายกำหนดให้เลือกตั้งใน 90 วัน แต่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดเป็น วันดังกล่าว เหตุผลคือมีเวลาพอในการเตรียมการเลือกตั้ง แต่สาเหตะสำัญเพราะระยะ 2 ปี ที่ผ่านมา เกิดวิกฤติการในปากีสถาน เมษายน 2022 รัฐสภาปลด นายกรัฐมนตรี Imran Khan และได้มาเป็นผุ้นำการประเท้วง ต่อมาศาาลตัสสินจำคุกเขา 3 ปี ข้อหารับสินบน ต้นปี 2023 ปากีสถานเอาตัวรอดมาได้จาการล้มละลายจาหนี้สินต่างประเทศ

       - การเลือกตั้งทั่วไปอินโดนีเซีย การเลือกในอินโดนีเซียเป็นงานด้านโลจิสติกส์ ที่มีขอบเขตมหาศาสล
เพราะเป็นการเลือกตั้งประเทศที่มีพลเมือง 275 ล้านคน ประชาชนกระจายอยุ่นเกาะ 17,000 แห่ง และทำการเลือกตั้งให้เสร็จในวันเดียว รัฐะรรมนูญห้ามไม่ให้ประะานธิบดี โจดค วิโดโต (โจโควี) ลงสมัครเป็นสมัยที่ 3 ผุ้สมัคระแนนนำคือ Prabowo Subanto อดีตนายพลลูกเขยเผด็จการ ซูฮาโต เคยแพ้โจโควีมาแล้ว 2 ครั่ง ปุ้สมัครคนที่ 2 คือ Ganjar Pranowo ผุ้ว่าการเขตชวาตอนกลาง สมัครในนามพรรคของโจดควี ผุ้สมัครคนที่ 3 คือ อนีส บาสวีแดน เป็นอธิการบริดี มหาวิทยาลัยอิสลาม

         - การเลือกตั้งทั่วไปอินเดีย เมษายน-พฤษภาคมเป็นตัวอย่างความมหัสจรรย์ของประชาธิปไตย ประชากร 1.4 พันล้าน มีภาษาพูดกว่า 100 ภาษา สามารถใช้การลงคะแนนเลือกตั้งมาตัดสินว่าใครจะเป็นผุ้นำการเมือง ที่ได้รับความเห็นชอบจากประชาชน พรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมมากในสภาพจะเป็นฝ่ายเลือกนายกรัฐมนตรี พรรค ของนายกรัฐมนตรีนาเรนทา โมดีคจะได้รับชัยชนะเป็นสมัยที่ 3 การสำรวจความเห็นของอินเดีย 8 ใน 10 ยอมรับผลงานของโมดีเศราฐกิจเติบโต 7% ทำให้รายได้คนอินเดียทั้่วประเทศเพื่มขึ้น ทำให้คนอินเดียมีความหวังว่า อนาคตจะดีกว่าวันนี้ 

       การเลือกตั้งสหรัฐ 5 พฤศจิการยน วงจรการเลือกตั้งโลกที่เป็นตรัี้งสุดท้ายของปี 2024 คงไม่มีการเลือกที่ไหนที่ส่งผลกระทบต่อดลกมากเท่ากับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ ในเดือนพฤศจิกายนการเลือกตั้งครั้งนี้เ็นเหตุการณ์คล้ายกับที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในปี 2020 ที่แข่งขันกันระหว่าง โจ ไบเดน กับ โดนัลด์ ทรัมป์ คนทั่วโลกสนใจการเลือกตั้งครั้งนี้ เพราะหากทรัมป์เป็นฝ่ายชนะ อาจหมายถึงจุจบของประชาธิปไตยในอเมริกาและ "ระเบียบโลก"ที่อเมริกาเป็นผู้นำ การเลือกตั้งพฤศจิกายนของสหรัฐฯ จึงถือเป็นการเลือกตั้งที่สำคัญมาก ที่มา : https://thaipublica.org/2024/01/pridi387/




             โอกาศของรัฐบาลทรัพมปื 2  ผล "การเลือกตั้ขั้นต้นภายในพรรค" หรือที่เรียกว่า "ซูเปอร์ ทิวส์เดย์"เมือต้นเดือนมีนาคม ทำให้การเลือกตั้งชิงตำแน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ น่าจะเป็นการขับเคี่ยวกันระวหาง ประธานาธิบดี โจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และอดีตประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ จากพรรคริพับลิกัน และจะเป็นการรีแมตช์เมื่อปี 2020 ถึงแม้ว่าทรัมป์ ยังมีคดีที่ต้องสะสางอีกมากมาย แต่ข้อมูล่าสุดจกหลายเว็บพนันออนไลน์ในสหรัฐฯ ( 8 มีนาคม) ให้ความน่าจะเป็นที่ 54% ว่าทรัมปื จะชนะการเลือกตั้งปี 2024 ไบเดน ที่ 29% หากผลเป็นไปตามคาด ทรัมป์จะเป็นประธานาธิบดีคนที่สองในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ ที่สามารถ กลับมาในตำแหน่งสมัยที่สอง 

       
 ผลกระทบภูมิรัฐศาสตร์โลก ชัยชนะครั้งแรกของทรัมป์ ในปี 2560 ประชาคมโลก ยัวคงเชื่อว่าสหรัฐญฯ จะกลับมาสู่แนวทางเดิมในการเป็น "ผู้นำค่ายดลกเสรี" แต่ชัยชนะครัี้งที่สองจะทกให้บทบาทของการเป็น "ตำรวจโลก" และ "นัการทูตแห่งโลกเสรี" ที่เป็นผุ้นำด้านสิทธิมนุษยชน สาธารณสุข รวมถึงการรับมือความเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศโลก ของสหรัฐฯ สิ้นสุดลง ผ่านการกลับมาของนโยบาย "อเมริกาต้องมาก่อน" American First Policy การกลับมาคร้งนี้จะเป็นการเพ่ิมความมั่นใจของทรัมป์ ที่กังวบกับบความถูกต้องน้อยลง สามารถเป็นตัวของตัวองมากขึ้น พร้อมที่จะเดิมพันบนความรุ้สึก และตัดบนความรู้สึก และตัดสินใจด้วยตัวเองโดยไม่คำนึงการสนับสนุนนของรัฐสภา ฯ ซึ่งอาจเห็นได้จากเหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นการเผชิญหน้ากับคู่ค้าอันดับต้นของสหรัญฯ อย่างเม็กซิโก จากนโยบายการเนรเทศแรงงานชาวแม็กซิโก ที่แฝงตัวในสหรัฐฯ รวมถึงการใช้กบังทางทหารกับแก๊งค้ายาเสพติดเม็กซิโก ซึ่งจะละเมิดอำนาจอธิปไตยของประเทศเม็กซิโก ทำให้สหรัฐฯ มีปัญหาในระยะประชิดตัว

         รวมถึงการออกจาองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ NATO ที่ถึงะทำไ้ดไม่ง่าย แต่เชื่อว่า ทรัมป์ จะลดการสนับสนุนทางทหารให้ยูเครน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อชาติชารติสมาชิกและบั่นทอนศักยภาพของนาโต้ โดยรวม พร้อมเพ่ิมควมชอบธรรมให้กับรัสเซียและผุ้นำเผด็จการขวาจัดอื่นๆ ของโลก 

         หากมองนาโต้ เป็นกำแพบงความมั่นคงฝั่งยุโรปของสหรัฐฯ ความสัมสพันธ์ระหว่างประเทศกับ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ก็เป็นปราการด่านสำคัญทางฝั่งแปซิฟิก แ

         แต่นโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม ผ่านความมั่นใจที่เพ่ิขึ้น อาจทำให้ทรัมป์มองกลยุทธ์ระยะสั้นตามอารมณ์..และอาจส่งผลต่ออิทธิพลในภูมิภาคนั้นๆ ของสหรัฐฯ อ่อนลง

          ความตึงเครียดระหว่างขั่วมหาอำนาจ จีนและสหรัฐฯ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้เปิดโอกาสให้ อินเดีย บริหารความสัมพันธ์สามเส้า ระหวาง รัสเซีย และสหรัญฯได้อย่างลงตัว ซึ่งหากนายกรัฐมนตรี นเรนทรา โมดี ได้รับการเลือกตั้งในสมัยที่สอง ความต่อเนื่องทางนดยบายจะทำให้บทบาทอินเดียในฐานะผุ้นำของ "โลกใต้" Global South จะอยู่ไม่ไกล

         ตัวแปรในระยะกลางและยาว คือการที่ สหรัฐฯ ละเลยความสำคัญของทวีปแอฟริกา ที่มีแต่จะเพ่ิมขึ้นในอนาคต ซึ่งนอกจากจะเป็นทวีปที่มีความสำคัญในเชิงทรัพยากรธรรมชาติ ยังมีทรัพยากรมนุษย์ ที่มีอายุเฉลี่ยเพียง 19 ปี เมื่อเทียบกับ 40 ปี ของสหรัฐฯและจีนและภายในปี 2050 หนึ่งในสามของแรงงานวัยทำงานดลกจะอยุ่ในทวีปนี้ ดดยในทางกลับกัน จีนได้ลงทุนอย่างต่อเนื่องในแอฟริกามาหลยทศวรรษ

        แนวทางปฏิบัติต่อจีน ตามความเชื่อของผุ้เขียน ฝ่ายอนุรักษนิยมของพรรคริพับลิกัน คงหวังให้ความขัดแย้งกับจีน เป็นรากฐานนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯที่ยั่งยืน ผ่านการสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกกับกลุ่มประเทศตะวันออกกลางเพื่อกีดกันจีน คงพันธมิต นาดต้ ในยุดรปให้ต่อต้านจีน ส่วนนโยบายทางเศราฐกิจ เน้นค้าขายกับประเทศพันธมิตรเพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือจีน

        จากฉากทัศน์ที่ได้กล่าวมาข้างต้น มีความเป็นไปได้ว่า การสิ้นสุดความเป็น "ผู้นำโลก" ของสหรัญฯน่่าจะเกิดขึ้น และทำให้ "ระเบียบโลกใหม่" มีผุ้นำที่เพี่มขึ้น ตามเขตอิทธิพลของตน..ที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/world/1117398






วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical and national security

            ความมั่นคงแห่งชาติ หรือ การป้องกันประเทศเป็นมโนทัศน์ว่ารัฐบาล ตลอดจนรัฐสภาพ ควร
พิทักษ์และพลเมืองของรัฐต่อวิกฤตการณ์ "แห่งชาติ" ทุกชนิดโดยใช้การแสดงอำนาจต่าง ๆเช่น อำนาจทางการเมือง การทูต อำนาจทางเศรษฐกิจ แสนยานุภาพ เป็นต้น 

           มีการพัฒนามโนทัศน์ดังกล่าวเป็นหลักในสหรัฐหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เดิมทีมุ่งเน่้นเสนยานุภาพ แต่ปัจจุบันครอบคลุมแง่มุมต่างๆ ซึ่งล้วนกระทต่อความมั่นคงที่มิใช่ทางทหารหรือเศราบกิจของชาติ และค่านิยมที่ความั่นงคงแห่งชาติรับมาใช้ ฉะนั้นเพื่อให้มีความั่นคงแห่งชาติ ชาติจึงจำเป็นต้องมีความมั่นคงทางเศราฐกิจ ความั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม น,ฯ ภัยคุกคามความั่นคงมิได้มีเฉพาะข้าศึกตามแบบ เช่น รัฐชาติอื่นเท่านนั้น แต่ยังมีตัวแสดงที่มิใช่รัฐ เช่น การค้ายาเสพติด บรรษัทข้ามชาติและองค์การนอกภาครัฐ ทางการบางแห่งยังรวมภัยพิบัติธรรมชาติและเหตุการณ์ซึ่งก่อความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงอยู่ในหมวดนี้ด้วย

         มาตรการที่ดำเนินเพื่อประกันความั่นคงแห่งชาติ ได้แก่  การใช้การทูตเพื่อกระชับพันธมิตรและแยกภัยคุกคาม,การระดมอำนาจทงเศรษฐกิจเพื่ออำนวยหรือขับบริษัท,การรักษากองทัพที่มีประสิทธิภาพ,การใช้การป้องกันฝ่ายพลเรือนและมาตรการความพร้อมภาวะฉุกเฉิน(รวมทั้งกฎหมายด้านการก่อการร้าย),การประกันความยืดหยุนและการมีโครงสร้างพื้นฐานสำคัญสำรอง ก,การใช้การสืบราชการลับเพื่อครวจหาและพิชิตหรือเอลี่ยงภัยคุกคามและจารกรรมและเพื่อคุ้มครองสารสนเทศลับ, การใช้กาทรต่อต้านการสืบราชการลับหรือตำรวจลับเพื่อพิพทัีกษ์ชาติจากภัยคุกคามในประเทศ.. ที่มา : วิกิพีเดีย

          ภูมิรัฐศาสตร์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดนโยบายขงอรัฐ โดยเฉพาะหลังการสิ้นสุดสงครามเย็น เกิดแนวคิดความถ่วงดุลอำนาจขึ้นทำให้รัฐต่างๆ มุ่งเน้นที่จะเข้าไปควบคุมพื้่นที่ทางทะเล เพราะเชื่อว่าหากสามารถควบคุมพื้นที่ทางทะเลใต้จะกลายเป็นมหาอำนาจโลก โดยในอดีตสหรัฐฯ เคยมีอิทธิพลในการควบคุมพื้นที่ทางทะเล แต่ในปัจจุบันจีนสามารถขึ้นมาเป็นผุ้นำในการควบคุมพื้นทีทางทะเลในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งภูมิรัฐศาสตร์นั้นมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่สำคัญ คื อทฤษฎี "ดินแดนหัวใจ" ของแมคคินเดอร์ โดยกบ่าวว่าพื้นที่ของทวีปเอเชีย ทวีปยุดรป และทวีปแอฟริกา เป็นพื้นดินที่มีความต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน โดยเรียกแผ่นดินผืนนี้ว่า "เกาะโลก" โดยมีจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ คือ บริเวณดินแดนในแถบยูเรเซีย ซึ่่งดิแดนนี้เร่ิมจากชายฝั่งทะเลบอลติกและทะเลดำในทางตะวันตกไปจนกระทั่งถงเขตไซบีเรียในตะวันออก และทางเหนือเร่ิมจากมหาสมุทรอาร์กติกจรดเทือกเขาหิมาลัยทางใต้ บริเวณนี้ไ้รวมพื้นที่ส่วนใหญ่ของที่ราบสุงอิหร่านทางตะวันตกเฉียงใต้และที่ราบสูงมองโกเลียทางตะวันออกเฉียงไต้เข้าไว้ด้วยกัน และเรียกบิเวณนี้ว่า "ดินแดนหัวใจ" และยังเห็นว่าหากใครสามารถครอบครองดินแดนนี้จะสามารถบุกยุโรปตะวันตกได้โดยง่ายและจะสามารรถขยายอิทธิพลไปจนกระทังจรดชายฝั่ยของยูเรเซีย ทฤษฎี "ดินแดนชายขอบ" ของ นิโคลัส จอห์น สปีกแมน ซึ่งทฤษฎีนี้มองว่า ปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญที่จะมากำหนดนโยบายต่างประเทศ ซึ่งแนวคิดของสปีกแมน เป็นแนวคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดเรื่อง "ดินแดนหัวใจ" และมองว่า ดินแดนหัวใจไม่ใช่จุดยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญแต่ดินแดนที่มีความสำคัญนั้นคือบริเวณที่เรียกวา "ดินแดนครึ่งวงกลมริมในเพราะบริเวณเหล่านี้เป็นบริเวณกันชน ระหว่างอำนาจทางบกและอำนาจทางทะเล โดยเรียกบริเวณนี้ว่า "ริมแลนด์"

          "ความฝันของจีน" เป็นคำสำคัญที่นาย ไสี จิ้นผิง " ประะานาธิบดีแห่งสาะารณรัฐประชาชจีนได้กล่าวถึงคำสำคัญนี้เป้นปรัชญาที่ใช้ในการปกครองประเทศเืพ่อยืนหยัดและัฒนาระบอบสังคมนิยมจีน ยังได้ขยายความฝันจีนไปกว้างขวาง ได้แก่ "ความฝันของจีน และความฝันของโลก" โดยความฝันของจีนไม่ใช่เพียงแค่ความฝันเท่านั้น แต่เป็นการดำเนินการใดๆ ที่นำไปสู่การบรรลุความฝันของจีนและไม่มีชาติใดต้องเสียผลประดยชน์การบรรลุความฝันจีนยังได้สร้างโอกาสในการพัฒนาของประเทศอื่นๆ ทังของการช่วยส่งเสริมการผลักดนการพัฒนาและแสวงหาสันตุภาพของมนุษยชาติซึ่งประเทศจีนพยายามนำพาประชาชาติจีนให้บรรลุถึง "ความฝันของจีน" โดยการผลักดันการฟื้นฟูครั้งใหญ่ ผ่่านการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นเมืองแห่งเทคดนดลยี, เส้นทางสายไหมดิจิทัลฯและเสนอแนวคิดเชิงกลยุทธในการร่วมกันสร้าง "แนวเขตเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมใหม่" และ "เส้นทางสายไหมทางทะเลในคริสต์ศตวรรษที่ 21 "รวมเรียกกลุยุทธ "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" One Belt and One Road กลุยุทธ์ดังกล่าวนี้ได้พึ่งพาอาศัยกลไกที่มีอยู่และริเร่ิมความร่่วมมือะดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการเชิดชูด้านสันติภาพ การพัฒนาและความร่วมมือการเป็นหุ้นส่วนทางเศราฐกิจกับประเทศต่างๆ ตามเส้นทาง...

          อาเซียน สมาคมประชาชาติอาเซียนแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของ


ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศรวมถึงให้อาเซียนมีความเข้มแข็ง มีภูมิด้านทานที่ดีในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดับโลกและเมือนำมาวิเคราะห์กับบริบททางภูมิศาสตร์ จะเห็นได้ว่า การวิเคราะหืในระดับนี้มองว่าประเทศต่างๆ ล้วนมีความต้องการกับเดียวกันกับอาเวียน เพราะอาเซียนมีบทบาทสำคัญในการผลักดันความร่วมมือไปสุ่เป้าหมายของประเทศนั้นๆ, การกำหนดแผนต่างๆ ที่มากเกินไป และสวนทางกับหลักปฏิบัติในความเป็นจริง ในปัจจุบันตัวแผนความร่วมมือต่างๆ ของอาเซียนถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ล้าสมัย, การวิเคราะห์ระดับรากฐาน อัตลักษณ์ และตัวตนของประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้สร้างอาเวียนให้ดีประหนึงประชาคมโลก แต่ในทางตรงกันข้ามผุ้คนยังกังวลต่อตัวตนของอาเซียน เนื่องจากเมือเกิดการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ คนเร่ิมแข่งขันกันมากขึ้น และด้วยเตหุผลดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเสื่อมถอยในอัตลักษณ์ของอาเซียน... ที่มา :https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00306.pdf

          สาระสำคัญของเอกสารมุมมองของอาเซียนต่อแนวคิด อินโด-แปซิฟิก เอกสารมุมมอง ของอาเซียนต่ออินโด-แปซิฟิก มีหลักการที่สำคัญ คือ การมีส่วนร่วม กับความเกื้อกูลซึ่งกันและกัน รวมไปถึงเน้นหลักการ 3M ได้แก่ การไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน Mutual Trust, ผลประโยชน์ร่วมกัน Mutual Benefit, และความเคารพซึ่งกันและกัน Mutual Respec, นอกจากนี้ยังยึดหลักการสำคัญของความเป็นแกนกลางของอาเวียน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งระบุหลัการทั้งหมดที่มาจากสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นพื้นฐานหลักในการขับเคลื่อนของอาเซียน

         เอกสารมุมมองฯ ยังระบุถึงความร่วมมือที่เป็นรูปะรรมดังนี้

         - ความร่วมมือทางทะเล โดยการส่งเสริมความปลอดภัยทางทะเล เสรีภาพ ในการเดินเรือและการบิน รวมถึงต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกรูปแบบ ตลอดจนส่งเสริมการระงับข้อพิพาทอย่างสันตุ และส่งเสริมความร่่วมมือในการแก้ไขปัญหามลพิษทางทะเล 

         - การเชื่อมโยง มุ่งเน้นความร่ว่มมือการเชือมโยงระหว่างภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกและกับอาเซียน ภายใต่้แผนความเชื่อมโยงระหวา่งกันในอาเวียน ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมโยงทางอากาศ และระหว่างประชาชนต่อประชาชน เป็นต้น

          - เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ ปี 2030 มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการบรรลุการพัฒนาที่ยังยืนของสหประชาชาติ โดยการส่งเสริมและกำหนดทิศทางในการขับเคลื่อนเป้าหมายดังกล่าวในระดับภูมิภาค เช่น บรรจุลงในวิสัยทัศน์อาเซียน และส่งเสริมศูนย์อาเซีนเพื่อการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ป็นรูปะรรม ดดยไทยได้ให้ความสำคัญกับ "การเชื่อมดยงและการพัฒนาที่ยั่งยืน" เนื่องจากสอดคล้องกับแนวคิดหลักของไทยที่เป็นประธานอาเซียน คือ "ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน"

          - ความร่ว่มมือด้านเศราฐกิจในด้านต่างๆ มุ่่งเน้นการอำนนวนความสะดวกทางการค้าและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโลจิสติกส์และบริการการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิพบัติเสริมสร้างและส่งเสริมการรค้าและการลงทุนดยดสนับสนุนการดำเนินการพิมพ์เขียวประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และข้อตกลงการค้าเสรีอื่นๆ รวมถึงความร่วมมือทางเศราฐกิจระดับภูมิภาค และส่งเสริมการพัฒนาเทคโนดลยีและนวัตกรรมร่วมกัน..ที่มา : https://www.sscthailand.org/uploads_ssc/research_201908231566549437899454.pdf

          อินโด-แปซิฟิก สหรัฐฯเป็นชาติมหาอำนาจในภุมิภาคอินโด-แปซิฟิก พื้นที่ภูมิภาคนี้ทอดยาวจาก
ชายฝั่งแปซิฟิกไปจรดมหาสมุทรอินเดียและเป็นที่อาศัยของผุ้คนกว่างกึ่งหนึ่งของประชากรโลก โดยมีขนาดเศาฐกิจเกื่อบ 2ใน 3 ของเศราฐกิจดลก รวมทั้งเป็นที่ตั้งของ 7 กองทัพที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีทหารอเมริกันประจำการอยุ่ในภูมิภาคนี้มากว่าที่อื่นใดนอกจากสหรัฐฯ ภูมิภาคนี้สนับสนุนงานของอเมริกามากกว่า 3 ล้านตำแน่งและเป็นแหล่งที่มาของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในสหรัฐฯเกือบ 900,000ล้านเหรียญสหรํญฯ ภูมิภาคนี้ขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจถึง 2 ใน 3 ของโลก จึงย่อมจะทรงอิทธิพลมทากขึ้นและมีความสำคัญต่อสหรัฐฯย่ิงขึ้นไปในอนาคต...https://th.usembassy.gov/th/us-indo-pacific-strategy-th/

         
อินโด-แปซิฟิกกับความสัำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลก 

         อินโดแปซิฟิกเป็นกระแสการเมืองโลก เป็นคำใหม่ในช่วงสิบปีที่ผ่านมาโดยเข้ามาแทนทร่ เอเชีย-แปซิฟิก ตั้งแต่ปี 2017 ซึ่งมีนัยยะในเชิงยุทธศาสตร์และภูมิรัฐศาสตร์ดดยจะเกี่ยวข้องกับอาณาบริเวณมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิกในทางภูมิศาสตร์เส้นทงการค้า การดินเรือในมหาสมุทร สินค้าและบริการ น้ำมัน และทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะที่เอเชียแผซิฟิก จะมีนัยยะทางเศราฐกิจของภูมิภาคมากว่าและเสมือนเป็นหลังบ้านของอเมริกา สำหรับปัจจบันหากกล่าวถึง อินโด-แปซิฟิก"จะหมายถึงวิสัยทัศน์ หรือแนวทาง ในกาารดำเนินนดยบายระหว่างประเทศ ซึ่งกลายเป็นยุทธศาสตรืของประเทศต่างๆ ยกเว้นสาะารณรัฐจีน และสหพันธรัฐรัสเซีย ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อาเซียน ยุโรป เร่ิมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง โดย โดนัลด์ ทรัมป์ อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มใช้คำ "อินโด-แปซิฟิก"ตั้งแต่ปี 2016-2017 และนาย ชินโซ อาเบะอดีตนายกรัฐมนตรีญุ่ปุ่น ได้ให้ความร่วมือกันสหรัฐฯและได้เพ่ิมเติมคำว่า a free and open Indo-Pacific เพื่อเน้นยำ่ว่าภูมิภาค "อินโด-แปซิฟิก" เป็นเขตเสรีและเปิดกว้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ออสเตรเลียได้เคยถอนตัวออกจากอินโด-แปซิฟิก ในช่วงปลายปี 2017 ด้วยเหตุผลความไม่พร้อมทางกลาโหมของประเทศและแนวนโยบาย

           
นอกจากนี้ อินโด-แปซิฟิก ยังเกี่ยวข้องกับการแข่งขันกันระหวางจีนและสหรัฐอเมริกาทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ โลกเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไซเอร์สเปซ และภูมิรัฐศาาสตร์ โดยมีปัจจัยสำคัญดังนี้

          - เศรษฐกิจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับผลประดยชน์ของแต่ละฝ่่าย และเส้นทางการเดินเรือที่เป็นประเด็นตั้งแต่ปี 2000 

          - ความแข้งกร้าวของจีนที่เพ่ิมมากขึ้น ตามที่จีนมีนดยบายที่จะทำให้ประเทศมีความย่ิงใหญ่ เห้นได้จากการที่จีนพยายามเป็นอภิมหาอำนาจของโลกผ่านการจัดทำโครงการต่างๆ เช่น การเชื่อมโยงเส้นทางสายไหมทั้งทางเรือและถนน การเชื่อมอาณาบริเวณเข้าด้วยกัน การให้ประเทศต่างๆ กุ้ยืมในการสร้างดครงสร้างพื้นฐานทางทะเลจีนใต้ แผนที่ "เส้นประ 9 เส้น" การอ้างกรรมสิทธิของจีเหนือหมู่เกาะเพื่อหวังผลประโยชน์จากทรัพยากรพลังงาน การประมง ซึ่งฟิลิปินส์เคยฟ้องร้องจีนไปยังศาลอนุญาดตตุลากาารระหว่างประเทศว่าเป็นเรื่องผิดกฎหมายทางทะเล รวมถึงการสร้างเกาะเที่ยมของจีน เป็นต้น

          - ความเป็นอภิมหาอำนาจของดลกว่าประเทศใดจะเป็นอันดับ 1 ของดลก ผ่านการสร้างกลไกและกติกาขึ้นมา ดดยสหรัฐอเมริกาไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลงดุลอำนาจความเป็นอันดับหนึ่งไปสู่จีน จึงสร้างพันธมิตรเพื่อถ่วงดุลอำนาจกับจีน

          - การขาดดุการค้าของสหรัฐฯ โดยเฉพาะจีนที่สหรัฐฯยังคงต้องพึคงพาซึ่งกันและกันรวมถึงปัจจุบันจีนไม่ยอมสหรัฐฯอย่างเช่นที่ญี่่ปุ่นเคยเป็นโจทย์ใหญ่ของสหรัฐฯแต่สามารถตกลงกันได้ จึงเป็นประเด็นที่สหรัฐฯจะต้องแก้ไขปัญหานี้ รวมถึงปัจจัยทางการเมืองในประเทศของสหรํฐฯเอง

          AUKUS (เป็นอักษรย่อจากชื่อของประเทศผู้ลงนามร่วม) เป็นกติกาสัญญาความมั่นคงไตรภาคีระหว่างประเทศออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐฯ ภายใต้สัญญานี้สหรัฐฯและสหราชอาณาจักร


ตกลงที่จะช่วยออสเตรเลียในการพัฒนาและใช้งานเรือดำนิ้พลังนิวเคลียร์ โดยเป็นการเพ่ิมบทบาทางการทหารของชาติตะวันตกในภูมิภาค แปซิฟิก โดยแหล่งข่าวในทำเนียบขาวระบุว่าการลงนามนี้ได้รับการวางแผนมาเพื่อต่อต้านอิทธิพลของ จีน ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ซึ่งเป็นคำอธิบายที่นักวิเคราะห์เห็นพ้องต้องกัน และนักวิเคราะห์ยังมองว่าเป็นหนทางทางหนึ่งที่จะปกป้องสาะารณรัฐจีน (ประเทศไตหวัน) จากการขยายตัวของ จีน 

          ออคัสมีลักษณะเป็นข้อตกลงที่สืบทอดจากกติกาสัญญาแอนซัส ซึ่งมีอยุ่แล้ว ระะหว่าง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐ โดยนิวซีแลนด์ถูกกั้นออกไปเนื่องจากนโยบายห้ามใช้พลีังงงานนิวเคลียร์..ฝรั่งเศสเรียกตัวเอกอัครราชทูตประจำออสเตรเลียและสหรัฐฯกลับประเทศเนื่องจากข้อตกลงดังกล่าวมาพร้อมกับการยกเลิกข้อตกลงซื้อขายเรือดำน้ำระหวา่งฝรั่วเศสกับออสเตรเลีย..

 ออคัน ครอบคลุมประเด็นสำคัญ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ สงครามไซเบอร์ สมรรถนะใต้น้ำ สมรรถนะในการโจมตีระยะไกล เป็นต้น ..

        ด้วยระบบโครงสร้างของโลกที่แบ่งขั่วอำนาจออกเป็น 2 ขั้วมากยิ่งขึ้น โดยมีประเด็นอ่อนไหวเรื่องการเดินเรือในทะเลจีนใต้ของจีน ที่พยายามแผ่อิทธิพลมากขึ้น จึงทำให้กลุ่ม AUKUS มีบทยาทมากขึ้น โดยกลุ่มพันธมิตรด้านความมั่นคงนี้ ก่อให้เกิดความระแวงของจีนรวมถึงการละเมิดความไว้เนื่อเชื่อใจของันธมิตรอย่างฝรั่วเศส ดังนั้น AUKUS จึงถือเป็นเรื่องที่ไม่คาดการณ์ไว้ ซึงก่อให้เกิดการคาดไม่ถึงให้แก่พันธมิตรอย่างฝรั่งเศส อาเซียน รวมถึงจีนอีกด้วย นอกจากนั้นยังถือเป็นยุทธศาสตร์ข้ามชาติที่ส่งสัญญาณบางอยบ่างให้กับภูมิภาค อินโด-แปซิฟิกว่า สหรัฐฯพร้อมเป็นพันธมิตรทางด้านความั่นคงในแง่คุณค่าของประชาธิไตย และปกป้องภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกจากจีน ขณะเดียวกันภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก

           Quadrilateral Security Dialogue Quad เป็นกลุ่มจตุภาคีระหว่าง ออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุ่น และสหรัฐ เป็นกลุ่มที่สำคัญของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ประเทศซึ่งอยุ่ในกลุ่มนี้ยังไม่เลือกข้างและรักษาระยะห่างกับจีนและสหรัฐอเมริกา และแต่ละประเทศมีมิติที่แตกต่างกันออกไป... ที่มา : article_20220204144003.pdf

           ความมั่นคงแห่งชาติ คือการพิทัก์สภาพรัฐ และพลเมืองของชาติต่อวิกฤตของชาติ ด้วย การทูต กำลังทางการทหาร อำนาจทางการเมือง และพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งแน่นอนว่่าประเทศที่มีกำลังและอำนาจมากกว่าย่อมมีความได้เปรียบในการป้องกันประเทศมากกว่า รัฐภูมิศาสตร์ถูกนำมาใช้ในการกำหนดนโยบายของประเทศต่างๆ อาทิ ทฤษฎหังใจโลก, ซึงป็นทฤษฎีตั้งต้นของภูมิรัฐศาสตร์ ทฤษฎีของ นิโครัส จอห์น สปีกแมน ซึ่งเกิดขึ้นที่หลังมองว่า จุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญไม่ใช่บริเวณหัวใจโลก แต่บริเวณที่เรียกว่า  "ริมแลนด์" เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ  ซึ่งเป็นบริเวณกันชนระหว่างอำนาจทางบกและอำนาจทางทะเล มีความสำคัญต่อการ 

        ความมั่นคงแห่งชาติเป็นส่วน ของการรวมตัวของประเทศเล็กๆ ซึ่งจะกล่าวถึงอาเซียน ซึ่งมาณาบริเวณตั้งอยู่บริเวณที่เรียกว่า "ริมแลนด์" อาเซียนประกอบด้วย 10 ประเทศ ในตะวันออกเฉียงใต้ของเอเซีย ซึ่งหลังจากจีนขึ้นมาเป็นมหาอำนาจ ก็แผ่อิทธิพลเข้ามาในอาเซียนด้วย ปัญหา ทะเลจีนใต้ ปัญหา ประเทศไต้หวัน ซึงทำให้ภูมิรัฐศาสตร์บริเวณ ทะเลจีนใต้ต่อถึงอาเซียนเกิดความตึงเครียด

       อินโด- แปซิฟิก  ถูกจัดตั้งขึ้นโดยสหรัฐอเมริกา โดยมี สมาชิกที่สำคัญอาทิ อเมริกา ญี่ปุ่น อินเดีย  และออสเตเลีย หรือที่เรียกว่่า กลุ่ม Quad จีนมองว่า เห็นถึงภัยคุกคาม ต่อเมื่อ การรวมกลุ่ม AUKUS อัคคัส ซึ่งเป็นการร่วมกลุ่ม ระหว่าง สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย เป็นการร่ว่มมือกันเพื่อจะช่วยออสเตรเลีย พัฒนาการใช้เรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งการรวมกลุ่มนี้สร้างความประหลาดใจให้แก่ประเทศพันธมิตร อยาง ฝรั่งเศส และรวมถึง อาเซียนด้วย แต่มีผุ้กล่าวว่า ในการรวมกลุ่มครั้งนี้จะเป็นหลักประกันด้านความมั่นคงให้กับประเทศไต้หวัน

          

         

วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical : Trade War

           


           สงคราามการค้า Trade War เป็นความขัดแย้งทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากลัทธิคุ้มครองขั้นรุนแรง

           ลัทธิคุ้มครอง Protectnism เป็นนโยบายเศรษฐกิจที่จำกัดการนำเข้าจากประเทศอื่นดดยใช้วิะีการ เช่น กาตั้งภาษีศุลกากร โควตานำเข้า เลแากรวางระเบยบของรัฐบาลอื่นๆ ผู้สนับสนุนอ้างว่่านโยบายลัทธิคุ้มครองจะช่วยป้องกันผู้ผลิต ธุรกิจและคนงานของภาคที่แข่งขันนำเข้าในประเทศจากผู้แข่งขันต่างประเทศ ทว่า นโยบายดังกล่าายังลดการต้าและมีผลเสียต่อผุ้บริโภคโดยรวม (เพราะทให้ราคาสินค้านำเข้าสูงขึ้น)และมีผลเสียต่อผุ้ผลิตและคนงานในภาคส่งออกา ทั้งในประเทศที่ใช้นโยบายนำเข้าสุงขึ้นและมีผลเสียต่อผุ้ผลิตและคนงานในภาคส่งออก ทั้งในประเทศที่ใช้นโยบายลัทธิคุ้มครองและประเทศที่นดยบายลัทธิคุ้มครองมีผล 

           มีความเห็นเป็นสากลในหมู่นักเศรษฐศาสตร์ว่า ลัทธิคุ้มครองมีผลเสียต่อการเติบดตทางเศราฐกิจและสวัสดิการทางเศรษฐกิจ ส่วนการค้าเสรี การลดระเบยบ และการลดอุปสรรคการค้ามีผลดีต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ทว่า การเปิดเสรีการค้าบางทีทำให้การเสียและได้ประโยชน์กระจายมากและไม่เสมอภาค และในระยะสั้นอาจทำให้มีการย้ายทางเศราฐกิจอย่างสำคัญของคนงานในภาคแข่งขันนำเข้า เหตุการที่เกี่ยวข้อง อาทิ าวึี่ทแอวโกล-ดัตช์ (1653-1784) สงครามฝิ่น (1839-1860) สงครามกล้วย (1898-1934). รัฐบัญญํติ Smoot-Hawley Tariff (1930), แองโกล-ไอริช สงครามการค้า (1932- 1938) สงครามการค้ากับอาหารดัดแปลงพันธุกรรม ( 2010-2011). ภาษีทรัมป์ฺ (2018) สงครามการค้าจีน - สหรัฐฯ ( 2018 -ปัจจุบัน), ข้อพิพาททางการค้า ญี่ปุ่น เกาหลีไต้ (2019 - ปัจจุบัน) 

           สงครามการต้า จีน-สหรัฐ หมายความถึงการริเร่ิมภาษีศุลการกรกับสิค้าที่ค้าขายระหว่างปรเทจีนและสหรัฐ 6 กรกฎาคม 2018 สหรัฐตั้งภาษีศุลกากร 25% ต่อสินค้า จีนมูลค่า 34,000 ล้นดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นส่วนหนึ่งของนดยบายพิกัดอัตราใหม่ของประธานาธิบดีสหรัฐ อดนัลด์ รัมป์ฺ ซึ่งทำให้จีนตอบโต้ด้วยการตั้งภาษีศุลการกรขนาดเท่ากันต่อผลิตภัณฑ์ของสหรัฐ ไม่นานจากนั้นในวันที่ 10 กรกฎาคม สำนักงานผุ้แทนการค้าสหรัฐจัดพิมพ์รายการผลิดตภัฒฑ์จีนมูลค่า 200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐที่จะอยุ่ภายใต้พิกัอัตราที่เสนอใหม่ 10% ตามคำสั่งของประธานาธิบดี ทรัมป์ จีนตอบโต้ด้วยการประกาศประณามพิกัดอัตราที่เสนอใหม่ว่า "ไร้เหตุผล"และ "ยอมรับไม่ได้อย่างสิ้นเชิง" รุัฐบาลทรัมป์วาพิกัดอัตราดังกล่าวมีความจำเป็นเพื่อคุมครองความมั่นคงของชาติและ "ทรัพย์สินทางปัญญาของสหรัฐ และเพื่อลดการขาดุลการค้าของสหรัฐกับจีน  ทรัมป์เปิดการสอบสวนอย่างเป็นทางการในเรื่องการโจมตีทรัพย์สินทางปัญญาของสหรัฐและพันธมิตร ซึ่งทำให้สหรัฐเสียหายเป็นมูลค่าประเมินไว้ ระหว่าง 225,000-600,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ/ปี

           รัฐบาลทรัมป์ อาศัยอำนาจบางส่วนตาม มาตรา 301 แห่งรัฐบัญญัติการค้า ปี 1974 เพื่อป้องกันสิ่งที่อ้างว่าเป็นวัตรการค้ามิชอบและการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา กำหมายให้อำนาจประธานาธิบดีกำหนดค่าปรับหรือบทลงโทษอื่นต่อคู่ค้าฝ่ายเดียวได้หากถือว่าทำร้ายผลประโยชน์ทางธุรกิจของสหรัฐโดยมิชอบ ในเดือน เมษา ปี 2018 สหรัฐกำหนดพิกัดอัตราต่อสินค้านำเข้าเหล็กกล้าและอะลูมิเนียมมจากจีนตลอดจนแคนาดาและประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป..ที่มา : วิกิพีเดีย

          "..หลักการสำคัญทางการทหารในหนังสือ "on war" ของคลอสเซวิส์ Karl von Clausewiyz ปรมาจารย์ทางการทหารของชาวเยอมรันใน สตวรรษที่ 19 ซึงหลักการดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงเรียนทหาร และนำมาใช้อ้างอิงกันอยุ่เสมอ แม้กระทั่งปัจจุบัน ที่อยู่ถึง 3 เล่มใหญ่ๆ ด้วยกัน พอจะสรุปได้ดังนี้

             - สงครามเป็นเพียงเครื่องมือที่ต้องปฏิบัติการต่อไป เพื่อให้สำเร็จตามนโยบายของรัฐ เมื่อวิถีทางอื่นใช้ไม่ได้แล้ว สงครามเป็นเพรียงเครื่องมือทางการเมืองอย่างหนึ่งเท่านั้น

            - คำนิยามของสงคราม คือ "การกระทำที่รุนแรงทีปฏฺิบัติเพื่อบังคับให้ศัตรุยอมทำตามในส่ิ่งที่เราปรารถนา"

            - เมื่อทำสงครามแล้ว ต้องทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ขัยขนะ สงครามต้องไม่มีข้อจำกัด การได้ชัยชนะคือการทำลายกำลังของศัตรูอย่างยับเยินโดยเด็ดขาด ดังนั้น สงครามจึงต้องไม่เพืียงแต่อาศัยวัสดุสิ่งของทั้งปวง และการชำนาญทางการรบเท่านั้น  หากแต่จะต้องมีองค์ประกอบทางสังคม จิตวิทยา และความเชื่อมั่นว่าฝ่ายตนเป็นฝ่ายถูกทางด้าน ศีลธรรม ก็สำคัญพอๆ กัน ซึ่งอธิบายโดยย่นย่อก็คือ นอกจากจะต้องเตรียมการรบให้พร้อมสรรพทางด้านอาวุธยุทโธปกรณ์และเสบียงแล้ว ต้องคำนึงถึงขวัญและกำลังใจของทหารและประชานเป็นอย่างยิ่งพร้อมๆกันไปด้วย

            - การเมืองต้องนำการทหาร ผู้นำทางการทหารต้องรับคำสสั่งจากผุ้นำการเมือง..."

             "..อำนาจของประเทศ คือ ความสามารถของประเทศหนึ่งที่สามารถทำให้ประเทศอื่นกระทำตามที่ตนปรารถนา

               ประเทศมหาอำนาจต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา กลุ่มสหภาพยุโรป หรือจีน มีอำนาจมากก็เพราะสามารถที่จะทำให้ประเทศอืนทำตามที่ประเทศเหล่านี้ปรารถนาได้มากนั้นเอง

               หากพิจารณาดูหลายๆ ประเทศพร้อมกันก็อาจลำบากในการตัดสินว่าอำนาจของประเทศใดจะมีมากกว่ากัน แต่หากพิจารณาเปรียบเทียบครังละ 2 ประเทศ ก็จะทำให้สามารถพิจารณาได้ง่ายมากขึ้น เช่น สหรัฐรบชนะญี่ปุ่นเมือปี 1945 ก็แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกามีอำนาจมากกวาประเทศญี่ปุ่น เพราะสามาารถที่จะเข้าไปยึดครองจัดการญี่ปุ่นได้ตามความพอใจ แต่หากพิจารณาประเทศไทยกับเวียดนาม ก็ยากที่จะตัดสินได้ว่าใครมีอำนาจมากกว่ากัน เพราะต่างฝ่ายต่างก็ไม่สามารถทำให้แต่ละประเทศทำตามที่ตนปรารถนาได้ ในกรณีที่เวียดนามสามารถขับไล่กองทัพสหรัฐฯออกจากเวียดนามได้ในสงครามเวียดนามนั้น มิได้หมายความว่า เวียดนามมีอำนาจเหนือสหรัฐฯ เป็นต้น

            อำนาจของประเทศมีความสำคัญมา เพราะฉะนั้นการขยายอำนาจของประเทศจึงเป็นนโยบายต่างประเทศของทุกประเทศเมื่อมีโอกาส เพราะประเทศที่มีอำนาจมากๆ นั้น สามารถที่จะทำให้ประเทศที่มีอำนาจน้อยกวย่ากระทำการต่างๆ ได้ตามที่ตนปรารถนา ทั้งๆ ที่ประเทศที่ีมีอำนาจน้อยนั้นไม่อย่างจะทำ ในเวลาเดียวกันอำนาจของประเทศก็เป็นการประกันความปลอดภัยของประเทศ และของพลเมือง ตลอดจนช่วยในการกอบโกยผลประโยชน์ต่างๆ ให้แก่ประเทศที่มีอำนาจมากได้เป็นอย่างดี 

          การขยายอำนาจของประเทศในสมัยก่อนเป็นไปในรูปที่เรียกว่า จักรวรรดินิยม ซึ่งหมายความถึงการยึดครองอาณานิคม หรือ การขยายอำนาจทางการเมืองและ/หรือ การขยายยอำนาจทางเศรษฐกิจของประเทศหนึ่งเข้าครอบงำอีกประเทศหนึ่ง การขยายอำนาจแบบเข้ายึดครองประเทศอื่นเป็นอาณานิคมนั้น เป็นที่นิยมในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่สำหรับปัจจุบันกลับกลายเป็นล้าสมัย ในปัจจุบันจักรวรรดินิยมมักจะมามนรูปของการครอบงำเศรษฐกิจ ซึ่งก็เป็นการใช้อำนาจทางเศรษฐกิจทำให้ประเทศที่อยุ่ในอำนาจทำตามที่ตนปรารถนา เช่น การที่สหรัฐฯ จะปฏิบัติการโจมตีกลุ่มก่อการร้ายและรัฐบาลตาลีบันในอัฟกานิสถาน สหรัฐฯก็ขอเข้าไปต้้งฐานทัพในประเทศปากีสถาน โดยเสนอเงื่อนไขเกี่ยวกับการผ่านระยะเวลาชำระหนี้ของปากีสถานให้ยาวขึ้น รวมทั้งยกหนี้บางส่วนให้กับปากีสถาน ดังนั้เน ทางปากรีสภานจึงยินยิมที่จะให้สหรัฐฯตั้งฐานทัพ.." ที่มา..KU0168010c.pdf

           ในอดีตภฺูมิรัฐศาสตร์ จะมุ่งเน้นไปในเชิงความสัมพันธ์ทางการทหาร ซึ่งภูมิประเทศและภูมิอากาศเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่ง กระทั้งภายหลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทความสำคัญในเชิงการทหารของประเทศต่างๆ เช่นการล่าอาณานิคม ถูลดระดับความสำคัญลง พร้อมๆ กันกับการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาอยางรวดเร็วทำให้มีการขยายความสัมพันะ์ระหว่างประเทศต่างๆ ทั่วโลก นิยามของ ภูมิรัฐศาสตร์จึงเปลี่ยนไป

         นิยามที่เปลี่ยนไปตามพลวัติของโลกที่เปลี่ยนแปลง จากบทควาามเรื่อง "ภูมิรัฐศาสตร์กับความสัมพันธ์ต่อการค้า" จากกองวิจัยเศรษบิกจการค้ามหภาพค สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ 

        ที่ผ่านมา มีต่ิดต่อซื้อขายและเปลี่ยนสินค้าและทรัพยากรระหว่างกัน เป็นความสัมพันะ์ในเชิงเศรษฐกิจ อาทิ แนวความคิดเศรษฐกิจเสรีนิยม นโยบายการค้าเสรี การรวมกลุ่มและความร่วมมือทางเศราฐกิจ เช่น องค์การการค้าโลก WTO ความตกลงการค้าเสรีต่างๆ และการตัดตั้งบริษัทข้ามชาติ ขณะเดียวกัน ปรเทศต่างๆ ต้องการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโดยเฉพาะทางเศรษฐกิจ อาทิ


       สหรัฐอเมริกา ภายหลังสิ้นสุดสงครามเย็น เป็นผุ้กำหดระเบยียบดลกใหม่ในมุมมองของการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเคารพสิทธิมนุษยชน และการต้าเสรี รวมถึงการใช้เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ เป็นสกุลเงินสากลในการกำหนดราคา และเปลี่ยนสินค้า วัดมูลค่าของการต้าขายระหว่างประเทศ และเป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก

       จีน ซึ่งเติบโตอย่างก้าวกระโดดและมีบทบาททางเศรษฐกิจการค้าโลกมากขึ้นตั้งแต่เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก และกลายเป็นหนึ่งในผุ้ผลิตผุ้ส่งออกสินค้าและตลาดทีใหญ่ที่สุดของโลก รวมถึงมีการพัมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างร่วดเร็ว

        อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันการช่วงชิงความเป็นผุ้นำทางการทหาราได้กลับมามีบทบาทสำคัญอีกครัี้งโดยมุ่งเป้าไปที่การเสริมความมั่นคงของประเทศ ผ่านการพัฒนาเทคโนโลยีทางการทหารและการครอบครองยุทโธปกรณืสะท้อนได้จากรายจ่ายทางการทหารทั่วโลกที่เพิ่มสูงขึัน

        นอกจานี้การตอบโต้กันระหว่างประเทสคู่ขัดแย้งมีการผสมผสานกันระหว่างมาตรการทางการทหาร เช่น การโจมตีด้วยขีปนารวุธ ควบคู่ไปกับมาตรการมทางการค้าและทางเศรษฐกิจ เช่น มาตรการคว่ำบาตรการถอนการลงทุน ดังเช่นสถานการความขัดแย้งระหว่างรัสเซียยูเครน ที่เป็นการปฏิบัติทางการทหารครั้งใหญ่ที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ที่มา : https://www.salika.co/2023/01/28/geopolitic-and-world-trade/

         "มหาอำนาจขั้วเดียว"  ตั้งแต่อดีตนั้น มัีกจะมีประเทศที่เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจ โดยเฉพาะประเทศที่อยุ่ในทวีปยุโรป และก็จะมีการถ่วงดุลอำนาจระหวว่างกัน โดยจะไม่ยอมให้ประเทศใดประเทศหนึงในกลุมประเทศมหาอำนาจเหล่านั้นามีอำนาจมากเกินไป ซึ่งระบบการเมืองระหวางประเทศอย่างนี้เราเรียกว่า "หลายขั้วอำนาจ" และเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเย็นก็ปรากฎขึ้นมา การเมืองระหวางประเทศของโลกเป็นระบบที่เรียกว่าระบบ "สองขึ้นอำนาจ" และภายหนังจากที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง พร้มการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ระบบการเมืองระหว่างประเทศก็ได้กลายเป็นระบบ "มหาอำนาจขั้วเดียว" ... ที่มา : KU0168010c.pdf

           "การเปลี่ยนผ่านระเบียบโลก World Order Transformer" 1/8/2022 By Futurist NIDA

            ระเบียบโลกอาจอธิบายได้ว่า หมายถึง รูปแบบของกฎเกณฑ์ และกระบวนการที่ตัวแสดงในการเมืองโลก จัดความสัมพันะ์ระหว่างกัน และจัดการกิจการร่วมกัน ซึงประกอบสร้างขึ้นจากดุลอำนาจระหว่างตัวแสดงเหล่านั้น การเปลี่ยนผ่านระเบียบโลก จึงเป็นกระบวนการวิวัฒน์หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบของกฎเกณฑ์ และกระบวนการดังกล่าว อันอาจเกิดจากการเปลี่ยนดุลอำนาจ และ/หรือดุลยภาพระหว่างชุดความรุ้ความคิด

            แนวโน้มในอนาคต 

            - สาธารณรัฐประชาชนจีนจะมีขนาดเศราฐกิจใหญ่ที่สุดในดลก เศราฐฏิจจีนและประเทศตลอดเกิดใหม่จะมีสัดส่วนเป็นกึ่งหนึ่งของขนาดเศรษฐกิจโลกภายใน ปี 2030 ( HSBC,2018)

            - สหรัฐอเมริกาจะยังคงเป็นมหาอำนาจทางภูมิรัฐ-ศาสตร์และการทหารที่มีขีดควาามสามารถสูงสุดหลัง ปี 2030 แต่สาธารณรัฐประชาชนจีนจะมีขีดความสามารถใกล้เคยงสหรัฐอเมริกามากยิ่งขึ้น 

             - ดุลอำนาจจำจะวิวัฒน์ไปสู่รูปแบบสองหรือสามขั้น ซึ่งประกอบด้วยสหรัฐฯ สาะารณรัฐประชาชนจีน และอาจรวมถึงสหภาพยุโรปมากขึ้น

            - เมื่อสหรัฐฯสูยเสียสภานะมหาอำนาจนำหนึ่งเดียว แนวคิดแบบเสรีนิยมที่เป็นพื้นฐานของระเบียบระหวว่างประเทศอาจเสื่อมอิทธิพล

            - ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีศักยภาพที่จะเป็นตัวแปรสำคัญในการกำกับระดับและทิศทางการเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจและความคิด

            - ระเบียบโลกแบบเสรีนิยมภายใต้การนำของสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไปสุ่ระเบียบโฃกแบบกระจายศูนย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งแข่งขัดและภาวะโลกหลายระเบียบ

           - ความขัดแย้งแข่งขันปีนี้โอกาสต่ำที่จะนำไปสู่สงครามหรือการโดดเดี่ยวกันระหว่างสองขั่วอำนาจหลัก เพราะยังควต่างต้องพึงพา/ร่วมมือกัน...ที่มา : https://futurist.nida.ac.th/


       

          

วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical : The Grandboard

           


ซิปบิ๊กนิว คาซิมีรซ์ เบรเซงสกี้ Zbigniew Kazimierz Brzezinski เกิดเมื่อ 28 มีนาคม 1928 ที่กรุง
วอร์ซอ ประเทศโปรแลนด์ เป็นนักรัฐศาสตร์ชาวโปล-อเมริกัน เป็นนักยุทธศาสตร์และรัฐบุรุษ เขาทำงานในตำแหน่งที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐ ในสมัยของประธาาธิบดี จิมมี่คาร์เตอร ระหว่างปี 1977-1981 นโยบายต่างประเทศที่มีลักษณแบบสายเหยี่ยวของเขาเป้นที่รู้จักกันดีในยุคหนึ่ง เมื่อพรรคเดโมแครตพยายามใช้นโยบายสายพิราบมากขึน เชขาเป็นพวกที่กำหนดนโยบายต่างประเทศโดยอยู่ใจโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งเป็นการโต้แย้งกับแนวนโยบายของพรรคเดโมแครตภายมต้ควาสรับผิดชอบชองเฮนรี คิสซิงเจอร์ ผุ้รับผิดชอบด้านนโยบายตืางประเทศในสมัยของ ประธานาธิบิีนิกสัน นธยบายต่างผะเทศหลักในสมัยที่เขาดำรงตำแหน่งอยู่ ได้แก่ นโยบายการรักษาความสัมพันะ์ในระดับปกติกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน การส่งสัญญาณให้มีการปกิบัติตามสนธิสัญญาควบคุมอาวุธ ขั้อตกลงแคมป์เดวิด การเปลี่ยนให้อิหร่านต่อต้านรัฐอิสลามตะวันตกสร้างกองกำลังนักรบมูจาฮีดนในอัฟากนิสถานเพื่อต่อต้านสหภาพโซเวียตและรัฐบาล อัฟกันที่เอนเอียงเข้าข้างโซเวียต รวมทั้งเขาปะทะกับกองกำลังโซเวียตที่บุกเข้าไปในอัฟกานิสถานด้วย

             เขาเป็นศาสตราจารย์ด้านยโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่สำนักการศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศขึ้นสูง ที่มหาวิทยาลัยจอห์น ฮอบกิ้นส์ เป็นผู้เชี่ยวชาญของศูนย์การศึกษายุทธศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งยังเป็นกรรมการในคณะกรรมการอีกหลายชุด เขามักจะประกฎตัวบ่อยๆ ในฐานะผุ้เชี่ยวชาญที่ได้รับเชิญมาออกรายการร่่วมกับ จิม ลิททรีร์ ทางช่อง PBS

             เข้าสู่แวดวงการเมือง ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี เมือปี 1960 เบเซงสกี้ ได้เป็นที่ปรึกษาในการหาเสียงเลือกตั้งให้ จอห์น เอฟ. เคนเนดี้ โดยให้มุ่งสนับบสนุนนโยบายไม่สร้างความเป็นปรกปักษ์ตอยุโรปตะวันออก และมองโซเวียตในฐานะคู่แข่งขันในยุคแห่งความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันทั้งในด้านเศรษบกิจและการเมือง เบรเซงสกี้ได้ทำนายไว้ว่าในที่สุดสหภาพโซเวียตจะต้องล่มสลาย ไปตามเชื้อชาติ

            เบรเซงสกี็ ไม่เห็นด้วยกับการสนับนุนให้เกิดความตึงเครียดต่อไปอีก 2-3 ปี โดยเขาได้ตีพิมพ์บทความเรื่อง "สันติภาพเชิงสร้างสรรค์ในยุโรปตะวันออก" และสนับสนุนนโยบายไม่สร้างความเป็นปฏิปักษ์ภายหลังวิกฤติคิวบา ดังนั้นเขาจึงเป็นว่าต้องแก้ไขความเข้าใจของชาติยุโรปตะวันออกซึ่งหวาดกลัวว่าจะโดนเยอรมันรุกราน และปลอบชาวยุโรปตะวันตกไม่ให้หวาดกลัวตว่าจะโดนเยอรมันรุกราน และปลอบชาวยุโรปตะวันตกไม่ให้หวาดกลัวต่อการเกิดขึ้นของอภิมหาอำนาจจาการประชุมที่ยัลต้า

           ปี 1964 เบรเซงสกี้ ให้การสนับสนุนนโยบายหาเสียงในการเลือกตั้งประธานาะิบดีของ นาย ลินดอน บี จอห์นสัน ในเรื่องการสร้างสังคมที่ยิ่งหใย่ และสิทธิพลเมือง ในอีกด้านหนึ่งเขาก็เห็นว่าผุ้นำของโซเวียตจะยังต้องกวาดล้างศัตรูที่พยายามจะโค่นนาย นิกิต้าร ครุซซอฟ อยู่ต่อไปอีก 

           เบรเซงสกี้ยังคงให้การสนับสนุนในการทำความเข้าใจและติดต่อกับยุโปตะวันออกอยุ่ต่อไปนอกจากนี้เขาก็ยังสนับสนุนในการเข้าแทรกแซงในเวียดนามเพื่อลบล้างคำสบประมาทของเหมา เจ๋อ ตุง ที่อ้างว่าสหรัฐเป็นเพียงเสือกระดาษ ในช่วงปี 1966-1968 เบรเซงสกี้ได้เป็นสามาชิกของสภาวางแผนทางนโยบาย กระทรวงมหาดไทยของสหรัฐ

           ในการหาเสียงเลือกตั้งเมื่อปี 1968 เบรเซงสกี้ได้เป็นประธานคณะผู้จัดทำนโยบายต่างประเทศให้แก่ฮุเบิร์ท เขาแนนำให้หยุดนดยบายหลายอย่างงของ ประธานาธิบดี จอห์นสัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับเวียดนาม ตะวันออกกลาง และการแข่งขันทงอำนาจกับสหภาพโซเวียต

            เบรเซงสกี้ได้รับการเรียกตัวเขามาช่วงในการจัดประชุมชาติยุโรป ซึ่งแนวความคิดนี้บรรลุผลสำเร็จในปี 1973 โดยเป็นการประชุมในเรื่องความมั่นคงและความร่วมมือกันในหมู่ชาติยุโรป แต่ในระหวางนั้นเองเขาได้กลายเป็นผุ้นำในการวิพากษ์วิจารณืนโยบาย "ผ่อนคลายความตึงเครียดระหว่างกัน" หมายถึงความตึงเครียดในยุคสงครามเย็นโดยเฉพาะระหวา่งสหรัฐกับสหภาพโซเวียต ของประธานาธิบดีริชาร์ด เอ็ม นิกสันและนายเฮนรี คิสซิงเจรอ์ และนโยบายคลั่งสันติภาพของ จอร์ช แมคโกเวิร์น 

           ผลงานของเขาในปี 1970 เรื่อง "ระหว่างสองยุค : บทบาทของอเมริกาในสมัยแห่งการใช้วิทยาการเพื่ออการแก้ปัญหา" Between Two Ages : America's Role in the Technetronic Era ได้โต้แย้งข้อตกลงทางนโยบายในหมู่ประเทศที่พัฒนาแล้วที่เห็นว่าเป็นความจำเป็นเข้าเผชิญกับความำร้เสถียรภาพของโลกอันเหนื่องมาจาการขยายตัวของช่องว่างทางเศรษฐกิจ จากผลงานชิ้นนี้ เบรเซงสกี้ได้สร้างให้เกิดคณะกรรมาธิการโตรภาคีขึ้นมาโดยมี เดวิด ร็อคกี้เฟลเลอร์ รับเป็นประธานกรรมาะิการตั้งแต่ปี 1973-1976 คณะกรรมาธิการไตรภาคีนี้เป็นกลุ่มของนัการเมืองคนสำคัญ ผุ้นำทางธุรกิจ และนักวิชาการชั้นนำจากสหรัฐ ยุดรปตะวันตก และญี่ปุ่น วัตถุประสงค์ขององค์กรนี้ก็คือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมสูงสุดของโลกเสรีทั้ง 3 ภูมิภาค ให้มีความแน่นแฟ้น ในการนี้เบรเซงสกี้ได้เลื่อกให้ จิมมี คาร์เตอร์ เข้าเป็นกรรมาธิการด้วย

           จิมมี่ คาร์เตอร์ ชนะการเลือกตั้งในปี 1976 เขาได้แต่งตั้งให้เบรเซงสกี้เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงของเขา เป็นการก้าวสู่วงจรของอำนาจที่จะสามารถมีส่วนในการกำหนดนโยบายชองชาติอย่างเต็มตัว

            ปี 1978 เบรเซงสกี้ และวานซ์ แข่งขันกันอย่างมากที่จะเป็นผุ้นำเหนือการกำหนดนโยบายต่างประเทศของคาร์เตอร์ วาซ์พยายามที่จะคงลักษระของการผ่านคลายความตึงเครียดแบบนิกสัน โดยให้ความสำคัญไปที่การควบคุมกำลังทหาร ในขณะที่เบรเซงสกี้เชื่อว่าลักษณะแบบของการผ่านอคลายความตึงเครียดนี้ เป็นการเพิ่มกำลังทหารและการเน้นหลักสิทธิมนุษยชนอย่างสุดโต่ง ทั้งนี้ วานซ์ กระทรวงมหาดไทย และสื่อมวลชน ตางก็พากันวิพากษืวิจารณ์เบรเซงสกี้ว่า เป็นผุ้ต้องการให้สงครามเย็นคงอยู่ต่อไป

         
 เบรเซงสกี้ได้ให้การแนนำแก่คาร์เตอร์ถึงการสานสัมพันะ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนหรือจีนแดง และความไปเยื่อนปักกิ่งเพื่อเป็นการวางรากฐานสำหรับที่จะได้ปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและจีนแดงให้อยู่ในระดับปกติต่อไป และในปีเดียวกันนี้ พระคาดินัล คาดรล์ วอจ์ยลา ซึ่งเป็นชาวโปลได้เลือกให้พระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ขึ้นเป็นผุ้นำคริสตจักรดรมันคาทอลิก ซึ่งเรื่องนี้โซเวียตเชื่อว่าเป็นฝีมือของเบรเซงสกี้

           1979 เกิดเหตุการ์สำคัญ 2 เหตุการคือ การล้มล้างพระเจาชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นพันธมิตรของสหรัฐ ซึ่งการปกิวัติอิหรานก่อให้เกิดเหตุกาณ์วิกฤการณ์จับตัวประกันในอิหร่านต่อมา และการบุกอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต ซึ่งเรื่องนี้เบรเซงสกี้ได้คาดการณ์ไว้ว่าโซเวียตจะบุก (บางคนเห็นว่าเาเป็นผุ้จัดแากเรื่องนี้ขึ้นมาเองโดยได้รับการสนับสนุนจาก ซาอุดิอาระเบีย ปากีสถาน และสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจะได้สร้างเป็นยุทธศาสตร์ในการเข้าปะทะกับโซเวียตในขั้นสูงต่อไป

           ในสภาวะแห่งความไม่มั่นคงนี้ เบรเซงสกี้ได้นำสหรัฐฯไปสุ่การสร้างกองกำลังแบบใหม่และการพัฒนากองกำลังเคลื่อนที่เร็ว ซึ่งนดยบายทั้ง 2 ประการประธานาธิบดีเรแกนได็ได้นำไปใช้ต่อใน ปี 1980 เบรเซงสกี้ได้วางแผนปฏิบัติการ "กรงเล็บอินทรี" เพื่อเข้าช่วยเหลือตัวประกันในอิหร่าน โดยใช้กองกำลังเดลต้า ที่สร้างขึ้นมาใหม่ ประกอบกับกองกำลังพิเศษหน่วยอื่นๆ  แต่ภารกิจนี้ไม่ประสบความสำเร็จและทำให้รัฐมนตรีวานซืลาออก เบรเซงสกี้ถูกวิจารณือย่างหนักในหน้าหนังสือพิมพ์และกลายเป็นผุ้ที่เกือบจะไม่มีความสำคัญอีกต่อไปในทีมงานของ คาร์เตอร์

           หลังจากออกจากแวดวงการเมือง เขาก็ยังคงสนใจการเมืองระหวางประเทศ และยุทธศสตร์ระหว่างประเทศอยุ่เช่นเดิม ในฐานะของนักวิจารณการเมืองระหว่างประเทศ โดยเขาจะให้ความเห็ต่อเหตุกาณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศอยางสม่ำเสมอจนกระทั่งปัจจุบัน

           1990 เขาได้กล่าวเตือนว่าอย่าหลงดีใจกับการสิ้นสุดของสงครามเย็น เขาได้นำเสนอทัศนะที่ไม่เห็นด้วยกับการทำสงครามอ่าวเปอร์เซีย ดดยเขาโต้แย้งว่าสหรัฐใช้ความเชื่อถือไว้วางใจที่นานาประเทศมีให้มาตั้งแต่ที่สามารถพิชิตสหภาพโซเวียตได้ และสิ่งนี้จะเป็นชนวนที่สร้างเสริมให้เกิดความไม่พอใจอย่างกว้างขวางทั่วโลกอาหรับ เขาได้ขยายทัศนะนี้ในผลงานของเขาที่ชื่อว่า "เหนือการควบคุม" Out of Contrl 

          1993 เบรเซงสกี้วิจารณืความลังเลของประธานาธิบดี คลินตันในการเข้าแทรกแซงต่อต้านเซอร์เบีย
ในวิกฤตการ์สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย เบรเซงสกี้เร่ิมกล่าวดจมตีรัสเซียเกี่ยวกับปฏิบัติกาในแชชเนีย เขาได้จับตาเฝ้าดูและกล่าวย้ำถึงเรื่องอำนาจของรัสนเซีย เบรเซงสกี้มีความเห็นในทางบลต่อการเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบีของอดีตเจ้าหน้าที่ KGB วลาติเมียร์ ปูติน เขาจึงผู้สนับสนุนคนแรกๆในการขยายหน้าที่ขององค์การนาโต้

         
ภายหลังเหตุการ 9/11/2001 เบรเซงสกี้ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักสำหรับบทบาทของเขาที่ได้มีส่วนในการสร้างเครือข่ายนักรบมุจาอิดีนชาวอัฟกันขึ้นมา เพราะคนกลุ่มนี้ให้การสนับสนุนกลุ่มตาลีบัีน และให้ที่พักพิงแก่อัลเคด้า

        เบรเซงสกี้ กลายเป็นผุ้นำในการวิพากษืวจารณ์การบริหารงานของประธานาธิบดีจอร์ซ ดับเบิลยู บุช ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง "สงครามการก่อการร้าย" ความคิดของเขาได้รับการทาสีว่าเป็นพวก "อนุรักนิยมใหม่" (พวกที่มีลักาณะความคิด ปฏิเสธความคิดแบบอุดคตี และมองว่าสหรัฐสามารถมีมาตรการในการรักษาผลประโยชน์และความมั่นคงปลอดภัยของตนเองดดยไม่ต้องคำนึงวาจะผิดกฎเกณฑ์หรือจรรยาบรรณระหว่างประเทศหรือไม่ และสหรับต้องเตรียมความรบพร้อมอยุ่ตลอดเวลา ทั้งนี้ในบางครั้งสหรัฐอาจสร้างสภานการณ์เพื่อดจมตีคนอื่นก่อนที่คนอื่นจะมาโจมตีก็ได้ นอกจากนี้ก็มี การสนับสนุนการสร้างฐานทัพไว้ทั่วโลก และพยายามใช้องค์การระหว่างประเทศในการสร้างกฎที่เป็นประดยชน์กับสหรัฐ) ทั้งนี้ก็


เนื่องจากการที่เขาเกี่ยวข้องกับ พอล วูฟล์โฟวิตซ์ รัซมนตรีช่วยว่าการการะทรวงกลาโหมสมัยประธานาธิบดี จอร์ซ ดับเบิลยู บุช สมัยแรก และแนวความคิดของเขาในหนังสือ "กระดานหมากรุกที่ยิ่งหใหญ่ ซึ่งตีพิมพ์ใน ปี 1997 เขาได้เขียน "ทางเลือก" ในปี 2004 ซึ่งเป็นการขยายความจากหนังสือเรื่อง "กระดานหมากรุกที่ย่ิงใหญ่" ของเขา และเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์ที่แหลมคมต่อนโยบายต่างประเทสของประธานาธิบดีบุชเข้าไปด้วย ซึ่งเป็นการแก้ต่างกับรายงานของ "นักล๊อบบี้ชาวอิสราเอลกับนดยบายต่างประเทศของสหรัฐ" เขายังคงเป็นคนที่พูดจาวิพากษ์วิจารณ์อย่างตรงไปตรงมาโดยเฉพาะในเรื่องการบุกอิรักในปี 2003 และการรักษาความสงบในพื้นที่ต่อมา

           เบรเซงสกี้ได้วางหลักการที่สำคัญที่สุดของเขาไว้สำหรับเป็นปนวทางให้สหรัฐดำเนินการในยุคหลังสงครามเย็น เรียกว่า "ภูมิยุทธศาสตร์" ซึ่งแนวคิดนี้ปรากฎในหนังสือของเขา เรื่อง "กระดานหมากรุกที่ยิ่งใหญ่" ดดยเขาได้ให้คำอธิบายถึงภูมิภาคทั้ง 4 ของดินแดนยูเรเซีย ซึ่งสหรัฐฯ ควรจะต้องออกแบบนโยบายที่เหมาะสมสำหรับแต่ละภูมิภาคแต่ให้มั่นใจได้ว่าสหรัฐฯจะยังควเป็นอภิมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกต่อไป สำหรับภูมิภาคที่ 4 ได้แก่ 

           - ยุโรป กองหน้าของฝ่ายประชาธิปไตย

           - รัสเซีย เป็นเสมือนหลุ่มดำที่อยุ่กลางดินแดนยูเรเซีย

           - เขตคอเคซัสและเอเซียกลาง เป็นดินแดนบอลข่านแห่งยูเรเซีย

           - ตะวันออก เป็นเครื่องยึดเหยี่ยวตะวันออกไกล

           นอกจากนี้เขายังได้วางยุทธศาสตร์ในการครองความเป็นเจ้าของสหรัฐอเมริกาไว้ 2 ประการ คือ 

            - ปัจจุบัน การเมืองระหว่างประเทศที่มีเพียงขั้วเดียว ดดยที่สหรัฐอเมริกาก้าวขึ้นมาเป็นประเทศอภิมหาอำนาจเพียงประเทศเดียว

            - สหรัฐฯไม่สามารถที่จะเป็นอันดับหนึ่งของโลกได้ตลอดกาล ดังนั้น จึงต้องเตรียมการรองรับเมือวันที่จะต้องลงจากบัลลังก์


             ที่มา :KU0168010c.pdf


วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical : Sea Power

         


 สมุททานุภาพ Sea Power เกิดจากแนวคิดของ พลเรือตรี อัลเฟรด เธเยอร์ มาฮาน นำเสนอผ่านหนังสือ "The influence of Sea Power upon History 1660-1973" ซึ่งมาฮาน เป็นนักยุทธศาสตร์ทางเรือผู้มีชื่อเสียง ดดยเขาศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์การก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจทางทะเลของประเทศอังกฤษ สรุปเป็นทฤษำีสทุททานุภาพ แล้วเปรียบเทียบกับขีดความสามารถของสหรัฐฯ

ในการเป็นชาติมาหอำนาจทางทะเล ด้วยปัจจัยสทุทานุภาพหลายๆ ปัจจัยซึ่งมีส่วนคล้ายคลึงกับประเทศอังกฤษ ทั้งนี้ความสำคัญของสมุททานุภาพ ถือหลักสำคัญว่า มหาอำนาจทางทะเลจะเหนือกว่ามหาอำนาจทางบกในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ ซึ่งในทฤษฎีนี้ได้รับการพิศุจนื แล้วจากสงครามโลกทั้งสองครั้งว่าเป็นความจริง 

        หากพิจารณความหมายของสมุททานุภาพ อันเป็นผลจาการปสมคำระหวาง สมุทร(ทะเล) กับ อานุภาพ (กำลังอำนาจ) ความหมายดดยรวมของสมุททานุภาพ มีบริบทเช่นเดียวกับที่มาฮานได้กล่าวำว้คือ "อำนาจ กำลังอำนาจ หรือ ศักยภาพของชาติ จาการใช้ทะเลให้เกิดประโยชน์ตามที่ต้องการ" จากผลของสงครามโลกทั้งสองครั้ง จึงพิสูจน์ได้ว่า ทฤษฎีสมุททานุภาพกำเนิดมากว่า 100 ปีแล้ว และยังสามารถนำมาปรับใช้ได้จนถึงปัจจุบัน (ที่มา : https://thaiseafarer.com/naval-cencept/sea-power/)



       ภฺมิรัฐศาสตร์ คือ วิชา สาขาวิชา ที่เป็นการพรรณนา อธิบาย วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผ่านการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่่างภูมิศาสตร์กับรัฐศาตร์ หรือความสัมพันธ์ระหวางภูมิประเทศและสภาพทางกายภาพกับการเมืองการปคกรอง ขอบเขตการศึกษาภูมิรัฐศาสตร์ครอบคลุม (ณรงค สินสวัสดิ์, 2524 : 20 อัางใน สมบัติ จันทรวงศ์, 2541 : 632-634. ; สมชาย เดชะพรหมพันธุ์, 2535 : 21- 104.) (1) ทีตั้งของประเทศหรือรัฐ ที่สำคัญ คือ การเป็นประเทศภาคพื้นทวีป หรื อภาคพื้นสมุทร การเป็นประเทศที่มีอาณาเขตไม่ติดต่อทางทะเล หรือติดต่อทางทะเลการเป็นประเทศที่มีพรมแดนประชิดมหาอำนาจหรือประเทศที่มีอำนาจที่เนหือว่าหรือห่างไกลจากประเทศมหาอำนาจหรือประเทศที่มีอำนาจเหนือกว่า และการมีที่ตั้งที่มีพรมแดนประชิดกับเพื่อบ้านที่มีความเมหือนกันหรือแตกต่างกันทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ขนาดของประเทศหรือรัฐ ตัวอย่างที่สำคัญ คือ รัฐที่มีพื้นที่ อาณาเขต พรมแดน ดินแดน นาดกว้างใวหญ่ไพศาล ย่อมมีความได้เรียบจาการมีทรัพยากรจำนวนมาก ทำให้รับผิดชอบต่อสาธารณชนหรือประชากรได้มาก สร้างปัจจัยแห่งอำนาจและขีดความสามารถของประเทศได้มากความเได้เปรียบด้านการสงครามจากการมีพื้นที่ให้เลือกสรรหรือใช้ประโยชน์ได้เป็นจำนวนมาก มีจุดยุทธศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ด้านการสงครามเป็นจำนวนมาก...ส่วนแนวคิดสมุททานุภาพ นับเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดอำนาจของชาติที่คาบเกี่ยวเฉพาะส่วนที่เป็นภาคพื้นสมุทรหรือทะเลเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของรัฐจากปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ที่เกื้อหนุนจนก่อให้เกิดปัจจัยแห่งอำนาจทางทะเล  (นรพัชร เสาธงทอง อภิญญา ฉัตรช้อฟัา และสุรพล สุยะพรหม, 2564) สภาพที่ตั้งของพื้นที เมือง หรือประเทศ จึงนับเป็นรากฐานที่สำคัญของปัจจัยแห่งอำนาจตามแนวคิดสมุททานุภาพเพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ฺทางรัฐศาสตร์

            รัสเซ๊ย การแสวงหาทางออกทะเลมีความต่อเนืองจาประวัติศาสตร์บนเงื่อนไขทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้วยลักษณะที่ตั้งที่รัสเซียเป็นที่มีพื้นที่ขนาดกว้างใหญ่ไพศาล แต่มีข้อจำกัดกับทางออกทะเลที่ติดต่อกบภาพยนอก สภาชายฝังทางทะเลด้านเหนือมีอากาศหนาวจัด ซึ่่งเป็น้อจำกัด ที่ทำให้ไม่สามารถสร้างเมืองท่าได้ และความห่างไกลจากศุนย์กลางของตะวันตกส่งผลให้รัสเซียอยุ่อย่างโดดเดี่ยว นับเป็นปัญหาอุปสรรคที่ขวางกั้นความเจริญของรัสเซีย และกีดกันรัสเซียออกจากเวทีการเมืองของยุโรปช่วงเวลานั้นเกรือบจะโดยสิ้นเชิง การแสวงหาทางออกทางทะเลนับเป็นหนทางที่สำคัญหนทางหนึ่งที่จะทำให้รัสเวียติดต่อค้าขายและรับวิทยาการ เทคโนโลยี นวัตกรรม และศิลปวิทยาการ จากตะวันตก ซึ่งเป็นปัจจัยและเงื่อนไขพื้นฐานสำหรับการสภาปนาตัวตนเพื่อากรเป็นประเทศมหาอำนาจของรัสเซียตามที่คาดหวัง ...(Langer, 1975 : 24 อ้างใน จันทร์ฉาย ภัคอธิคม, 2540 : 22) 

 จุดยุทธศาสตร์ที่เป็นจุดอ่อนที่สำคัญมาจากภูมิรัฐศาสตร์ภาคพื้นสมุทรหรือพื้นน้ำซึ่งรัสเซียมีความเสียเปรียบอยางมาก เพราะแม้ว่ารัสเซียจะมีพรมแดนติดต่อกับพื้นน้ำจากมหาสุมทรจำนวน สามแห่ง ประกอบด้วย มหาสมุทร แปซิฟิก มหาสุมทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก ทำให้เสมือนหนึ่งได้เปรียบเชิงปริมาณ แต่กลับมีปัญหาในเชิงคุณภาพเพราะพื้นน้ำหรือภาคพื้นสมุทรของรัสเซียกลายเป็นพื้นที่ที่เป็นจุดอ่อนหรือพื้นที่อ่อนไหวของรัสเซียอย่างมาก ดังนั้น เป้าหมายทางภูมิรัฐศาสตร์ของรัสเซีย ประการแรก การสถาปนารัฐกันชนเพื่อป้องกันประเทศจาการรุกรานจากภายนอก ประการที่สอง การแสวงหาทางออกทางทะเลด้วยเลืื่อนไขและข้อจำกัดที่รัสเซียเผชิญกับปัญหาทะเลภายในที่มีทาสงออกสู่ภายนอกจำกัด ปัญหาทะเลปิดที่ไม่มีทางออกสุ่พื้นน้ำภายนอก ตัวอย่างที่สำคัญ คือ ทะเลสาบแคสเปียน และทะเลสาบไบคาล และปัญหาทะเลที่เป็นน้ำแข็ง.. 

           จากแนวคิดภูมิรัฐศาสตร์สุ่แนวีคิดสมุททานุภาพที่แสดงถึงความสำคัญของภาคพื้นสมุทรองรัสเซีย ด้านความมั่นคงที่เป็นที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ และด้านเศรษบกิจที่เป็นผลประโยชน์จาการค้าภายนอก ทำให้รัสเวียมุ่งเน้นการแสวงหาทางออกทะเลมานับตั้งแต่อดีต พื้นที่ตอนล่างหรือด้านความมั่นคงที่เป็นที่ตังทาง

ยุทธศาสตร์ และด้านเศรษบกิจที่เป็นผลประโยชน์จาการคี้าภายนอก ทำให้รัสเวียมุ่งเน้นการแสวงหา
ทางออกทางทะเลมานับตั้งแต่อดีต พื้นที่ตอนล่างหรือด้านใต้ของรัสเซียนับเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญสำหรับความสัมพันะ์กับภายนอกประเทศ ส่งผลให้รัสเซียนับตั้งแต่อดีตที่ผ่านมาพยายามแสวงหาทางออกลงสู่ทะเลดำ จาการขยายอาณาจักรรัสเซียภาคพื้นทวีปเป็นหลักภายหลังการสภาปนาอาณาจักรมัสโควี อาณาจักรที่สำคัญของรัสเซียช่วงแรก ต่อนเื่องจนถึงการสภาปนาจักรวรรดิรัสเวียของราชวงศ์โรมานอฟ นำไปสู่การขยายอำนาจสู่ด้านล่างจนถึงทะเลดำเสมัยพรเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราชและพระนางแคทเอทลีนมหาราชินี แต่การเผลิญกับปัญหาทางการเมืองภายในทำให้การแสวงหาพื้นที่เพิ่มเติมสำคัญลำดับรอง และรัสเซียพยายามรักษาอำนาจที่มีเหนือายฝั่งและทะเลดำอย่างต่อเนื่องจนสหภาพโซเวียล่มสลาย

           ไครเมียนับเป็นพื้นที่ตัวอย่างสำคัญจาการขยายอำนาจของรัสเซียสุ่พื้ที่อนล่างหรือทะเลอาวอฟ และทะเลดำ กลายเป็นพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวที่สำคํญจากความพยายามขยายอำนาจของมหาอำนาจนับตั้งแต่อดีต ที่สำคัญ คือมองโกล และ ออตโตมาน การช่วงชิงการขยายอำนาจของรัสเซียในไครเมียก่อให้เกิดสงครามไครเมียกับจักรวรรดิออตโตมาน ทำให้ไครเมียเป็นเอกราชและกลายเป้นส่วนหนึ่งของรัสเซียและต่อมา หลังสงครามไึเทันีะหส่วีะาเศันกะยออคโตมานทำให้อังกฤษกับฝรั่งเศสเข้ามาเกี่ยวข้อง การปราชัยของรัสเซียส่งผลให้ผุ้ปกครองต้องปฏิรูปประเทศอย่างรอบด้าน การเปลี่ยนแปลงการปกครองของสหภาพโซเวียตใน ปี 1917 ทำให้ไครเมียแยกตัวเป็นเอกราชและภายหลังได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต จนถึงสมัยนาย นิกิต้า ครุสซอฟ ที่มีการมอบไครเมียให้เป็นของขวัญแก่ยูเครนใน ปี 1954 และกลายเป็นส่วนหนึ่งของยู่เครนต่อเนื่องแม้ภายหลังสหภาพโซเวียตล่มสลายใน ปี 1991 แล้วก็ตาม การที่ยูเครนเป็นประเทสที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดหรือมากที่สุดเป็นอันดับ2 รองจากรัสเซีย และเป็นประเทศที่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเลดำ ทำให้เสมอนหนึ่งปิดกั้นจนทำให้เป็นปัญหากับรัสเซียในการผ่านทะเลดำ นำไปสู่ความพยายามยึดครองไครเมียซึ่งประชาชนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายรัสเซียและเคยอยู่ในการปกครองของรัสเซียมาก่อน จนประสบความสำเร็จใน ปี 2014 นับเป็นจุดเร่ิมต้นอย่างมีนัยสำคัญสำหรับยการรุกคืบจนกลายเป็นสงครามระหว่างรัสเซียกับยู่เครนใน ปี 2022 (ที่มา : TRDM_4_1_5_ธโสธร+ตู้ทองคำ.pdf )


วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Ukain War The geopolitic significance...2

           "ผิดที่ไว้ใจ? รัสเซียกับสหภาพยุโรปในภมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวง" โดย จิตติภัทร พูนขำ เมื่อ 29 มกราคม 2018 ซึ่งเผยแพก่ร่อนเกิดสงครามยูเครน  และสงครามอิสราเอล-ปาเลสไตน์ แสดงให้เห็นถึงความการช่วงชิงอำนาจทางภูมิรัฐศาสตร์และความขัดแย้งที่มีนัยยะสำคํญเรื่องก่อการร้าย..

          ยุคสงครามเย็นความสัมพันธ์ยุโรปกับรัสเซียพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ ภูมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวง


ขบเคลื่อความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและยุดรป ทั้งนี้เนื่องจากความแตกต่างทางด้านอุดมการณืและระบเศรษฐกิจการเมือง กระทั่ง "กอบาชอฟ" ำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในทศวรรษที่ 1980 ทำให้รัศเวียกับโลกตะวันตก รวมทั้งยุโรป เร่ิมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันอีกคร้ง 

         ต่อมายุคหลังสงครามเย็น อัตลักษณ์ของรัสเซียในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของยุโรปนี้ได้กำหนดแนวนโยบายต่างประเทศและยุทธศาสตร์แห่งชาติของรัสเซียที่ต้องการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทสต่างๆ ในยุโรป รวมทั้งการรวมกลุ่มภูมิภาค ที่ต่อมาเรียกวา่เป้นสหภาพยุโรป หรือ EU อย่างน้อยในสมัยแรกของประธานาธิบดี "บอริส เยลซิน" รัสเซียเสนอว่าจะสมัครเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป 

          ต้นทศวรรษที่ 1990 รัสเซียกับ สหภาพยุโรปค่อยๆ พัฒนาขึ้นจาการพบปะเจรจาและการประชุมร่วมกันระหว่างผุ้นำรัสเซียและยุโรปอยู่บ่อยครั้ง กระทั่งบรรลุข้อตกลงหุ้นส่วนและความร่วมมือ ในปี 1994 ซึ่งมุ่งเน้นการพึงพาซึงกันและกันในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ความมั่นคง เป็นต้น เยลซิน ได้กล่าวว่า "รัสเซียจะเป็นหุ้นส่วนที่ซื่อสัตรย์เชื่อถือได้และไว้ใจได้"

           อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ระหว่างประเทศเช่น วิกฤตการณ์ภูมิภาคบอลข่าน โดยเฉพาะสงครามโคโซโว ปี 1999 ทำให้ความสัมพันธ์ไม่ราบรื่อนเดังเดิม คุณค่าและผลประดยน์ของทั้งสองมหาอำนาจมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยะ รัสเซีย มองเห็นถึงการไม่ปฏิบัติตามสัญญาของผุ้นำโลกตะวันตกทั้งสหรัฐฯ และยุโรป ซึ่งเคยให้คำมันสัญญาว่าจะมีการปรึกษากับรัสเซีย ก่อนที่จะดำเนินปฏิบัติการทางทหารใดๆ ทั้งรัสเซียยังมองว่าการแทรกแซงทางการทหารแต่ฝ่ายเดียวหรือเอกภาคีนิยมของโลกตะวััีนตก ไม่ได้รับอาณัติจากคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ทั้งยังมุ่งเปลี่ยนปลงระบอบการเมืองของรัฐอื่น

           ปี 2000 วลาดิมีร์ ปูติ ขึ้นเป็นประธานาธิดีรัสเซีย และยังคงมุ่งความสำคัญต่อยุโรปและสหภาพยุโรป ดังที่กล่าวว่า "รัสเซียนั้นเป็นมหาอำนาจตะวันตก ทีี่มีผลประโยชน์สำคัญร่วมกับประเทสต่างในยุโรป เช่น ด้านพลังงาน และการค้า

          ในปี 2003 รัสเวียและสหภาพยุโรปจัดตั้งสภาหุ้นส่วนภาวรเพื่อเป็นเวทีในการปรึกษาหารือระหวางประเทศ และกไนดแนวคิดเรื่อง "พื้นที่ร่วมกันสี่ด้าน".. ปูตินยังได้สร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ดีกับผุ้นำยุโรปหลายคน ทั้งจาก เยอรมัน อิตาลี และฝรั่งเศส เป็นต้น โยเฉพาะ Schröder แห่งเยอรมัน ยังคงเป็นสหายสนิทของปูติน โดยมีบทบาทสำคัญในธุรกิจภาคพลังงานของรัสเซียอีกทังยังเป็นประธานบอร์ดบริหารบริษัทส่งออกพลังงานไปยังยุดรปผ่านท่อก๊าซใต้ทะเลบอลติกด้วย

          ทั้งนี้ในช่วงสมัยแรก ปูตินได้ร่วมมือกับยุโรปและสหรัฐฯ ในสงครามต่อต้านการก่อการร้าย  War on Terror โดยสนับสนุนปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายของโลกตะวันตกในอัฟกานิสถาน และความร่่วมมือทางด้านการข่าวกรอง อย่างไรก็ตาม นิยามของการก่อการร้ายระหวางรัสเซียกับโลกตะวันตกก็มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ รัสเซีย การก่อการร้ายหมายถึงกลุ่มก่อการร้ายที่ไม่ใช่รัฐ ไม่ได้รวมถึงรัฐที่สนับสนุนการก่อการร้าย รัสเซียจึงไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมือง โดยรัฐภายนอกเข้าไแทรกแซงทางการทหารในอีกรัฐหนึ่ง และเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองภายในของรัฐนั้น หรือเปลี่ยนแปลงผุ้นำของรัฐดังกล่าว จะเห็นได้ชัดเจนในช่วงสงครามอิรัก ปี 2003 ซึ่งปูติดต่อต้านอย่างเด่นชัด และมองสงครามนี้ว่าเป็นการเลปี่ยนแปลงระอบอบการเมืองภายใน ไม่ใช่การตอการการก่อการร้ายโดยกลุ่มที่ไม่ใช้รัฐ

          ภูมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวงก่อตัวขึ้น ความกังขาและการลดความไว้เนื่อเชื่อใจต่อดลกตะวัน


ตกทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในช่วงการปฏิวัติสี ในบริเวณ "หลังบ้าน"ของรัสเซีย ได้แก่ จอร์เจีย ปี 2003. ยูเครน ปี 2004. และคีร์กีสถาน ปี 2005 ตามลำดับ รัสเซียมองว่า เป็นการแผ่ขยายอำนาจของโลกตะวันตกและการส่งออกประชาธิปไตยในบริเวณที่รัสเซียถือว่าเป็นเขตอิทธิพลของตน หรือ บางท่านเรียกว่า เขตผลประโยชน์ที่มีอภิสิทธิ์ของรัสเซีย

         แม้ความคลางแคลงใจของรัสเซียจะพุ่งเป้าไปที่สหรัฐฯ เป็นสำคัญแต่สหภาพยุโรปเองในฐานมหาอำนาจที่มุ่งสงเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและตลาดเสรี ก็เร่ิมที่จะเผชิญหน้ากับความตึงเครียดกับรัสเซีย ซึ่งเป็นมหาอำนาจที่ยังมุ่งเน้นการปกปห้องกอำนาจอธิปไตยของรัฐ และไม่สนับสนุนการแทรกแทซงทางการทหารเพื่อเปลี่ยนปแลงระบอบการเมืองของรัฐอื่น รวมทั้งต่อต้านการแทรกแทซงเพื่อมนุษยธรรมด้วย อาจกล่าวได้ว่ารัสเซียยังอยู่ในระเบยบโลกแบบเวสต์าเลีย แต่ยุโรปดูเหมือนจะเคลื่อตัวออกจากระเบียบดังกล่าวไปแล้ว

       ปัญหาสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้ความสัมพันะืรัสเซีย และสหภาพยุโรป ตกต่ำ คือ "เพื่อนบ้านร่วมกัน" common neighborhood ซึ่งเป็นบริเวณที่อยุ่ะหว่างรัสเซียกับสหภาพยุโรป ได้แก่ ยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก และเครือรัฐเอกราช ซึ่งถื่อเป็น "หลังบ้าน" ของรัสเซีย

     


 ด้านสหภาพยุโรป เร่ิมกระบวนการขยายสมาชิกภาพในบริเวณดังกล่าวตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมา สหภาพยุดรปประกาศนโยบายต่อประเทศเพื่อนบ้านยุโรป 
European Neighborhood Policy: NEP ขึ้นมา เพื่อจะ "พัฒนาโซนแห่งความมั่นคงและความเป็นเพื่อนบ้านที่ดี" ซึงสหภาพยุโรปมี ไความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด สันติ และร่วมมือ"...
       รัสเซียมองว่เป็นการขยายสมาชิกเป็นการแข่งขันเชิงอำนาจ/ภูมิรัฐศาสตร์ในบริเวณที่รัสเซียถือว่าเป็น "เขตอิทธิพล" ของตน ทั้งยังกังขาว่าไม่เป็นการส่งเสริมตลาดเสรี ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ซึ่งรัสเซียมองการส่งออกประชาธิปไตยและการเปลี่ยนแปลงระอบบการเมืองในหลายกรณี เช่น การปฏิวัติสีส้ม ในยูเครน ว่าเป็น "การสมคบคิดของโลกตะวันตก"

       รัสเซีย ต้องการสถาปนา "เขตอิทธิพลไในบริวเณอดีตสหภาพโซเวียต และมุ่งหมายให้สหภาพยุโรปรวมทังสหรัฐฯ ยอมรับสภานะดังกล่าวของรัสเซียด้วย 

       ปี 2005 ปูติน ได้กล่าวว่า "การล่มสลายของสหภาพโซเวียตนั้นเป็น "โศกนาฎกรรมทางภูมิรัฐศาสตร์


แห่งศตวรรษที่ 20" แม้ัว่า ณ ขณะนี้ รัสเซียจะไม่มีเป้าหมายที่จะรื้อฟื้นจักรวรรดิแบบสหภาพโซเวียตขึ้นมา แต่รัสเซียต้องการเป็นมหาอำนาจในระดับภูมิภาคที่มีอำนาจและอิทธิพลเหนือเพื่อนบ้าน หรือ อย่่างน้อยก็ไม่ปรารถนาให้มหาอำนาจภายนอกเข้าแทรกแซง ในบริเวณ หลังบ้านรัสเซีย รัสเซียยังพยายามบูรรณาการรัฐต่างๆ ในเครือรัฐเอกราช เข้ามาอยุ่ภายใต้ดครงการที่ชื่อวหภาพเศรษบกิจยูเรเซีย ดดยมียูเครนเป็นหัวใจสำคัญในการบูรณาการเศรษฐกิจการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคยูเรเซีย เมือยุเครนเลือกที่จะหันไปหาโลกตะวันตก จึงสร้ืงความไม่พอใจอย่างยิ่งต่อรัสเซีย 

       ทว่า รัสเซียก็แสงหาการธำรงรักษาสภานภาพเดิมของ "ความขัดแย้งแช่แข็งในภูมทิภาคนี้เอาไว้ แต่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา รัสเซียเร่ิมดำเนินนโยบายต่างประเทศที่แข็งกร้าวในบางกรณีที่อษศัย ไสงครามลูกผสม" hybrid war ในการรักษาสภานภาพเดิมในบริเวณ หลังบ้าน ของตน สงครามลูกผสม (สงครามลูกผสม นั้นเป็นสนธิกำลังของปัจจัยทางการทหาร กับปัจจัยที่มไ่ใช่ทางการทหาร เพื่อพบรรลุเป้าประสงค์ ทางยุทธศาสตร์บางประการ โดยวิธีการที่แตกต่างกันไป ตั้งแต่การใช้กองกำลังรบพิเศษ สงครามข่าวสาร สงครามไซเบอร์ การจารกรรมข่าวกรอง การขู่ว่าจะใช้ภัยคุกคามทางเศษฐกิจ (การตัดการส่งออกพลังงาน) การใช้อิทธิพลทางการเมือง รวมทั้งการแทรแซงทางการเมือง และแทรกแซงทางการทหารโดยตรง ที่ปรากฎให้เห็น ในสงครามระหว่างรัสเซียและจอร์เจีย ที่บางคนเรียกว่า "สงครามห้าวัน" ในปี 2008 หรือกรณี สงครามในยูเครนภาคตะวันออกตังแต่ปี 2014 เป็นต้นมา

           วิกฤตการณ์ยูเครน/ไครเมีย ในปี 2014 

          วิคเตอร์ ยานุโควิช ตกจากอำนาจ ในเดื่อนกุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน รัสเซียมองว่ารัฐบาล "ยานุโควิช" เป็นรัฐบาบลที่มาจาการเลือกตั้งที่มีความชอบธรรมทางการเมือง และมองกลุ่มชุมนุมประท้วง "ยูโรไมแดน" เป็นพวก "ฟาสต์ซิสม์" ที่ได้รับการสนับสนุนจากโลกตะวันตก รัสเซียวิพากษ์สหภาพยุโรปที่ให้การรับรองรัฐบาลใหม่อย่างทันทีทันใด ชนวนเหตุเป็นผลพวงจาก "เพื่อนบ้านร่วมกัน" กล่าวคือ การชุมนุมทางการเมืองครั้งใหญ่ที่จัตุรัสเอกราชในกรุงเคียฟเร่ิมต้นจาการต่อต้านรัฐบาล ยานุโควิช ที่ไม่ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือกับสหภาพยุโรป แต่กลับไปทำความตกลงกับรัสเซีย

         วิกฤจตการณ์ครั้งนี้ยิ่งทำให้ยูเครนตกอยุ่ภายใต้กับดักมหาเกมภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างดลกตะวันตกกับรัสเซียอย่างเต็มตัว

          ความตึงเครียดทวีมากขึ้น เมื่อรัสเซียเข้าไปแทรกแซงทางการทหารในยูเครนภาคตะวันออก รวมทังการลงประชามติแยกตัวของไครเมียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ดลกตะวันตกตอบโต้ด้วยมาตรการคว่ำบาตรทางเศราฐกิจต่อรัสเวีย และขับรัสเวียออกจากการเป้นสมาชิกของกลุ่ม  G-8 กระทังปัจจุบัน

           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...