วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Global South

         

 การที่ประเทศชั้นใำหลายแห่งในแอฟริกาเอเชีย และละตินอเมริกา ไม่ร่วมกับ นาโต้ ใสนเรื่องสงคามยูเครน ได้นำคำว่า "โลกใต้" กลับมาใช้อีกครั้ง "

           "โลกใต้" หมายถึงประเทศต่างทั่วโลก ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า "กำลังพัฒนา" "พัฒนาน้อย" หรือ "ด้อยพัฒนา" หลายประเทศเหล่านี้ (แม้จะไม่ใช่ทั้งหมด) ก็อยุ่ในซีโลกใต้ ส่วนใหญ่อยุ่ในแอฟริกา เอเซีย และละตินอเมริกา

            คำว่า "โลกใต้ไ ดูเหมือจะถูกนำมาใช้คร้้งแรกในปี 1969 โดยนักเคลื่อนไหวทางการเมือง คาร์ล อ๊อกเลสบี้ โดยเขียนในนิตยสารซึ่งเป็นเสรีนิยมคาทอลิกโดยแย้งว่าสงครามในเวียดนามเป็นจุดสิ้นสุดของการครอบครองโลกใต้ โดยทางตอนเหนือ แต่หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของสิ่งที่เรียกว่า "โลกที่สอง" คำว่า "โลกใต้"จึงกลับมาอีกครั้ง ในเวลานั้นคำศัพท์ทีั่วไปที่ใช้เรียกประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังไม่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ คือ "โลกที่สาม" ซึ่งคำนี้บัญญัติขึ้นโดย อัลเฟรด โซวี ในปี 1952 โดยเปรียบเทียบกับ ฐานันดร 3 ฐานันดร ในประวัติศสตร์ของฝรั่่งเศส ได้แก่ ขุนนาง นักบวช และชนชั้น กระฎุมพี คำว่า "โลกที่หนึ่ง" หมายถึงประเทศทุนนิยมก้าวหน้า "โลกที่สอง" ต่อประเทศสังคมนิยมที่นำโดยสหภาพโซเวียต และ "โลกที่สาม" สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งหลายประเทศในสมัยนั้นยังอยู่ภายใต้จักรวรรดิอาณานิคม

          หนังสือของนักสังคมนิยมวิทยา ปีเตอร์ วอร์สเลย์ ปี 1964 เรื่อง "The Third World : A Vital New Force in International Affair" ทำให้คำนี่้แพร่หลายมากขึ้น หนังสือเล่มนี้ยังได้กล่าวถึง "โลกที่สาม" ซึ่งเป็นแกนหลักของ"ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด"ซึ่งก่อตั้ง เพื่อเป็นแนวร่วมในสงครามเย็น


         แม้มุมมองของ วอร์สเลย์ เกี่ยวกับ "โลกที่สาม" นี้จะเป็นไปในทางบวก แต่คำนี้ก็มีความเกี่ยวข้องกับประทเศต่างๆ ที่เต็มไปด้วยความยากจน ความสกปรก และความไม่มั่นคง "โลกที่สาม" กลายเป็นคพ้องความหายสำหรับสาะารัฐที่ปกครองโดยเผด็จการ ซึ่งเป็นภาพล้อเลียนที่เผยแพร่โดยสือตะวันตก

           การล่มสลายของสหภาพโซเียต และการสิ้นสุดของสิ่งที่เรยกว่าโลกที่สองทำให้เกิดข้ออ้างที่สะดวกสำหรับคำว่า "โลกที่สาม" ที่จะหายไปเช่นกัน การใช้คำนี้ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ ในขณะเดียวกัน "พัฒนาแล้ว" กำลังพัฒนา"และ"ด้อยพัฒนา"ก็เผชิญกับคำวิพากษ์วิจารณืที่ถือว่าประเทศตะวันตกเป็นอุดมคติ โดยขณะเดียวกันก็วาดภาพประเทศที่อยุ่นอกกลุ่มนั้นว่าล้าหลัง คำที่ใช้แทรคำเหล่านี้มากขึ้นเรือยๆ คือ "โลกใต้" ที่ฟังดูเป็นกลางมากกว่า

         เป็นคำภูมิศาสตร์การเมือง ซึ่ง ไม่ใช่ภูมิศาสตร์ "โลกใต้" ไม่ใช่คำทางภูมิศาสตร์ ในความเป็นจติง สองประเทศที่ใหญ่ที่สุดของโลกใต้ ได้แก่ จีนและอินเดีย อยุ่ในซีโลกเหนือทั้งหมด แต่หมายถึงความเหนือทางการเมือง ภูมิศาสตร์การเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศต่างๆ 

        ประเทศต่างๆ ในซีกโลกใต้ส่วนใหญ่พึ่งพ้นจากการอยู่ใต้อาณานิคม แอฟริกาเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของความสัมพันธ์ระหว่าง "ตะวันตกกับส่วนที่เหลือ" เมือพิจารณาถึงความสัมพันะ์ในอดีตที่ไม่สมดุลระหวาางประเทศต่างๆ ในโลก "ซีกโลกใต้และซีกโลกเหนือ" ทั้งสในยุคจักวรรดิและสงครามเย็น จึงไม่น่าแปลกใจที่ทุกว่านี้หลายประเทศเลือกที่จะไม่ฝักใฝ่มหาอำนาจใดๆ 

ในขณะที่คำว่า "โลกที่สาม" และ "ด้อยพัฒนา" สือถึงภาพลักษณ์ของการไร้อำนาจทางเศรษฐกิจ แต่ไม่ใช้กับ "โลกใต้" ธนาคารโลกคากการณ์ว่า ภายในปี 2030 ประเทศเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด 3 ใน 4 แห่งจะมาจากซีกโลกใต้ ตามลำดับ ได้แก่ จีน อินเดีย สหรัีฐอเมริกา และอินโดนีเซีย GDP ในแง่ของกำลังซื้อของกลุ่มประเทศ BRICS ( เป็นอักษรย่อใช้เรยกกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบด้วย บราซิล, รัสเซีย, อินเดีย, จีนและแอฟริกาใต้ โกลด์แมน แซคส์ กล่าววากลุ่มบริกส์พัฒนาอย่างรวดเร็วมากจนประมาณปี 2050 เศราฐกิจของกลุ่มรวมกันจะสามารถบดบังหลุ่มประเทศที่ร่ำรวยในขฯะนี้ได้ ปัจจุบัน ประเทศทั่งสี่รวมกัน มีพื้นที่มากว่าหนึ่งในสี่ของแผ่นดินโลก และมากกว่าร้อยละ 40 ของประชากรโลก..ที่มา: วิกิพีเดีย) ซึ่งครอบงำทางตอนใต้ของโลก ได้แซงหน้ากลุ่มประเทศ G7 ของ "โลกเหนือ"แล้ว และตอนนี้มหาเศรษฐีในปักกิ่งมากกว่าในนิวยอร์กซิตี้

          การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้เป็นไปพร้อมๆ กับการมีบทบาททางการเมืองโลกมากขึ้นของประเทศต่างๆ ใน "โลกใต้" ไม่ว่าจะเป็น "การเป็นตัวกลางของจีนต่ออิหร่านและการสร้างสายสัมพันธ์ของซาอุดิอาระเบีย หรือ ความพยายามของบราซิลในการผลักดันแผนสันติภาพเพื่อยุติสงครามในยูเครน ทำให้ผู้เชียวชาติด้านภูมิรัฐศาสตร์หลายท่าน เขียนเกี่ยวกับ การมาถึงของ "ศตวรรษแห่งเอเชีย" และเร่ิมพูดถึง "โลกหลังโลกตะวันตก" ที่มา : https://theconversation.com/the-global-south-is-on-the-rise-but-what-exactly-is-the-global-south-207959

           สี จิ้นผิง กำลังจะสร้าง "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ที่มีจีนเป็นแกน เพื่อประกบกับ "ระเบียบดลกขั้ว
เดียว" ทีมีสหรัฐเป็นพระเอก ผู้นำจีนเสนอ "โกลโบล เดเวอร์ลอฟเม้นท์ อินเทียทีฟ (CDI) หรือ "ความริเร่ิมพัฒนาโลก"ซึ่งเป็น"พิมพ์เขียว" ของจีนเพื่อสร้างพันธมิตรกลุ่มหใา่ที่มุ่งท้าทายโลที่นำโดยตะวันตกมาช้านาน ตัว GDI เองมีเป้าหมายสำคัญคือการส่งเสริมการพัฒนาา,ลดความยากจนและส่งเสริมสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนาแต่อีกสองแผนที่ตามมาสะท้อนถึง "ยุทธศาสตร์องค์รวม" ที่กระชับก้าวอย่างอันสำคัญของปักกิ่ง นั่นคือ "โกลโบล ซีเคียวริที้ อินเทียทีฟ" "ความริเริ่มด้านความั่นคงโลก" และ "โกโลบล ซิวิไลเซชั่น อินเทียทีฟ" หรือ "ความริเริ่มด้านอารยธรรมโลก" เป็นความพยายามอย่างชัดแจ้งของจีนที่จะระดมแรงสนับสนุนจาก "โลกใต้" เพื่อขยายอิทธิพลและบทบาทของจีนในเวทีระหว่างประเทศ เป็นความพยายามของปักกิ่งที่จะปรับปรุง "กฎกติกามารยาท"ระดับโลกที่เคยถูกกำหนดโดยดลกตะวันตกมาตลอดตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา

           อินเดีย กับการเดิมเกมส์สองหน้า อินเดียคงไม่ต่างจากหลากหลายประเทศเสรษฐกิจเกิดใหม่ที่มองเห็นถึงปัญหาหลายอย่างในโครงสร้างระเบียบและธรรมาภิบาลโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคณมนตรีความ


มั่นคงแห่งสหประชาชาติ UNSC ที่เปิดโอกาส ที่เปิดโอกาสให้สมาชิกถาวะเพียง 5 ชาติมีบทบาทและอิทธิพลอย่างสุงต่อการตัดสินความเป็นไปของความขัดแยงในการเมืองระหว่างประเทศ อินเดียถือเป็นหัวหอกสำคัญที่ต้องการปฏิรูปองค์กรดังกล่าวของสหประชาชาติ เช่นเดียวกับหลายประเทศในละตินอเมริกาและแอฟริกา ฉะนั้นถ้าจะตอบคำถามอย่างง่ายวส่าอะไรคือเป้าหมายนโยบายต่างประเทศอินเดียทั้งปัจจุบันและอนาคต คำตอบคือการยกระดับสถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้นในเวทีโลกที่ไปไกลกว่าเพียงแค่เอเซีย และหนึ่งในนั้นคงหมายรวมถึงการได้ที่นั่งถาวรใน UNSC พร้อมกับฐานะมหาอำนาจในภูมิภาคและระดับโลก  และเวที่ G20 ก็เป็นหนึ่งเวทียกระดับสู่สถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้น เพราะนอกจากรัฐบาลนิวเดลีจะสะท้อนให้เห็นแล้ว่า ตนเองไม่ได้เดินตามหลังสหรัฐฯและชาติตะวันตก ด้วยการเชิญรัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซียเข้าร่วมการประชุมด้วยแล้ว รัฐมนตรีต่างประเทศอินเดียยังมีโอกาสพูดคุยหารือกับรัฐมนตรีต่างประเทศของจีน เพื่อแสวงหาแนวทางฟื้นฟูความสัมพันธ์ของสองประเทศให้ดีย่ิงขึ้นด้วย

           บทเรียนในชั้นเรียนนดยบายการต่างประเทศของอินเดียมักเน้นย้ำเสมอถึงหลักการสำคัญของแนวนโยบายต่่างประเทศของอินเดียที่มุ่เน้นหลักการแห่งสันติภาพ เสถียรภาพ และผลประโยชน์ร่วมกัน นั่นจึงเป็นเหตุสำคัญที่อินเดียพยายามสานสัมพันธ์กับทุกประเทศ และพยายามถ่วงดุลอำนาจกับบรรดามหาอำนาจต่างๆ ทั่วโลก เพื่อแสวงหาลุ่ทางในการส่งเสริมสถานะตนในกิจการระหว่างประเทศ รวมถึงการขยายอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจของอินเดียในเวทีโลกด้วย หลายปีมานี้อินเดียยังคงขยายศักยภาพทางการทหารของตนเอง โดยเฉพาะการลดการพึ่งพายุทโธปกรณ์จากภายจอกและหันมาพัฒนาเทคโนโลยีทางการทหารด้วยตนเอง แต่จุดสำคัญที่สุดของนโยบายต่างประเทศอินเดียคงหนีไม่พ้นความเป็นอิสระในการกำหนดยุทธศาสตร์และปหป้องผลประโยชน์แห่งชาติ

          จากภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เปลี่ยนไปและการพยายามกำหนด "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ของจีนสงผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนกรอบนโยบายต่างประเทศของอินเดีย นโยบายต่างประเทศของอินเดียเป็นการยืนอยุ่บนรอยเลื่อนทางการเมืองโลก ดังที่รัฐมนตรีต่างประเทศคนปัจจุบันของอินเดีย มักกล่าวในหลายวาระว่า "นโยบายต่างประเทศของอินเดียคือการแสวงหาผลประะโยชน์แห่งชาติที่มากขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากความขัดแย้งระดับโลก" ซึ่งเข้าใจกันว่า"การเดิมเกมส์สองหน้า"

        อินเดียตระหนักดีว่า ณ เวลานี้ตนเองกำลังยืนอยงุ่บนรอยเลื่อนของภูมิรัฐศาสตร์โลก ที่ทุกย่างก้าวล้วนมีอ้นตราย มีทั้งผลเชิงบวกและลบ การพยายามรักษาสมดุลบนพื้นฐานของการมีอิสระทางด้านการต่อต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์สุงสุดแห่งชาติจึงถือเป็นเส้นทางเดียวที่อินเดียจะสามารถชกฉวยโอาสห่งความโกลาหลของระเบียบโลกเพื่อยกระดับสถานะของตันเองในเวทีโลก..ที่มา : https://www.the101.world/india-foreign-policy-status-seeking/



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...