วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Elephant and donkey

           ระบบพรรคการเมืองสหรัฐฯ เป็นระบบสองพรรคืหลัก คือ พรรครีพับลิกัน Republican Party และ


พรรคเดโมแครต Democratic Party 

         ปัจจบัน พรรครีพพับลิกันมีแนวนโยบายแบบ "อนุรักนิยม" หนุนนดยบายสร้างเสริมเศราฐกิจมุ่งเก็บภาษีต่ำ การทหารที่เข้มแข็ง และสนับสนุนสิทธิการครอบครองผืน ค่านิยมสังคมแบบดั้งเดิม และต่อต้านการทำแท้ง พรรครีพับลิกัน ่อตั้งเมือปี 1854 ด้วยจุดประสงค์ตอต้านการชยายระบบทาศ โดยอับราฮัม ลินคอล์นตัวแทนที่สองของพรรคในการชิงประธานาธิบดีได้รับชัียชนะในปี 1860 ส่งงลใฟ้สฟรัฐญยังคงสภานภาพเป็น "สหภาพ" และยกเลิกทาสได้สำเร็จ หลังจากที่พรรคทางเหนือชนะในสงครามกลางเมือง พรรครีพับลิกันก็ครองอำนาจมาอยางยาวนานถึง 70 ปี ซึ่งในระหว่างนั้น รีพับลิกัน ได้สนับสนุนให้รัฐบาลกลางมีอำนาจมากขึ้น แต่อำนาจไม่อาจอยู่ได้ตลอดไป ภาวะเศราฐกิจที่ตกต่ำอย่างหนัก ไทใไ้รีพับลิกันสูญเสียฐานอำนาจเพราะุถูกมองว่าดำเนินนดยบายเอื้อกลุ่มทุนมากเกินไป จนนำมาสู่วิกฤตเศรากิจ เป็นเหตุให้ 50 ปีต่อมา เดโมแครตจึงครองอนาจปกครองประเทศเป็นส่วนใหญ่

           ช้างอนุรักษณ์นิยมม เดิมที่แนวนโยบายพรรครีพับลิกันมีความเป็นเสรีนิยม เสริมความก้าวหน้าทางเศราฐกิจและเทคโนโลยีการขยรายอาณานิคม และการส่งเสริมสิทธิของชาวแอฟริกันอเมริกัน แต่หลังสฦูญเสียฐานอำนาจให้้เดโมแครต รีพับลิกันหันสุ่แนวทาง "อนุรักษ์นิยม" ตอบโต้การขยายอำนาจนของรัฐบาลกลางภายใต้การนำของเดโมเเครต

           การเปลี่ยนนโยบายคนละขั้ยของทั้งสองพรรคนี้เองทไใ้ฐานเสียงก็ปลี่ยนไปด้วย ดดยกลุ่มผิวสีหันไปหนุนเดโมแครต และคนอเมริกันผิวขาวหันมาหนุนพรรครีพับลิกัน กระทั้งปี 1980 โรนัลด์เรแกร ชนะการเลื่อกตั้งด้วยเสียงข้างมาก นับแต่นั้น พรรครีพับลิกันและเดโมแครต สลับกันครองอำนาจเรื่อยมา กระทั้ง โดนัลด์ ทรัมป์ ดำรงตำแหน่ง สนับสนุนการลดทอนอำนาจรัฐบาลกลาง ซึ่งเป็นแนวทางนโยบายดั้งเดิมของรีพับลิกัน ส่งผลให้จุดยืนของพรรคเอียงขวาไปทางอนุรักษ์นิยมมากขึ้น

           สัญลักษณ์ของพรรครีพับลิกันคือ "ช้าง" ที่มานัต้องย้อนกลับไปสมัยประธานนาะิบดีอับราฮัมลินคอร์นเขาได้เห็นภาพช้างบนป้ายโฆษณาร้านรองเท้า จากหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง ที่หนุนพรรครีพับลิกัน อีกทั้งมีภาพช้างใช้งวงชูธง สือถึงชัยชนะของกองทัพรัฐบาล ลินคอล์น ที่สามารถเอาชนะฝ่ายใต้ในสงครามกลางเมืองได้ จึงมีการนำภาพ "ช้าง" มาเป็นสัญลักษณ์พรรคในเวลต่อมา ซึ่งสื่อถึงความยิ่งใหญ่กว่าสัตว์ใดๆ 

           


ในปี 1874 โธมัน แนสต์ นักเขียนการ์ตุนล้อเลียนการเมืองจากนิตยสารการเมืองรายสัปดาห์ชือ Haper ชือ The Third Term  Panic เป็นรูปช้างที่ำดลังออกอาละวาดบุกเก็บเกี่ยวคะแนนเสียงและให้สัตว์อืนๆ กลัว พรรครีพับลิกันจึงเลือกเอาการ์ตูนของเขาทาเป็นสัญลักษณ์ของพรรคอยางเป็นทางการ

            เดโมแครต พรรคฝ่ายตรงข้าม ทั้งทางการเมืองและอุดมคติ คือ พรรคเดโมแครต ปัจจุบัน สมาชิกพรรคส่วนใหญ่มีแนวคิดทางการเมืองเป็นกลาง หรือ moderate  กับกลุ่มหัวก้าวหน้า หรือ proressive ปรัชญาการเมืองของพรรคคือ "เสรีนิยมสมัยใหม่" ที่สนับสนุนความเท่าเทียมทางสังคมและเศษบกิไปพร้อมๆ กัน รับบาลต้องช่วยเหลือเรื่องความเป็นอยู่ของประชาชน การยกระดับความเท่าเทียมทางโอกาสไม่ว่าบุคคลนั้นจะเกิดในครอบครัวอย่างไร

           หากย้อนไปในอดต เดโมแครตไม่ได้เป็นสายเสรีนิยมตั้งแต่เร่ิม บิดาผุ้่ก่อตั้งอเมริกา โธมัส เจฟเฟอร์สัน และ เจมส์ แมดิสัน ได้ก่อตั้งพรรค "เดโมแครต-รีพับลิกัน" ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งต่อมาคือพรรคเดโมแครต ทั้งคุ้ต้องการที่จะลดบทบาทรัฐบาลกลาง โดยให้ประชาชนมีสวนร่วมในระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น ดังเช่นพรรคการเมืองอื่นๆ ในโลก เมื่อความเห็นในพรรคไม่ลงรอยกัน ภายในจึงแบ่งเป็นฝักฝ่ายกระทังปี 1831 ประะานาะิบดีแดนดรูว์ แจ็คสัน ได้สานต่อแนวคิดที่ต้องการให้รับบาลกลางมีบทบาทน้อลงไปอีก และเพิ่มจำนวนผุ้ใีสิทธิเลือก้งให้ชายผิวขาวทั้งหมด จากเดิมจำกัดเฉพาะเจ้าของที่ดินเท่านั้น แต่คนแอฟริกันอเมริกันยังไม่มีสิทธิเลือกตั้งอีกนานถึง 41 ขณะที่ผุ้หยิงอเมริกันต้องรอนานกวาถึง 91 ปี จึงมีสิทธิเลือกตั้ง

           แต่พรรคเดโมแครตเกิดการแตกแยกภายในอย่างหนักในช่วงสงครามกลางเมืองเมือสมาชิกฝั่งเหนือและฝีั่งไต้เห็นไม่ตรงกัน เรื่องระบบทาสและสหพันธรัฐ จนเมือรัฐทางใต้พายแพ้สงครามกลางเมืองในปี 2408 สภานะของพรรคเดโมแครตในระดับประเทศก็ตกต่ำลงไปหลายชั่วอายุคน ก่อนพ่ายแพ้การเือกตั้งให้พรรครีพับลิกัน ภายใต้การนำของ อับลาฮัม ลินคอร์น

          ลาแห่งเสรีนิยม ปี 1932 จากการนำของประธานาธิบดี แฟรงคลอน รุสเวลท์ พรรคเดโมแครตกลับมายุึดอำนาจได้อักครั้ง ซึ่ตรงกับสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และมีแนวทางสนับสนุนแนวคิดแบบเสรีนิยมก้าวหน้าหนุนความยุติธรรมให้เกิดในสังคมจากนั้นเป็นต้นมา 

         หลายปีที่ผ่านมา เดโมแครตและรัพับลิกันผลัดกันขึ้นนำประเทศอยู่ตลอด จนกระทั้งถึงยุค "บารัค โอบามาไ เป็นผุ้นำผิวสีคนแรกจากพรรคเดโมแครต และเพิ่มบทบาทของรับบาลในด้านสาะารณสุข ภายใต้นโยบาย "โอบามาแคร์" ที่ต้องการให้ "คนอเมริกันทุกคนเข้าถึงประกันสุขภาพได้อย่างเท่าเทียม"

          "ลา" เป็นสัญลักษณ์มาตังแต่สมัยที่อแนดรูว์ แจ็คสัน ตัวแทนพรรคเดโมแครตลงชิงประะานาธิบดีในช่วงปี 1828 และคู่แข่งได้เรียกเขาว่าแอนดรูว์คนโง่ พร้อมนำรูปลามาเป็นตัวล้อเลียนในเรื่องความโง่ แต่อแนดรุว์ไม่สนใจ และยังนำรูปลามาใช้ในป้ายหาเสียง จนกระทั่งชนะการเลือกตั้งในปีเดียวกัน จึงได้นำ "ลา" มาเป็นสัญลักษณ์พรรคตั้งแต่นั้นมา

          ในปี 1870 นิตยสารการเมืองรายสัปดาห์ชื่อ Harper ตีพิมพ์ภาพวาดผลงานล้อากรเมือง ชือเจ้าลาโง่เตะสิงดตที่ตายแล้ว Alive Jackass kicking a dead lion ของ โธมัส แนสต์ นักเขียนการ์ตูนล้อการเมือง ซึค่งเขาวาดเพื่อเสียดสีพรรคเดโมแครต ดดยเป็นภาพลากำลังเตะสิงโตที่ตายแล้วเพื่อแสดงให้เห็นถึงความดื้อและโง่เขลา แต่พรรคเดอมแครต มองว่า ลาเป็นสัตว์ที่แลาด และกล้าหายไม่ยอมแพ้ จึงถุกนำมาใช้เป็นสัญบักษณ์แบบไม่เป็นทางการจากนั้นเป็นต้นมา 

                ที่มา : https://siamrath.co.th/n/416243

                         https://www.tnnthailand.com/news/uselection2020/59275/

                  

วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical and Religion

             ภูมิรัฐศาสตร์กับศาสนานั้นดุเหมือนจะเป็นเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกัน แต่อยางไรก็ตาม ตำราภูมิรัฐศาสตร์ต่างๆ ในอดีต ซึ่งเป็นโรดแมป หรือพิมพ์เขียวให้แก่รัฐบาลต่างๆ มามากมายตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อาทิ ทฤษฎีที่เชื่อว่ารัฐเป็นสิ่งมีชีวิตต้องการพื้นดินเพื่อความเป็นรัฐ โดยพลเอกศาสตราจารย์คาล เฮาโซเฟอร์ และมีการนำไปกล่าวอ้างกระทั่งกลายเป็นสงครามใหญ่ หรือทฤษฎีหัวใจโลก  โดย เซอร์เฮาฟอร์ด แมคคินเดอร์ 1861-1947 ทฤษฎีฮาร์ตแลนด์ เป็นชาวอังกฤษ ซึ่งระบุว่าผุ้ที่ได้ครอบครองดินแดนที่เป็นหัวใจโลกจะเป็นผู้ที่สามารถจะครอบครอลโลก ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต โดยภายหลัง ผู้นำรัฐเซียได้ออกมาให้สัมภาษณ์ว่า เป็นหายนะทางภูมิรัฐศาสตร์ กล่าวคือ พื้นที่ของหัวใจโลกรัสเซียครอบครองเป็นส่วนใหญ่  ทฤษฎี Sea Power หรือ สมุททานุภาพ โดย  อัลเฟรด เทเยอร์ มาฮาน ชาวอเมริกา มาฮาน มีความเห็นว่า ประเทศที่จะเป็นมหาอำนาจได้นั้นจะต้องเป็นประเทศที่มีกำลังอำนาจควบคุมทางทะเลและมหาสมุทร และเห็นว่าไม่มีประเทศใดที่จะสามาราถเป็นมหาอำนาจทางบกและมหาอำนาจทางทะเลได้ในเวลาเดียวกัน มาฮานศึกษาจากประเทศอังกฤษและนำมาปรับใช้กับกองทัพเรือสหรัฐฯ ซึ่งสหรัฐเป็นเจ้าสมุทรในปัจจุบัน ทฤษฎีริมแลนด์ ที่กล่าวมาเป็นทฤษฎีที่นำมากำหนดนโยบายต่างประเทศ และนโยบายทางการทหาร แต่รัฐภูมิศาสตร์ นั้นมีความเกี่ยวข้องทั้งกับเชื้อชาติและศาสนา จึงขอยกตัวอย่างการรัฐภูมิศาสตร์ที่ทำให้เิดความขัดแย้งทางศาสนาและ/ศาสนาที่ทำให้เกิดความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ อาทิ 



          กรณีปาเลสไตน์ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลังจากการแบ่งปาเลสไตน์ของ สหประชาชาติ UN ในปี 1947 ทำให้เกิดความไม่พอใจโดยเฉพะในหมู่ชาวอาหรับ ซึ่งส่งผลให้เกิดสงครามในปาเลสไตน์กระทั่งปัจจุบัน ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ที่มีผลต่อศาสนา โดยชาวอาหรัฐซึ่งส่วนใหญ่ที่เป็นคู่กรณีกับอิสราเอลเป็น มุสลิม ทั้ง ชีอะห์ และ ซุนนี่ ในกรณี นิกายซุนนี่ อัลเคดาซึ่งเป็นอิสรามนิกายซุนนี้ประกาเมือ 23 กุมภาพันธ์  1998โดย บินลาดิน และผุ้นำกลุ่มญิฮาดอิยิปต์และผุ้นำศาสนาอิสลามอีกสามคน ร่วมลงนาม ใน "ฟัตวาห์" หรือคำตัดสินภายใต้ชื่อ แนวร่วมอิสลามโลกเพื่อญิฮาดต่อต้านยิวและครูเสด โดยประกาศว่าเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิมทุกประเทศในการสังหารชาวสหรัฐและพันธมิตรทั้งทหารและพลเรือนเพื่อปลดปล่อย "มัสยิตอัลอักซา" ในเยรูซาเลม และมัสยิตศักดิ์สิทธิในเมกกะ หลังจากนั้นได้เกิดการวางระเบิดสถานทูตสหรัฐในแอฟริกาตะวันออกภายในปีเดียวกัน มีผุ้เสียชีวิต กว่า 300 คน ตุลาปี 2000 เกิดระเบิดพลีชีพในกองทัพเรือสหรัฐในเยเมน แม้มีความขัดแย้งกันเอง แต่ในเรืองของภูมิรัฐศาสาสตร์นั้น ชาวอาหรับเชื่อวาดินแดนปาเลสไตน์มีควาสำคัญทางศาสนาประกอบกับชาวตะวันตกเชื่อว่าเป็นบริเวณที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ ภูมิรัฐศาสตร์มีความเห็นว่า "ทฤษฎีริมแลนด์" นิโคลัส จอห์น สปีกแมน 1893-1943 ทฤษฎีริมแลนด์ เป็นชาวอเมริกัน  แนวคิดของสปีกแมนเป็นแนวคิดที่สือบเนื่องมาจากความคิดเรื่องดินแดนหัวใจของแมคคินเดอร์ และโดยที่สปีกแมนมองว่า ดินแดนหัวใจนั้นไม่ใช่จุดยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญ แต่ดินแดนที่มีความสำคัญนั้นคือ บริเวณที่อยุ่ถัดจากดินแดนหัวใจออกมา ซึ่งได้แก่ บริเวณที่อยุ่รอบของดินแดนยูเรเซีย หรือดินแดนที่แมคคินเดอร์เรียกว่า ดินแดนครึ่งวงกลมริมในนั่นเอง (แต่ทั้งนี้ยกเว้นตะวันออกกลาง ตะวันออกใกล้ ตะวันออกไกล และเอเซียอาคแนย์ เพราะบริเวณเหล่านี้เป็นบริวเณกันชน Buffer Zone ระหว่างทำนาจทางบกและอำนาจทางทะเล โดยสปีกแมนเรียกบริเวณนี้ว่า "ริมแลนด์" Rimland] 

          ในสงครามล่าสุดส่งผลกระทบอย่างมากต่อภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจ ฮูตีเป็น 1 ใน 3 กลุ่มติดอาวุธที่ได้รับการสนับสนุนจากอิหร่าน ร่วมกับฮามาสและฮิชบอลเลาะห์ ทำให้พวกเขาถือว่ามีความสัมพันธ์ค่อนข้างใกล้่ชิดกัน และอาจเป็นได้ว่าได้รับการชีแนะจาอิหร่านที่อยู่เบื้องหลังให้เข้ามามีา่วนร่วในสงคราม


อิสราเอล-ฮามาสด้วย นับตั้งแต่เริ่มสงคราม 7 ตุลาคม 2023 กลุ่มฮุตีก็ออกมาประกาศโจมตีเรือทุกลำในทะเลแดงทีอาจมุ่งหน้าไปหรือเดินทางมาจากอิสราเอลบ เพื่อแสดงออกถึงการต่อต้านอิสราเอลที่ทำสงครามในฉนวนกาซาและสังหารพลเรือนไปเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ การโจมตีของกลุ่มฮูตีอาจมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างครวามเสียหายทางเศรษฐกิจแก่พันธมิตรของอิสราเอลด้วยความหวังว่าจะกพดันให้อิสราเอลยุติการทิ้งระเบิดในกาซาได้ ( 2.2.2024) ธนาคารกลางและนักเศรษฐศาตร์ต่าออกมาเน้นบ้ำผลกระทบจากเรือ่งนี้ ผู้วาการะนาคารกลางของประเทศออสเตรีย กล่าวในงาน เวิร์ด อีโคดนมิค ฟอร์รัม ประเทศสวิสเซอรืแลนด์ว่า "ภัยคุกคามด้านภูมิศาสตร์ทางการเมือง ได้ขยายตัวขึ้นไ การโจมตีดังกล่าวอาจะกลายเป็น "จุดเริ่มต้นที่ส่งผลกะทบในวงกว้างข้น และจะส่งผลกระทบต่อระบบการเดินเรือในคลองสุเอชไ ซึ่งในทีุ่ดจะนำไปสู่การปรับราคาสินค้า..หัวหน้านักกเศรษฐศาสตร์ขององค์การค้าโลก WTO เปิดเผยต่อหนังสือพิมพ์ฯ ว่า การค้าโลกถึง 12% ใช่ข่องทางผ่านทะเลแดงและคลองสุเอช โดย 1 ใน 3 ของเรือคอนเทนเอนร์ทั้งหมดที่เดินทางจากเอเชียไปยังยุดรปใช้เส้นทางนี้ และ "ในตอนนี้ปัญหาจะใหญ่ขนาดไหนก็ขึ้นอยู่กับว่าวิกฤติดังกล่าวจะดำเนินต่อเนือไปอีกนานแค่ไหน" ..

        และสิ่งที่สำคัญเหนือสิ่งอื่นใด คือการขุดค้นพบนำ้มันในบริเวณตะวันออกกลางจำนวนมากทำให้ชาติมหาอำนาจตะวันตกต้องการที่จะเข้ามามีอิทธิพลในภูมิภาคดังกล่าว

         กล่าวถึงในเรื่องศาสนาแม้ ศาสนาที่อิสราเอลนับถือคือฮิบรู จะไม่มีความขัดแย้งทางตรงต่อศาสนาอิสราม แต่ชาวตะวันตกส่วนใหญ่นับถือศาสคริสต์ซึงมีความบาดหมางกับศาสนาอิสราม แม้ชาวตะวันตกส่วนใหญ่จะต่อสู้หรือให้การสนับสนุนเพราะผลประโยชน์ แต่การให้การช่วยเหลือผ่านศาสนาอีกศาสนาหนึ่งเพื่อต่อสู้กับศัตรูจึงเป็นเรื่องที่กระทำได้ เข้ากับคำกล่าวที่ว่า มิตรของมิตร คือมิตร มิตรของศัตรู คือ ศัตรู ศัตรูของศัตรู คือ มิตร และศัตรูของมิตร คือ ศัตรู ในกรณี ปาเลสไตน์จึงกล่าวได้ว่า ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์นำมาซึ่งความขัดแย้งทางศาสนาด้วย

       กรณี แคชเมียร์ หล้งจากอินเดียและปากีสภานได้รับเอกราช ผุ้นำของทั่งสองประเทสจำต้องเจรจา ต่อรอง รวมไปถึงบีบบังคับให้เจ้าผุ้ปกครองนครรับน้อยใหญ่ต่างๆ ยินยอมที่จะผนวกดินแดนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของตน "แคชเมียร์"คือหนึ่งในดินแดนที่ทั้งอินเดียและปากีสถานต่าองต้องการครอบครอง แคชเมาียร์ตั้งอยุ่เหนือสุดของอนุทวีป บนจุดยุทะศาสตร์และภุมิรัฐศาสตร์ที่สำคัญระหวางอินเดีย ปากีสถาน และจีน ในระยะแรด แคชเมียร์ต้องการเป็นรัฐเอกราช และไม่ประสงค์จะอยุ่ภายใต้อาณัติของรัฐอื่นๆ ความน่่าสนใจคื ดินแดนนี้มีประชาการส่วนใหญ่นับถือศสราอิสลาม ในขณะที่มหาราชาผุ้มีอำนาจในการปกครองนับถือศาสนาฮินดู ในช่วงเวลาแห่งความสับสนดังกล่ว กองกำลังปากีสถานได้รุกล้ำเข้ามาในดินแดนแคชเมียร์ สร้างความวิตกกังวลใจแก่มหาราชา จึงทำให้ผุ้นำของแคชเมียร์จำต้องตัดสินใจขอรับความช่วยเลหือและนำแคชเมียร์ผนวกเข้ามาเป็นดินแดนในสหภาพดินเดีย ด้วยเหตุนี้ แคชเมียร์จึงกลายเป็น "รัฐจัมมูและแคชเามมียร์ ภายใต้การปกครองของสาธารรรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงอยุ่ที่ศรีนาการ์ ประกอบด้วยดินแดนหลังสามแคว้นคือ จัมมู แคชเมียร์ และลาดัคห์

           อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นหลักประกันและมอบสถานะพิเศาให้กับแคเมียร์ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็น
มุสลิม รัฐะรรมนูญแห่งอินเดียได้กำหนดให้มีมาตรา เพื่อให้แคชเมียร์สามารถออกกฎหมายในทุกระดับ มีรัฐธรรมนูญ ธงชาติ รวมถึงสิทธิเฉพาะ ในการคุ้มครองอสังหาริมทรัพย์และที่ดิน ซึ่งทำให้แคึชเมียร์มีอำนาจอธิปไตยและมีอิสราะในการปกครองตนเอง ยกเว้นเพียงในประเด็นความมั่นคง การสื่อสาร และการต่างประเทศ ที่อยุ่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลกลาง

           อย่างไรก็ตาม การตกลงใจที่จะเป้นส่วนหนึ่งของอินเดีย สร้างความไม่พอใจให้กับชาวแคลเมียร์ส่วนใหญ่ที่เลือปากีสถาน ความขัดแย้งทำหใ้เกิดความรุนแรงในพื้นที่อย่างต่อเนือง ตั้งแต่ปี 1947 เกิดการต่อสู้ระหว่างกองกำลังของอินเดียและปากีสถานเนื่องมาจาการรุกล้ำเขตแดน ทำให้องค์การสหประชาชาติ UN ต้องเข้ามามีบทบาทในการแบ่งพื้นทีทและเจรจาการหยุดยิงในปี 1949

         เหตุการปะทุขึ้นอีกครั้งในปี 1965 เกิดปฏิบยัติการยิบรอลตาร์เพื่อต่อต้านอินเดีย ในครั้งนี้นมีการ
แทรกแซงทางการทูตโดยสหรัฐฯ และสหภาพโซเวียต และที่สำคัญอีกประการคือ ในปี 1917 อินเดียได้ให้การสนับสนุนการแยกปากีสถานตะวันออก เพื่อตั้งเป็นประเทศเอกราชในชื่อ "บังคลาเทศ" การสนับสนุนดังกล่วสร้างความไม่พอใจ และนับเป็นการสูญเสียดินแดน เป็นอยางมากของปากีสถานในปี 1999 เกิดการสุ้รบกันทีเมืองคาร์กิล ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่งสนมขีปนาวุธและการทดลองหัวระเบิดนิวเคลียร์

           ต้นปี 2019 ความขัดแย้งในแคชเมียร์เร่ิมปรากฎอย่างเด่นชัดอีกครั้ง เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐของอินเดียเสียชีวิตจากเหตุการณืคาร์บอมบ์ รัฐบาลอินเดียจึงส่งกองกำลังเข้าไปในดินแดนปากีสถาน เพื่อโจมตีกลุ่มก่อการร้ายด้งกล่าว นำมาสู่กายิงเครื่องบินตอบโตโดยกองทัพปากีสถาน เหตุการณืดังกล่าวทวีคามรุนแรงนำมาสุ่การกดดันทางการค้า การตัดสัมพันธ์ทางการค้า และการปิดน่านฟ้า แม้จะมีความพยายามในการสร้างสันติภาพในแคชเมียร์ แต่ความสงบก็ไม่เกิดขึ้นอยางถาวร และส่งผลถึงปัจจุบัน

          คริกเกต สงครามตัวแทนบนสนามหญ้า อังกฤษเป็นผุ้นำกีฆาคริกเกตเข้ามาเผยแพร่ในชมพูทวีปเมื่อ
ครั้งปกครองภูมิภาคนี้ ดดยใช้ใช้สิ่งต่างๆ เืพ่อควบคุมชนชาวพื้นเมือง รวมทั้งคริกเกตด้วย ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก หลังได้รับเอกราชคริกเกตยังคงอยุ่ในสายเลือดขงอทั้งชาวปากีสภานและอินเดีย  เมื่อสงครามสงบลงสิ่งที่พวกเขาใช้ในการผสามสัมพันธ์คือคริกเกต โดยจัดการแข่งขันคริกเกตขคึ้นในปี 1952 แต่ผลออกมาไม่ตรงกับจุดประสงค์ คำว่า "อินเดียแพ้ไม่ได้" หรือ "ปากีสถานจะไม่ยอมแพ้อินเดีย" กลายเป็นสิ่งที่ทั้งสองต่างไม่ลดราวาศอกให้กัน นักกีฬาทั้งสองฝ่ายต่างแบกรับความกดดัน

        ข่าวการถุกจับของนักศึกษาแคชเมียร์ 3 คน ซึ่งฉลองชัยชนะของปากีสภานเหนืออินเดียในการเล่นคริกเกตชิงแชมป์โลก ปี 2021 ด้วยข้อหารุนแรงอย่าง ไส่งเสริมความเป็นปฏิปักษ์และก่อการร้ายในโลกไซเบอร์" โดยที่ชาวอินเดียมองว่ นักศึกษาสามคนนี้พยายามสร้างความตึงเครียด ซึ่งไม่น่าแปลกใจเพราะการแข่งขันคริกเกตของทั้งสองชาติเป็นมากกว่าการแข่งขันกีฬา ...

          ในกรณีแคชเมียร์ จากจุดเริ่มต้น จะเห็นได้ว่าความขัดแย้งทางศาสนาและความคิด นำมาซึ่ง ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ กล่าวคือ คานะีและเนห์รูเคลื่อหนไหวไปในทิศทางเดียวกันและมีชื่อเสียรวมกันในการเรียกร้องเอกราชให้อินเดีย ก่อนที่เนห์รู จะกลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย แต่ทางด้านมูอาหมัด อาลี จินนาห์มีแนวคิดที่ต่างออกไป อันเนื่องมาจากเขาเป็นชาวมุสลิม ดังนั้นเขาจึงเรียกร้องเอกราชและสิทธิให้กับชาวอินเดียที่นับถือศาสนาอิสลาม จนทำให้ท้ายที่สุดจักรวรระดิอังกฤษ ก็ยอมแบ่งบริติชราชออกตามการนับถือศาสนา ซึ่งทำให้พื้นที่ภายใต้การดุแลตรงนี้ถุกแบ่งออกเป็นสองประเทศในท้ายที่สุด นั่นคือ อินเดียและปากีสถาน โดยอินเดียคือพื้นที่ของชาวฮินดู และศาสนาอื่นๆ ขณะที่ปากีสถานคือพื้นที่ของชาวมุสลิม...


          ที่มา : https://www.the101.world/the-rivalry-ep-9/

                     https://www.ditp.go.th/post/161685

                     https://waymagazine.org/the-conflict-of-southern-asia/

                     https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2018579290326911250

                     https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/7576043356289292305?hl=th

      

วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Dissolution of the Soviet Union


           สหภาพโซเว๊ยต "สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต" เป็นรัฐสังคมนิยมที่ตั้งอยุ่ระหว่างทวีป
ยุโรป และเอเชีย สหภาพโซเวัียตดำเนินการปกครองและเศรษฐกิจแบบรวมศุนย์กลางอยางยิงมาจนปีท้ายๆ 

         สหภาพโซเวียตยังจัดเป็น รัฐพรรคการเมืองพรรคเดียว เพระมีพรรคคิมมิวนิสต์ปกครองเพียงพรรคเดียว สหภาพโซเวียตประกอบด้วยสาธารณรับย่อย 15 แห่ง มีกรุงมอสโกล เป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวีีต และเป็นเมืองหลวงบของสหพันธ์สาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเวีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐย่อยที่มีขนาดใหญ่และมีปประชากรมากที่สุดของสหภาพโซเวียต...

          สหภาพโซเวียต มีรากฐานจากการปฏิวัติเดือนตุลาคม ปี 1917 เมื่อพรรคบอลเซวิต ภายใต้การนำของ วลาดีมีร์ เลนิน โค่นล้มรัฐบาลชั่วคราวรัสเซยที่ซึ่งได้เข้ามาแทนที่จักรพรรดินิโคไลที่ 2 ในช่วงสงครามโกลครั้งที่ 1ในปี 1922 สหภาพโซเวียตก่อตั้งขึ้นด้วยการวมกันของ "สาธารณรัฐรัสเซีย", ทรานส์คอเคซัส, ยูเครนและเปียโลรัสเซีย หลังจากการอสัญกรรมของเลนินในปี 1942 และการต่องสู้แย่งชิงอำนาจในระยะเวลาสั้นๆ โจเซฟ สตาลิน ขึ้นครองอำนาจวในกลางคริสต์ทศวรรษที 1920 ประเทศเข้าสู่ สมัยการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมและการทไใ้เป็นระบบรวมอำนาจการผลิต ทว่า สตาลินเร่ิมการกวาดล้างใหญ่ ๘ค่งต่อมาทางการส่งคนจำนวนมาก(ผุ้นำทหาร สมาชิกพรรคอมมิวนิสต์ พละมืองสามัญ) ไปค่าย กูลัก หรือตัดสินประหารชีวิต

       สงครามโลกครั้งที่ 2 จากยุทการ "สตาลินกราด" โซเวียตสามารถพลิกสถานการณ์กลับมาชนะนาซีเยอรมัน บุกยึดกรุงเบอร์ลินในปี 1945 เยอรมันเสียกำลังพลไปอันมาก อินแดนยึดครองของโซเวียตที่พิชิตจากำลังอักษะในยุโรปกลางและตะวันออกกลายเป็นรัฐบริวารของกลุ่มตะวันออก ความแตกต่างทางอุดมการณ์และการเมืองกับกลุ่มตะวัตกซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป้นผุ้นำนำไปสู่การตั้งสนธิสัญญาทางเศราฐฏิจและทางทหารจนลงเอยด้วยสงครามเย็น

       สตาลินถึงแก่อัญกรรมในปี 1953 เกิดสมัยการปรับให้เสรีทางสังคมและเศรษฐกิจสายกลางภายใต้รัฐบาลนิกิตา ครุชซอฟ จากนั้น สหภาพโซเวียตประสบความสำเร็จในทางเทีโนดลยีที่สำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือการปล่อยดาวเทียมดวงแรกและเที่ยวบินอวกาศของมนุษย์เที่ยวแรกของโลก นำไปสู่การแข่ขันอวกาศ 

       วิกฤตคิวบาปี 1962 เป็นสมัยความตึงเครยดถึงขีดสุดระหวางสองอภิมหาอำนาจ ซึ่งใกล้เคียงกับการต่อสู้กันด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ทศวรรษ 1970 เกิดการผ่อนคลาความสัมพันะ์แต่กลับมาตึงเครียดอีกครั้งเมือสหภาพโซเวียตเร่ิมให้ความช่วยเหลือทางทหารในอัฟกานิสถานด้วววยคำขอของรัฐบาลสังคมนิยมใหม่ในปี 1979 การทัพครั้งนั้นไม่ก่อประโยชน์ใดๆ แก่โซเวียต

        ปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 ผู้นำโซเวียตคนสุดท้าย มิฮาอิล กอร์บาชอฟ มุ่งปฏิรูปสหภาพและขับเคลื่อนประเทศในทิศทางสังคมประชาธิปไตยแบบนอร์ติก เริ่มใช้นโยบายกลัสนอสต์และเปเรสตรอยคา ในความพยายามยุติสมัยเศรษฐกิจชะงักและปรับการปกครองให้เป็นประชาธิปไตย ทว่าผลที่ได้นำมาซึ่งขบวนการชาตินิยมและพยายามแยกตัวออกจากสหภาพโซเวียตอย่างเข้มข้น ทางการกลางริเริ่มการลงประชามติซึ่งถุกสาธาณรัฐบอลติก อาร์มีเนีย จอร์เจียและมอลโดวาควำ่บาตร ซึ่งพลเมืองที่ลงมติส่วนใหญ่ออกเสียงเห็นขอบการรักษาสหภาพและทำเป็นสหภาพใหม่ สิหาคม 1991  สายแข็ง "ฮาร์ดไลน์" พยายามรัฐประหารต่อกอร์บาชอฟ โดยเจตนาย้อนนโยบายของเขาแต่ล้มเหลว ประธานาธิบดี บอริส เยลต์ซิน มีบทบาทเด่นในการทำให้ผุ้ก่อรัฐประหารยอมจำนน ส่งผลให้มีการห้ามพรรคคอมมิวนิสต์ 

           ธันวาคม 1991 กอร์บาชอฟลาออกลาออกและสาธารณรัฐที่เหลือ 12 แห่ง กำเนิดขึ้นจากการยุบสหภาพโซเ่ียต

          การล่มสลายของสหภาพโซเวีต เป็นกระบวนการของการสลายตัวจากภายในประเทศ ซึงเริ่มต้นด้วยกฃความไม่สงบที่เพ่มิมากข้นในสาธารณับต่างๆ ซึ่งพัฒนาไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองและนิติบัญญัติ อย่างต่อเหนืองระหวางสาธารณรัฐต่างๆ กับรัฐบาลกลาง และสิ้นสุดลงเมือผุ้นำของสามสาธารณรับหลัก (สหพันธ์สาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัเซีย, สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและสาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียป ได้ประกาศว่าสหภาพสิ้นสุดการดำรงอยุ่ ร่วมกับอีกสิบเอ็ดสาะารรรับในเวลต่อมา ส่งผลให้ประะานาธิบดี มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ต้องลาออกและรัฐสภาโซเวียตได้ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ

          สาธารณรัฐโซเวียตรัสเซีย และมีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการวา รัสเซียโซเวียต สหพันธรัฐรัสเซีย หรือ รัสเวีย เป็นสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุด มีประชากรมากที่สุด และมีการพัฒนาทางกเศราฐกิจสูงสุดในอดีตสหภาพโซเวียต หลายคนเข้าใจว่าสหพันธ์?สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียกับสหภาพโซเวียตเป็นชื่อประเทศเดียวกัน แต่อันที่จริงแล้วรัสเซียเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน หรือ ยูเครนโซเวียต เป็น หนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 และล่มสลายในปี 1991 ในเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ยูเครน สาธารณรัฐถูกปกครองด้วยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตผ่านพรรคลูกนั้นคือ พรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน ในฐานะสาธารณรัฐสหาพของสหภาพโซเวียต ซึ่งมีสถานะเป็นรัฐพรรคเดียวที่มีการรวมศูนย์อย่างสูง

         สาธารณรัฐยูเครนก่อตั้งขึ้นดดยบอลเชวิค ภายหลังความพ่ายแพ้ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในช่วงสงครามโซเวียต-ยูเครน ระหว่างสงครามกลางเมืองรัสเวีย ในฐานะที่เป็นองค์การกึค่งรัฐ ของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐยูเครนได้กลายเป็นสมาชิกผุ้ก่อตั้งสหประชาชาติพร้อมกับสาธารณรัฐเบียโลรัสเซีย แม้ว่าพวกเขาจะเป็นตัวแทนของรัฐบาลสหภาพอย่างถูกต้องตามกฎหมายในกิจการต่างประเทศของสหภาพโซเียตหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐยูเครนก็ถูกแปลงเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ยูเครน

          ตลอด 72 ปี พรมแดนของสาธารณรับเปลี่ยนแปลงไปหลายครั้ง โดยส่วนสำคัญคือ ยูเครนตะวันตก ที่ถูกผนวกโดยกองกำลังโซเียตในปี 1939 จากสาธารณรัฐโปแลนด์ และการเพ่ิมคาร์เพเทียรูทีเนีย จากเชโกสโลวาเกี่ยในปี 1945 รัฐบาลได้ย้ายเมืองหลวงไปยังกรุงเคียฟ เมืองหลวงประวัติศาสตร์ของยูเครน เคียฟ ยังคงเป็เมืองหลวงของสาธารณรับยูเครนในช่วงเวลาที่เหลือ และยังคงเป็นเมืองหลวงของยูเครนที่แยกตัวเป็นเอกราชหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย

          ในทางภูมิศาสตร์ฺ สาธารณรัฐยูเครนตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกทางเหนือของทะเลดำ ล้อมรอบด้วยมอลเตเวีย เบียโลรัสเซีย และรัสเซีย พรมแดนระหว่างสาธารณรัฐยูเครนกับเชโกสโลวาเกี่ยก่อให้เกิดจุดชายแดนด้านตะวันตกสุดของสหภาพโซเวียต จาการสำรวจสำมะโนของสหภาพโซเวียตในปี 1989 สาธารณรัฐมีประชากร กว่า 51 ล้านคน ซึ่งซึ่งลดลงอย่างรวดเร็วหลังจาการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

          สาธารณรัฐสังคมนิยมดซเวียตเบีโลรันเซีย เป็นหนึ่งในสาธารณรับ จำนวนทั้งหมด 15 รัฐ ที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต และเป็นหนึ่งในสี่ชาติสมาชิกแรกที่ร่วมกันลงนามสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพโซเวียต อันเป็นผลทำให้สหภาพโวเวีย ถูกก่อตี้งขึ้น

          หลังการประการศเอกราชของสาธารณรัฐประชาชนเบลารุส เมือ มีนาคม 1918 กลุ่มบอลเชวิคจากรัสเซียโซเวียตได้เข้ายึดครองดินแดนเบลารุสและประาศจัดตั้ง สาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยมเบียโลรสเซีย ในวันที่ 1 มกราคม 1919 หลังจากถูกยุบและแยกพืนที่แต่แล้วได้ตั้งขึ้นใหม่อีกครั้ง เมือกรกฎาคม 1920 โดยใช้ชื่อว่า "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย" 

         
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียดลรัสเซีย 
เป็นหนึ่งในสมาชิกผุ้ก่อตั้งสหภาพโซเวียตเมือปี 1922 ร่วมกับอีก 2 สาธารณรัฐฯ และสหพันะ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเวีย เบยโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสาธารณรัฐหลายแห่งในสหภาพโวเวียตที่ถุกเยอมรนีนาซียึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาิตใปี 1945 ร่วมกับชาติอื่นๆ รวมทั้งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยุเครนและสหภาพโซเวียตอีกด้วย จุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียมาถึงในปี 1991เมื่อสาธารณรัฐแห่งนี้กลายเป็นรัฐเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐเบลารุส

          สาธารณรัฐสังคมนิยมดซเวียตอุวเบก เป็นหนึ่งในสาธารณัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบดันเป็นสหาพโซเวีต ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี 1924 และในเกือนธันวาคม 1991 ได้กลายเป็นรัฐเอกราชโดยเปลี่ยนชือประเทศเป็น "สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน"

          สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค เป็นหนึ่งใน 15 สาะารณรับองค์ประกอบของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งเมือ สิงหาคม 1920 เร่ิมแรกถุกเรียกว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองคีร์กีซ และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ต่อมาวันที่ 15-19 เมษายน 1925 ถูกเปล่ยนชือเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองโซเวียตคาซัค และยกระดับเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

        ในข่วงปี 1950-1960 พลเมืองโซเวียตถุกกระตุ้นให้ตั้งถ่ินฐานยังดครงการดินแดนบริสุทธิของสาะารณรับสังคมนิยมโซเวียตคาซัค การไหลหลั่งเข้ามาของผุ้อพยพย้ายถิ่น เช่น รัสเซีย (อพยพเข้าเป็นส่วนใหญ่) ยูเครน เยอรมัน ยิว เบลารุส และ เกาหลี ทำให้เกิดการปสมปสานในหลายเชื่อชาติจนมีจำนวนของชาวต่างชาติมากว่าชาวพื้นเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้มีการใช้ภาษาคาซัคน้อยลงแต่ก็ถูกนำกลับมาใช้อีกตั้งแต่ถุกแยกตัวออกมาเป็นอิสระ ในวันที 10 ธันวาคม 1991 และเปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐคาซัคสถาน และแยกตัวเป็นอิสระจาก สหภาพโซเวียต ในเดื่อนธันวาคม ปีเดียวกัน ซึ่งคาซัคสภานเป็นสาธารณรัฐสุดท้ายที่แยดตัวออกมาก่อนที่จะเกิดการล่ามสลบายของสหภาพโซเวียต

           สาธารรรับสังคมนิยมดซเวียตจอร์เจีย หนึ่งใน 15 สาะารณรับองค์ประกอบ ของสหภาพโซเวียต ดินแดนของสธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจียมีความใกล้เคียงกับดินแดนของจอร์เจียในปัจจุบัน เิมที่ดินแดนจอร์เจียเคยดำรงอยุ่ในรัฐเอกราชในเทืองเขาคอเคซัสก่อนที่จะถูกผนวกโดยจักรวรรดิรัสเซียในปี 1801 จอร์เจียเป็นเอกราชอีกครั้งในชื่อ สาะารณรัญประชาะิปไตยจอร์เจียในปี 1918 หลังการประกาศเอกราชอจร์เจียถูกผนวกอีกครั้งโดยรัสเซียซึ่งได้เข้ายึดครองในปี 1921 สาธารณรับสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจียถุกก่อตั้งขึ้นในภายหลังแม้วาจะเป็นสวนหนึ่งของสหพันธ์สาะารณรับสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัสตั้งแต่ปี 1922- 1936 แต่ก็อยู่ในฐานะสาธารณรัฐสหภาพภายใต้สหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 1989 สาะารณรับสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจียได้ประกาศอธิปไตยโดยหนือกฎหมายโซเวียต สาธารณรัฐได้รับการเปลี่ยนขื่อเป็นสาธารณรัฐจอร์เจียในปี 1990 และต่อมาได้กลายเป็นเอกราชก่อนการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน ปี 1991 นับแต่นั้นมา ได้กลายเป็นรัฐอธิปไตยโดยสมบูรณ์


         ในทางภูมิศาสตรื สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์๋เจียมีพรมแดนติดกับตุรกีไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทะเลดำในทางตะวันตกในสหภาพโซเวียตมีพรมแดนติดกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ไปทางทิศเหนือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียไปทางทิศใต้ และสาธารณรัฐสังคมโซเวียต อาเซอร์ไบจาน ไปทางตะวันออกเแียงใต้

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน เปลี่ยนชือเป็น สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน หลังได้เป็นอิสระในปี 1991 เป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐของ โซเวียต เมื่อโซเวียตรัสเซีย และผ่ายนิยมโซเวียตเข้ามามีอำนาจในภูมิภาคนี้ในช่วงสองปีแรก สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจานเป็นประเทศอิสระจนถึงการวมตัวกันเป็นสหพันธ์สาธารณรับสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส พร้อมกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย

          สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย เปลี่ยนชือเป็น สาธารณรัฐลิทัวเนีย เป็นหนึ่งใน 15 ที่เป็นองค์ประกอบของสหภาพโซเวียต ถูกจัดตั้งเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหภาพโวเวียตเมือปี 1940 (ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ) ในอาณาบริเวณที่ก่อนหน้านี้เป็นสาธารรัฐลิทัวเนียซึ่งเป็นรัฐเอกราช แต่ถุกกองทัพโซเวียตเข้ายึดครอง ตามถ่อยคำในสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสกภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในปี 1939 

          การรุกรานของนาซีเยอรมันเมื่อมีการฉีกสัญญา ระหว่างปี 1941-1944 ส่งผลให้สาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวีียตลิทัวเนียถูกยุบไปโดยพฤตินัย ต่อมาเมือทหารเยอมันถอนกำลังออกไปในช่วงปี 1944-45 สหภาพโซเวีนตได้กลับครอบงำลิทัวเนยอีกครั้งและเป็นเช่นนั้นนานถึงห้าสิบปีอย่างไรก็ตาม ชาติตะวันตกหลายชาติ (รวมทังสหรัฐฯ) ยังคงรับรองว่าลิทัวเนียเป็นรัฐเอกราชแะมีอธิปไตยโดยนิตินัยต่อไป โดยขึค้นกับกฎหมายระหวางประเทศซึ่งมีตัวแทเป็นคณะทูตและกงสุลต่างๆ ที่ลิทัวเนียได้แต่งตั้งไว้ก่อนในปี 1940 

         ปี 1989 สาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียได้ประกาศอธิปไตยแห่งรัฐตลอดทั่วทั้งดินแดนของตนในช่วงทีมีการปรับดครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจภายในสหภาพโวเวียต ในปี 1990 สาธารณรับลิทัวเนีย ได้รับการสภาปนาขึ้นอีกครั้งด้วยรัฐบัญญัติว่าด้วยกาคืนสภานะรัฐลิทัวเนียและได้รับการรับรองจากหลายประเทศในช่วงเวลาไม่นานนักก่อนการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และ โซเวียตก็ประกาศรับรองเอกราชของลิทัวเนีย

          สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเตเวีย หนึ่งใน 15 แห่งของสหภาพโซเวียต นังตั้งแต่การประกาศอำนาจอธิปไตย ในปี 1990 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลโตวา และเมือได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจึงเปลี่ยชื่อเป็น สาธารณรัฐมอลโตวา 

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซวเวียตมอลเตเวียได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี 1940 โดยรวมพื้นที่บางส่วนของเบสซาเรเบีย(ภูมิภาคของโรมาเนียที่ถุกผนวกเข้ากับสหภพโซเวียตในปีเดียวกัน) ่ซึ่งในขณะนั้นเป็นสาะารณรัฐปกครองตนเองแห่งหนึ่งในเขตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

 สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ถูกจัดตั้งเป็นหุ่นเชิดของสหภาพโซเวียเมือสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1940 ซึ่งบริเวณดังกล่าวถูกรุกรานโดยเยอรมัน และภูกสหภาพโซเวียตยึดกลับคือได้ในปี 1944-45 ถึงกระนั้น ลัดเวียก็ยังมีฐานะเป็นประเทศเอกราชโดยนิตินัย โดยบางประเทยังคงยอมรับคณะทูตและกงสุลซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในนามของอดีตรัฐบาลลัตเวียต่อไป เอกราชของสาธรณรัฐลัคเวียได้รับการฟื้นฟูอย่างสมบุรณ์ในช่วงควาพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต ปี 1991 

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1936 และล่มสลายไปในปี 1991 โดยเปลี่ยนชือประเทศเป็น สาธารณรัฐคีร์กีซสถาน

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1929 และล่มสลายในปี 1991 โดยเปลียนชือประเทศเป็น สาธารณรัฐทาจิกีสถาน

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย ตั้งอยุ่ในภูมิภาคคอเคซัสใต้ของทวีปยูเรเซีย สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียก่อตั้งขึ้นในเดือนพฤศจิการยน 1920 หลังจากที่สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1 และได้รับเอกราชอกีครั้งในปี 1991 เมือสหภาพโซเวียตล่มสลาย บางครั้งเรียกสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 2 

         ครั้งเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต อาร์มีเนียเปลี่ยนจากเขตอุตสาหกรรมเกษตรกรรมที่สำคัญเป็นศุนย์กลางการผลิตที่สำคัญในขณะที่ประชากรเกือบสี่เท่าจาก กว่า 900,000คนในปี 1926 เพื่อเป็น 3.3 ล้านคนในปี 1989 เนื่องจากการเติบโตตามธรรมชาติและการหลั่งไหลของผุ้รอดชีวิตจาการฆ่าล้างผ่าพันธ์ชาวอาร์มีเนียจำนวนมากและลุกหลานของพวกเขา ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐอาร์เมเนีย หลังจากประกาศอธิปไตยเหนือกฎหมายของสหภาพโซเวียต แต่ยังคงอยุ่ในสหภาพโซเวียตกระทั้งประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการในปี 1991 

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการตัี้งแต่ปี 1921-1991 ก่อตั้งจากแคว้นเติร์กเมนของสาธารณรับปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตเอตร์กิสถาน ก่อนที่จุะถูกก่อตั้งขึ้นในปี 1925 อันเป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตที่แยกกันเป็นสาะารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์เมน


พรมแดนเติร์กเมนิสถานไม่มีการเปลี่ยนแปลง ปี 1990 ประกาศอธิปไตยเหนือกฎหมายโซเวียต และประกาศเอกราชในปี 1991 เปลี่ยนชื่อเป็น เติร์กเมนิสถาน

           สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโต ในชั้นแรกถูกจัดขึ้นในดินแดนของสาะารรรับเอสโตเนย ในปี 1940 กลังการรุกรานของทัพโซเวียต และหลังการจัดตั้งรัฐบาลหุ่นเชิดชขุดหกนึ่ง ซึ่งมีสหภาพโซเวียตหนุนหลังและประกาศให้เอสโตเนยเป็นรัฐดซเวียต ต่อมาสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียถูกผนวกเข้ากับสหภาพโซเวียตในเดือนสิงหาคม 1940 ดินแดนแห่งนี้ยังถุกเยอรมันนาซีเข้ายึดครองระหว่าง 1941-1944 ด้วย 

         หลายประเทศไม่ยอมรับวาการผนวกเอลโตเนียเป็นการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมายโดยบางประเทศรับรองรัฐบาลโซเวียตของเอสโตเนียเฉพาะทางพฤตินัยเท่านั้น และบางประเทศก็ไม่รับรองเลย นโยบายการไม่รับรองดังกลาวก่อให้เกิดหลักความต่อเนืองทางกฎหมายซึ่งยืนหยัดว่า ในทางนิตินัย เอสโตเนยยังคงเป็นรัฐเอกราชที่ถูกยึดครองระหว่งปี 1940-1991 

        เอสโตเนียเป็นสาธารณรับแรกในเขตอิทธิพลดซเวียตที่ประกาสอำนาจอธิปไตยแห่งรัฐจากรัฐบาลกลางที่กรุงมอสโกในปี 1988 ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐเอสโตเนีย ในปี 1990 และเอกราชของเอสโตเนียก็ได้รับการสถาปนาขึ้นอีกในปี 1991 และ สหภาพโซเวียตก็รับรองควาเป็นเอกราชของเอสโตเนีย

               ที่มา : วิกิพีเดีย

วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2567

New Imperialism

           "ลัทธิจักรวรรดินิยมใหม่" ในบริบททางประวัติศาสตร์ ลัทธิจักรวรรดินิยมใหม่แสดงถึงช่วงเวลาของการขยายอาณานิคมดดยมหาอำนาจนุดรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นการแสวงหาดินแดนในต่างประเทศอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ในเวลานั้นรัฐต่างๆ มุ่งความสนใจไปที่การสร้างอาณาจักรของตนด้วยความก้าวหน้าและการพัฒนาทางเทคโนโลยีใหม่ๆ การขยายอาณาเขตของตผ่านการพิชิตและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของประเทศที่ถุกยึดครองในช่วงยุคของลัทธิจักรวรรดินิยมใหม่ หมาอำนาจของยุดรป (และญี่ปุ่น) ได้เขายึดครองแอฟริกาและบบางส่วนของเอเซีย คลื่นลูกใหม่ของจักรวรรดินิยมสะท้อนให้เห็นถึงการแข่งขันอย่างต่อเนื่องระหว่างมหาอำนาจความต้องการทางเศรษฐกิจสำหรัฐทรัพยากรและตลาดใหม่ และหลักปฏิบัติ "ภารกิจแห่งอารยธรรม" อาณานิคมหลายแห่งที่ก่อตั้งขึ้นในยุคนี้ได้รับเอกราชในยุคของการปลดปล่อยอาณานิคม หลังสงครามโลกครั้งที่สอ



             ซึ่งสร้างผลกระทบทางเศราฐกิจและสังคม  กล่าวคือ ในขณะที่ลัทะิดาร์วินนิยมทางสังคมได้รัีบความนิยมทั่วยุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริกา แต่"ภารกิจแห่งอารยธรรม"และโปรตุเกส ได้อุทธรณืต่อรัฐบุรุษชาวยุโรปจำนวนมากทั้งในและนอกฝรั่งเศสแม้จะมีควาเมตตากปรากฏอยุ่ในแนวความคิดรือ่ง "ภาะของคนขาว" แต่ผลที่ตามมาดดยไม่ได้ตั้งใจของลัทธิจักวรรดินิยมก็อาจมีมากกว่าผลประดยชน์ที่อาจเกิดขึ้นอย่างมาก รัฐบาลเร่ิมมีความเป็นเข้มงวดมากขึ้น และละเลยเสรีภาพส่วนบุคคลของพลเมืองของตน การใช้จ่ายทางทหารขยายตัว ซึ่งมักจะนำไปสู่การ "แผ่ขยายอำนาจของจักวรรดินิยม" และจักรรวรรดินิยมได้สร้างชนชั้นที่ปกครองในต่างประเทศที่โหดร้ายและทุจริต รวบรวมอำนาจผ่านค่าเชาของจักรวรรดิและขัดขวางการเลปี่ยนแปลงทางสังคมและการพัฒนาเศราฐกิจที่ขัดกันควาททะเยิทะยานของพวกเขา นอกจากนี้ "การสร้างชาติ" มักสร้างความรู้สึกทางวัฒนาธรรมของการเหยียดเชื้่อชาติและความหวาดกลัวชาวต่างชาติ

            ชนชั้นสูงที่สำคัญขงอยุโรปจำนวนมากยังพบข้อได้เปรียบในการขยายธุรกิจแย่างเป็นทางการในต่างประเทศ เช่น การผูกขาดทางการเงินและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ต้องการการสรับสนุนจากจักวรรดิเพื่อปกป้องการลงทุนในต่างประเทสจาการแข่งขันและความตึงเครียดทางกาเมืองในต่างประเทศ ข้าราชการแสวงหาตำแหน่งราชการเจ้าหน้าท่ี่ทหารต้องการการเลื่อนตำแหน่งชนชั้นสูงที่ยึดครองดินแดนแสวหาผลกำไรเพื่อมขึ้นจารกการลงทุน ตำแหน่งที่เป็นทางการ และตำแหน่งที่สูงขึ้น ผลประดยชน์พิเศษดังกล่าวได้สานต่อการสร้างอาณาจักตลอดประวัติศสาสตร์ 

          การบังคับใช้ นดยบาย การค้าขายมีบทบาทในการดำรงไว้ซึ่ลัทธิจักวรรดินิยมใหม่ อาณานิคมที่ถูกจำกัดนี้ให้ทำการค้าเฉพาะกับเมืองหญ่ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ซึ่งเสริมาร้างความเข้มแข็งให้กับเศราฐกิจของประเทศบ้านเกิด ในตอนแรกผ่านบริษัทจดทะเบียน ที่เติบโต และต่อมาผ่านรัฐจักรวรรดินิยม ลัทะิจักรวรรดินิยมใหม่เปลี่ยนไปสูก่การใช้การค้าเสรีการลดข้อจำกัดด้านคลาดและภาษีและการบัคงคับตลาดต่างประเทศให้เปิดขึ้น บ่อยครั้งผ่านทางการทูตแบบเรือปืน หรือการแทรกแซง ร่วมกัน เช่น เป็นการกระทำของตำรวจ 

         
เอเซียใต้ อังกฤษควบคุมอนุทวีปอินเดียส่วนใหญ่ และเร่ิมบังคับใช้ความคิดและแนวทางของตนกับผุ้อยู่อาศัยรวมถึงกฎหมรยสืบทอดต่างๆ ที่อนุญาตให้อังกฤษเข้ายึคดครองรัฐโดยไม่มีผู้สืบทอด แะได้รับที่ดินและกองทัพ ภาษีใหม่ และการผูกขาด การควบคุมอุตสาหกรรม อังกฤษยังร่วมมือกับเจ้าหนั้าที่อินเดียเพื่อเพิ่มอิทธิพลในภูมิภาคนี้

       เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หลังจาควบคุมอินเดียส่วนใหญ่แล้ว อังกฤษก็ขยายออกไปสู่พม่า มาลายา


สิงคโปร์ และบอร์เนยว อาณานิคมเหล่านี้กลายเป็นแหล่งการต้าแะวัตถุดับเพ่มเติมสำหรับสินคาของอังกฤษ  ฝรั่งเศส ผลวกเวียดนาม และกัมพูชาทั้งหมดในทศวรรษที่ 1880 ในทศวรรษถัดมา ฝรั่งเศสสร้างจักรวรรดิน อินโด-จีน โดยการผนวกลาว โดยแบ่งออกมาจากอาณาจักรสยาม(ปัจจุบันคือ ประทเศไทย) อาณาจักรสยามอยู่ในฐานะกันชน ระหวางดินแดนของอังกฤษและฝรังเศส สหรัฐฯ อ้างสิทธิใน ฟิลิปินส์ และหลังสงครามสเปน-อเมริกาก็ได้เข้าควบคุมหมู่เกาะนี้ในฐานะหนึ่งการครอบครองโพ้นทะเล อินโดนีเซีย การตั้งอาณานิคมอย่างเป็นทางการของหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ (ปัจจุบันึืออิรโดรนีเซีย) เร่ิมต้นช่วงต้นของศตวรรษที่ 19 เมื่อรัฐดัตช์เข้าครอบครองทรัพย์สินของบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ ทั้งหมด ก่อนหน้านั้นโดยหลัการแล้ว พ่อค้าของบริษัทอินเดียตวะวันออกของดัตช์ เป็นเพียงอำนาจทางการต้าอีกแห่งหนึ่งในบรรดาหลายๆ แห่งโดยตั้งด่านการค้าและการตั้งถ่ินฐาน (อาณานิคม) ในสถานที่เชิงกลยุทธ์รอบๆ หมู่เกาะ ประชากรพื้นเมืองจำนวนมากถูกควบคุมโดยการจัดการทางการเมืองที่มีประสิทธิภาพของการปกครองทางอ้อม ชนเผ่าพื้นเมืองที่มีอยุ่ยังคงอยู กลยุทธ์ที่ถูกกำหนดขึ้น ทำหน้าที่เป็นรัฐกึ่งอธิปไตยอย่างเป็นอิสระภายในรัฐดัตช์ โดยใช้ ประชากร อินโดยูเรเซียนเป็นตัวกลางกันชน

       มีผู้บรรยายถึงโครงสร้างการปกครองอาณานิคมในหนังสือของเขา "หมู่เกาะมลายู" ว่า "รูปแบบการปกครองที่นำมาใช้ในชวาคือการรักษาผุ้ปกครองพื้นเมืองทั้งชุดตังแต่หัวหน้าหมุ่บ้านไปจนถึงเจ้าชาย ซึ่งภายใต้ชื่อผุ้สำเร็จาชการแทนพระเง๕์ เป็นหัวหน้าเขตที่มีขนาดพือๆ กับเทศมนตฑลเ็กๆ ในอังกฤษ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่ละคน ถือเป็น"พี่ชาย" และ "คำสั่ง" อยุ่ในรุป "คำแนะนำ" ซึ่งปฏิบัติตามโดยปริยาย "ผู้ช่วย" เป็นผุ้ควบคุม ซึ่งเป็นารวัตรของผุ้ปกครองท้องถ่ินระดับล่างทั้งหมด ซึ่งจะเปเยี่ยมทุกหมู่บ้านในเขตนั้นเป็นระยะๆ ตรวจสอบการพิจารณาคดีของศาลท้องถ่ิน รับฟังคำร้องทุกข์.."

         
  เอเซียตะวันออก ประเทศจีน ในปี 1839 จีนพบว่าตนเองต่อสู้กับสงครามฝ่ินครั้งแรกกับบิรเตนใหญ หลังจากผุ้นำวาการรัฐหูหนานและหู เป่ยยึดการค้าฝิ่นอย่างผิดกฎหมาย จีนพ่ายแพ้ และในปี 1942 ได้ตกลงตามบทบัญญัติของสนธิสัญญานานกิงเกาะฮ่องกลถูกยกให้กับอังกฤษ และท่ทาเรือขางแห่งรวมถึงเชี่ยงไฮ้และกว่างโจวเป้นให้ทำการค้าและให้ชาวอังกฤษเข้าอยู่อาศัย ในปี 1856 สงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ปะทุอีกครั้ง จีนพ่ายแพ้อีกครั้งและุถูกบังคับให้ปฏิบัติตามเลื่อนไขของสนธิสัญญาเทียนสิน ปี 1858 และอนุสัญญาปักกิ่ง ปี 1860 สนธิสัญญาเปิดท่าเรือใหม่เพื่อการค้าและอนุญาตให้ชาาวต่างชาติเดินทางเข้ามาภายในประเทศได้ มิชชันนารีได้รัีบสิทธิในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งในการรุกของชาติตะวันตก สหรัฐอเมริกาและรัศเวียได้รับสิทธิพิเศษเดียวกันในสนธิสัญญาที่แยกกัน

         ในช่วงปลาย ศตวรรษที่ 19 จีนตกอยู่บนเส้นทางการแบ่งแยกดินแดนและการเป็นข้าราชบริพารทางเศราฐกิจ ซึ่งเป็นชะตากรรมที่อินเดียเจอมาก่อน บทบัญญัติหลายข้อของสนธิสัญญาเหล่านี้ก่อให้เกิดความขมขื่นและความอัปยศอดสูยาวนานในหมู่ชาวจีน ควาเป็นนอกอาณาเขต "ในข้อพิพาทกับชาวจีน ชาวตะวันตกมีสิทธิที่จะถูกพิจารณาคดีในศาลภายใต้กฎหมายของประเทศของเขาเอง) กฎระเบียบทางศุลกากร และสิทธิในการประจำการเรือรบต่างชาติในนานน้ำจีน...

          เอเซียกลาง เป็นการแข่งขันเชิงกลยุทธเศรษฐกิจ และการเมืองซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งระวางจักวรรดิอังกฤษ และจักวรรดิรัสเวียเพื่อชิงอำนาจสูงสุดในเอเช๊ยกลางโดยท่วไปช่วงเวลแแห่งการแข่งขันที่ดุเดอืนนั้นเร่ิมตั้งแต่ "สนธิสัญญารัสเซย-เปอร์เซียปี 1813" - "อนุสัญญาแองโกล-รัสเวียปี 1907"ซึ่งประเทศต่างๆ เช่น เอมิเรตแห่งบูคาราล่มสลาย และช่วงที่เข้มข้นรองลงมาคื อหลังการปกิยวัติ "บอลเชวิคในปี 1917ทำให้เกิดปญหากับเปอร์เซียนและอัฟกานิสถานจนถึงกลายทศวรรษที่ 1920 


          ในช่วงหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 หลังอาณานิคม คำนี้ยังคงใช้อย่างไม่เป็นทางการต่อการให้การอธิบาย "กลไกทางภูมิรัฐศาสตร์ของมหาอำนาจและมหาอำนาจระดับภูมิภาค ในการแย่งชิง อำนาจทางภูมิรัฐศาสตร์" ตลอดจนอิทะิพลในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอัฟกานิสถานและ อิหร่าน(เปอร์เซีย)

       แอฟริกา ระหว่างปี 1850- 1914 อังกฤษควบคุมประชากรแอฟริกาได้เกือบ 30% แบ่งเป็นฝใรั่งเศส 15% เยอรมนี 9% เบลเยียม 7% และอิตาลี 1% ไนจีเรียเพียงประเทศเดียวที่มีส่วนสนับสนุนประชากร 15 ล้านคน.oอังกฤษ ซึ่งมากกว่าประชากรในแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศสทั้งหมด หรือจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมนีทั้งหมด มีเพียง ไลบีเรียและเอธิโอเปียเท่านั้น ที่ไม่ถูกควบคุมโดยยุโรปในปี 1914

           หลังจากสมัยอาณานิคมใหม่ ได้มีการปลดปล่อยประเทศตางๆ ซึ่งก่ิให้เกิดปัญหาทางด้านภูมิรัฐศาสาสตร์กระทั่งปัจจุบันอาทิ 

       เอเซียใต้ แม้ในช่วงเวลาดังกลาวจักรวรรดิอังกฤษจะนำควมเจริมาสู่อนุทวีป เป็นอันมาก การใช้ภาษา
อังกฤษเป็นภาษาทางการ การยกเลิกพิธีทางสังคมที่ส่งผลกระทบต่อสทิธิมนุษยชน การปรับปรุงโครงสาร้างขึ้นพื้นฐาน การยกระดับเส้นทางคมนาคมขนส่งดดยเฉพาะทางราง ฯลฯ แต่ก็ผูกขาดทางการค้าและเศรษฐกิจ การเอารัดเอาเปรียบและการใช้ความรุนแรง การไ่เคารพในวัฒนธรรมและความเชื่อท้องถ่ิน ฯลฯ ด้วยความต้องการเป็นเอกราชของอนุทวีปทำห้อังกษจำใจต้องหให้อิสราภาพให้กับอนุทวีปแห่งนี้ แต่ในขณะเดียวกันเอเชียใต้ก้ไม่สามารถกลับไปเป็นรฐแบบโบราณ เช่นเดิม การจากไปของอังกฤษ และการสิ้นสุดของยุคอาณานิคมในปี 1947 ทำให้อนุทวีปแบ่งออกเป้นหลายรัฐชาติ  การเกิดขึั่้นของรัฐชาติต่างๆ ในเอเชียใต้ คือผลพวงของความไม่ลงรอยระหว่างชนชั้นนำแห่งอนุทวีปในขณะที่กลุ่มคองเกราสแหงอินเดีย นำโดย มหาตมะ คานธี และ ยาวะหะราล เนห์รู ประสงค์อยากให้ "อินเดีย" เป็นรัฐโลกวิสัย ที่ไม่นำศาสนาเข้ามาเกี่ยวพ้นกับการเมือง แต่ในขณะเีดยวกันสันนิบาตมุสลิมแห่งอินเดีย นำโดย จินนาห์ อาลี เรียกร้องให้เกิด "ปากีสถาน" เพื่อจัดการปกครองให้เกิดความยุติธรรมสำหรัฐประชากรมุสลิม ข้อขัดแย้งดังกล่าวทำให้อังกฤษตัดสินใจให้เอกราชแก่อินเดียและปากีสถานในปี 1947 การแบ่งประเทศ เช่นนี้ จึงได้สร้างบาดแผลให้กับผุคนตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เช่นเดียวกับตะวันออกกลาง...( การแบ่งปาเลสไตน์

 https://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/7966507224509500787?hl=th)


                          ที่มา : วิกิพีเดีย

                                   https://waymagazine.org/the-conflict-of-southern-asia/

       

วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Global South

         

 การที่ประเทศชั้นใำหลายแห่งในแอฟริกาเอเชีย และละตินอเมริกา ไม่ร่วมกับ นาโต้ ใสนเรื่องสงคามยูเครน ได้นำคำว่า "โลกใต้" กลับมาใช้อีกครั้ง "

           "โลกใต้" หมายถึงประเทศต่างทั่วโลก ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า "กำลังพัฒนา" "พัฒนาน้อย" หรือ "ด้อยพัฒนา" หลายประเทศเหล่านี้ (แม้จะไม่ใช่ทั้งหมด) ก็อยุ่ในซีโลกใต้ ส่วนใหญ่อยุ่ในแอฟริกา เอเซีย และละตินอเมริกา

            คำว่า "โลกใต้ไ ดูเหมือจะถูกนำมาใช้คร้้งแรกในปี 1969 โดยนักเคลื่อนไหวทางการเมือง คาร์ล อ๊อกเลสบี้ โดยเขียนในนิตยสารซึ่งเป็นเสรีนิยมคาทอลิกโดยแย้งว่าสงครามในเวียดนามเป็นจุดสิ้นสุดของการครอบครองโลกใต้ โดยทางตอนเหนือ แต่หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของสิ่งที่เรียกว่า "โลกที่สอง" คำว่า "โลกใต้"จึงกลับมาอีกครั้ง ในเวลานั้นคำศัพท์ทีั่วไปที่ใช้เรียกประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังไม่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ คือ "โลกที่สาม" ซึ่งคำนี้บัญญัติขึ้นโดย อัลเฟรด โซวี ในปี 1952 โดยเปรียบเทียบกับ ฐานันดร 3 ฐานันดร ในประวัติศสตร์ของฝรั่่งเศส ได้แก่ ขุนนาง นักบวช และชนชั้น กระฎุมพี คำว่า "โลกที่หนึ่ง" หมายถึงประเทศทุนนิยมก้าวหน้า "โลกที่สอง" ต่อประเทศสังคมนิยมที่นำโดยสหภาพโซเวียต และ "โลกที่สาม" สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งหลายประเทศในสมัยนั้นยังอยู่ภายใต้จักรวรรดิอาณานิคม

          หนังสือของนักสังคมนิยมวิทยา ปีเตอร์ วอร์สเลย์ ปี 1964 เรื่อง "The Third World : A Vital New Force in International Affair" ทำให้คำนี่้แพร่หลายมากขึ้น หนังสือเล่มนี้ยังได้กล่าวถึง "โลกที่สาม" ซึ่งเป็นแกนหลักของ"ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด"ซึ่งก่อตั้ง เพื่อเป็นแนวร่วมในสงครามเย็น


         แม้มุมมองของ วอร์สเลย์ เกี่ยวกับ "โลกที่สาม" นี้จะเป็นไปในทางบวก แต่คำนี้ก็มีความเกี่ยวข้องกับประทเศต่างๆ ที่เต็มไปด้วยความยากจน ความสกปรก และความไม่มั่นคง "โลกที่สาม" กลายเป็นคพ้องความหายสำหรับสาะารัฐที่ปกครองโดยเผด็จการ ซึ่งเป็นภาพล้อเลียนที่เผยแพร่โดยสือตะวันตก

           การล่มสลายของสหภาพโซเียต และการสิ้นสุดของสิ่งที่เรยกว่าโลกที่สองทำให้เกิดข้ออ้างที่สะดวกสำหรับคำว่า "โลกที่สาม" ที่จะหายไปเช่นกัน การใช้คำนี้ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ ในขณะเดียวกัน "พัฒนาแล้ว" กำลังพัฒนา"และ"ด้อยพัฒนา"ก็เผชิญกับคำวิพากษ์วิจารณืที่ถือว่าประเทศตะวันตกเป็นอุดมคติ โดยขณะเดียวกันก็วาดภาพประเทศที่อยุ่นอกกลุ่มนั้นว่าล้าหลัง คำที่ใช้แทรคำเหล่านี้มากขึ้นเรือยๆ คือ "โลกใต้" ที่ฟังดูเป็นกลางมากกว่า

         เป็นคำภูมิศาสตร์การเมือง ซึ่ง ไม่ใช่ภูมิศาสตร์ "โลกใต้" ไม่ใช่คำทางภูมิศาสตร์ ในความเป็นจติง สองประเทศที่ใหญ่ที่สุดของโลกใต้ ได้แก่ จีนและอินเดีย อยุ่ในซีโลกเหนือทั้งหมด แต่หมายถึงความเหนือทางการเมือง ภูมิศาสตร์การเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศต่างๆ 

        ประเทศต่างๆ ในซีกโลกใต้ส่วนใหญ่พึ่งพ้นจากการอยู่ใต้อาณานิคม แอฟริกาเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของความสัมพันธ์ระหว่าง "ตะวันตกกับส่วนที่เหลือ" เมือพิจารณาถึงความสัมพันะ์ในอดีตที่ไม่สมดุลระหวาางประเทศต่างๆ ในโลก "ซีกโลกใต้และซีกโลกเหนือ" ทั้งสในยุคจักวรรดิและสงครามเย็น จึงไม่น่าแปลกใจที่ทุกว่านี้หลายประเทศเลือกที่จะไม่ฝักใฝ่มหาอำนาจใดๆ 

ในขณะที่คำว่า "โลกที่สาม" และ "ด้อยพัฒนา" สือถึงภาพลักษณ์ของการไร้อำนาจทางเศรษฐกิจ แต่ไม่ใช้กับ "โลกใต้" ธนาคารโลกคากการณ์ว่า ภายในปี 2030 ประเทศเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด 3 ใน 4 แห่งจะมาจากซีกโลกใต้ ตามลำดับ ได้แก่ จีน อินเดีย สหรัีฐอเมริกา และอินโดนีเซีย GDP ในแง่ของกำลังซื้อของกลุ่มประเทศ BRICS ( เป็นอักษรย่อใช้เรยกกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบด้วย บราซิล, รัสเซีย, อินเดีย, จีนและแอฟริกาใต้ โกลด์แมน แซคส์ กล่าววากลุ่มบริกส์พัฒนาอย่างรวดเร็วมากจนประมาณปี 2050 เศราฐกิจของกลุ่มรวมกันจะสามารถบดบังหลุ่มประเทศที่ร่ำรวยในขฯะนี้ได้ ปัจจุบัน ประเทศทั่งสี่รวมกัน มีพื้นที่มากว่าหนึ่งในสี่ของแผ่นดินโลก และมากกว่าร้อยละ 40 ของประชากรโลก..ที่มา: วิกิพีเดีย) ซึ่งครอบงำทางตอนใต้ของโลก ได้แซงหน้ากลุ่มประเทศ G7 ของ "โลกเหนือ"แล้ว และตอนนี้มหาเศรษฐีในปักกิ่งมากกว่าในนิวยอร์กซิตี้

          การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้เป็นไปพร้อมๆ กับการมีบทบาททางการเมืองโลกมากขึ้นของประเทศต่างๆ ใน "โลกใต้" ไม่ว่าจะเป็น "การเป็นตัวกลางของจีนต่ออิหร่านและการสร้างสายสัมพันธ์ของซาอุดิอาระเบีย หรือ ความพยายามของบราซิลในการผลักดันแผนสันติภาพเพื่อยุติสงครามในยูเครน ทำให้ผู้เชียวชาติด้านภูมิรัฐศาสตร์หลายท่าน เขียนเกี่ยวกับ การมาถึงของ "ศตวรรษแห่งเอเชีย" และเร่ิมพูดถึง "โลกหลังโลกตะวันตก" ที่มา : https://theconversation.com/the-global-south-is-on-the-rise-but-what-exactly-is-the-global-south-207959

           สี จิ้นผิง กำลังจะสร้าง "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ที่มีจีนเป็นแกน เพื่อประกบกับ "ระเบียบดลกขั้ว
เดียว" ทีมีสหรัฐเป็นพระเอก ผู้นำจีนเสนอ "โกลโบล เดเวอร์ลอฟเม้นท์ อินเทียทีฟ (CDI) หรือ "ความริเร่ิมพัฒนาโลก"ซึ่งเป็น"พิมพ์เขียว" ของจีนเพื่อสร้างพันธมิตรกลุ่มหใา่ที่มุ่งท้าทายโลที่นำโดยตะวันตกมาช้านาน ตัว GDI เองมีเป้าหมายสำคัญคือการส่งเสริมการพัฒนาา,ลดความยากจนและส่งเสริมสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนาแต่อีกสองแผนที่ตามมาสะท้อนถึง "ยุทธศาสตร์องค์รวม" ที่กระชับก้าวอย่างอันสำคัญของปักกิ่ง นั่นคือ "โกลโบล ซีเคียวริที้ อินเทียทีฟ" "ความริเริ่มด้านความั่นคงโลก" และ "โกโลบล ซิวิไลเซชั่น อินเทียทีฟ" หรือ "ความริเริ่มด้านอารยธรรมโลก" เป็นความพยายามอย่างชัดแจ้งของจีนที่จะระดมแรงสนับสนุนจาก "โลกใต้" เพื่อขยายอิทธิพลและบทบาทของจีนในเวทีระหว่างประเทศ เป็นความพยายามของปักกิ่งที่จะปรับปรุง "กฎกติกามารยาท"ระดับโลกที่เคยถูกกำหนดโดยดลกตะวันตกมาตลอดตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา

           อินเดีย กับการเดิมเกมส์สองหน้า อินเดียคงไม่ต่างจากหลากหลายประเทศเสรษฐกิจเกิดใหม่ที่มองเห็นถึงปัญหาหลายอย่างในโครงสร้างระเบียบและธรรมาภิบาลโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคณมนตรีความ


มั่นคงแห่งสหประชาชาติ UNSC ที่เปิดโอกาส ที่เปิดโอกาสให้สมาชิกถาวะเพียง 5 ชาติมีบทบาทและอิทธิพลอย่างสุงต่อการตัดสินความเป็นไปของความขัดแยงในการเมืองระหว่างประเทศ อินเดียถือเป็นหัวหอกสำคัญที่ต้องการปฏิรูปองค์กรดังกล่าวของสหประชาชาติ เช่นเดียวกับหลายประเทศในละตินอเมริกาและแอฟริกา ฉะนั้นถ้าจะตอบคำถามอย่างง่ายวส่าอะไรคือเป้าหมายนโยบายต่างประเทศอินเดียทั้งปัจจุบันและอนาคต คำตอบคือการยกระดับสถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้นในเวทีโลกที่ไปไกลกว่าเพียงแค่เอเซีย และหนึ่งในนั้นคงหมายรวมถึงการได้ที่นั่งถาวรใน UNSC พร้อมกับฐานะมหาอำนาจในภูมิภาคและระดับโลก  และเวที่ G20 ก็เป็นหนึ่งเวทียกระดับสู่สถานะนำของอินเดียให้สูงขึ้น เพราะนอกจากรัฐบาลนิวเดลีจะสะท้อนให้เห็นแล้ว่า ตนเองไม่ได้เดินตามหลังสหรัฐฯและชาติตะวันตก ด้วยการเชิญรัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซียเข้าร่วมการประชุมด้วยแล้ว รัฐมนตรีต่างประเทศอินเดียยังมีโอกาสพูดคุยหารือกับรัฐมนตรีต่างประเทศของจีน เพื่อแสวงหาแนวทางฟื้นฟูความสัมพันธ์ของสองประเทศให้ดีย่ิงขึ้นด้วย

           บทเรียนในชั้นเรียนนดยบายการต่างประเทศของอินเดียมักเน้นย้ำเสมอถึงหลักการสำคัญของแนวนโยบายต่่างประเทศของอินเดียที่มุ่เน้นหลักการแห่งสันติภาพ เสถียรภาพ และผลประโยชน์ร่วมกัน นั่นจึงเป็นเหตุสำคัญที่อินเดียพยายามสานสัมพันธ์กับทุกประเทศ และพยายามถ่วงดุลอำนาจกับบรรดามหาอำนาจต่างๆ ทั่วโลก เพื่อแสวงหาลุ่ทางในการส่งเสริมสถานะตนในกิจการระหว่างประเทศ รวมถึงการขยายอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจของอินเดียในเวทีโลกด้วย หลายปีมานี้อินเดียยังคงขยายศักยภาพทางการทหารของตนเอง โดยเฉพาะการลดการพึ่งพายุทโธปกรณ์จากภายจอกและหันมาพัฒนาเทคโนโลยีทางการทหารด้วยตนเอง แต่จุดสำคัญที่สุดของนโยบายต่างประเทศอินเดียคงหนีไม่พ้นความเป็นอิสระในการกำหนดยุทธศาสตร์และปหป้องผลประโยชน์แห่งชาติ

          จากภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เปลี่ยนไปและการพยายามกำหนด "ระเบียบโลกทางเลือกใหม่" ของจีนสงผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนกรอบนโยบายต่างประเทศของอินเดีย นโยบายต่างประเทศของอินเดียเป็นการยืนอยุ่บนรอยเลื่อนทางการเมืองโลก ดังที่รัฐมนตรีต่างประเทศคนปัจจุบันของอินเดีย มักกล่าวในหลายวาระว่า "นโยบายต่างประเทศของอินเดียคือการแสวงหาผลประะโยชน์แห่งชาติที่มากขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากความขัดแย้งระดับโลก" ซึ่งเข้าใจกันว่า"การเดิมเกมส์สองหน้า"

        อินเดียตระหนักดีว่า ณ เวลานี้ตนเองกำลังยืนอยงุ่บนรอยเลื่อนของภูมิรัฐศาสตร์โลก ที่ทุกย่างก้าวล้วนมีอ้นตราย มีทั้งผลเชิงบวกและลบ การพยายามรักษาสมดุลบนพื้นฐานของการมีอิสระทางด้านการต่อต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์สุงสุดแห่งชาติจึงถือเป็นเส้นทางเดียวที่อินเดียจะสามารถชกฉวยโอาสห่งความโกลาหลของระเบียบโลกเพื่อยกระดับสถานะของตันเองในเวทีโลก..ที่มา : https://www.the101.world/india-foreign-policy-status-seeking/



วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Trend World Geopolitical 2024


            จากสงครามการค้าสหรัฐฯกับจีนเริ่มขึ้นในปี 2018 สู่สงครามยูเครน-รัสเซีย 2022 ตามด้วยสงคราม
อิสราเอล-ฮามาส ปลายปี 2003 และไต้หวันที่มีความพยทยาสร้าง ไความปกติใหม่"ในการยกระดับการแลกเปลี่ยนการเยือนของเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลกับสหรัศฯ และชาติพันธมิตร แม้จะยังไม่ล้ำเส้น ที่จีนขคดไว้ แต่ทุกการขยับของไทเปที่ปักกิ่งมองว่าท้าทายโดยตรง ก็เพ่ิมความเสียงที่จะนำไปสู่สงครามใหญ่ได้  และประกอบกับปี 2024 เป็นปีแห่งการเลือกตั้งโลก ทั้งสหรัฐและยุโรป  ซึ่งตามปกติการหาเสียงในสหรัฐแทบทุกครั้งมักจะเป็นช่วงที่มีการสาดไฟ สาดสีใส่กัน แคดิเดตประธานาธิบดีแต่ละคนจะหาเสีงด้วยชุดนดยบายที่แข็งกร้าวต่อจีน ทำให้บรรยากาศทางการเมืองระหว่างประเทศยิ่งร้อนขึ้น... ที่มา : https://thestandard.co/world-geopolitics-2024-war-risk-thailand-challenge/

            การเลือกตั้งใหญ่จะเกิดขึ้นในมากกวา 50 ประเทศในปี 2024 โดยเฉพาะประเทศที่มีความสำคัญด้านภูมิรัฐศาสตร์ การเลือกต้งกิดขึ้นภายใต้แนวโน้มกระแสประชนิยม และการแบ่งขั้วทางการเมือง ทำให้เกิดความไม่แน่นอนต่อนโยบายเศรษฐกิจ ท่าที่ต่อากรเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และความขัดแย้งทางทหารที่ยังคงเกิดขึ้น 

          การเลือกตั้งที่สำคัญในปี 2024 จะเกิดขึ้นใน 6 ประเทศ ดังนี้


         - การเลือกตั้งทัวไปในบังคลาเทศ 7 มกราคมเป้นการเลือกตั้งแรกของปี 2024 เป็นหนึ่งในการเลือกตั้งที่จะมีความขัดแย้งมากที่สุด นายกรัฐมนตรี ซีค ฮาซีนา และพรรค อวามี ลีค ครองอำนาจมา 15 ปี องค์กร ฟรีดอม เฮาส์ รายงานว่า รัฐบาลกระชับอำนาจมากขึ้น ดดยการคุกคามพรรคฝ่ายค้าน สือมวลชน และประชสังคม ผุ้นำฝ่ายค้านส่วนใหญ่ถูกจับกุม ล่าสุด มุอัมหมัด ยุนุส ผุ้ก่อต้งธนาคาร กรามีน ถูกศาลสั่งจำคุก 6 เดือน เพราะละเมิดกฎหมายแรงงาน บังคลาเทศเป็นตัวอย่างประเทศที่สามารถจัดการเลือกตั้ง ดดยไม่ได้ยึดหลักการประธิปไตย

        - การเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวัน 13 มกราคม ซึ่งจะมีผลสำคัยต่อทิศทางภุมิรัฐศาสตร์ของภุมิภาคนี้ ประธานาธิบดี ไช่ อิงเหวิน ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 2 สมัย กฎหมายห้ามลงสมัครสมัยที่ 3 ผุ้สมัคร สำคัญคือ รองประธานาธิบดไล่ ชิงเต๋อ จากพรรครัฐบาล คู่แข่งคือ เหา ยัว อิฮ จากพรรคก๊กมินตั๋ง และ โคเวน- จี จากพรรค ไต้หวัน พีเพิล ปาร์ตี้ ผุ้สมัครทั้ง 3 คนล้วนเคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมาตรีมาก่อน จีนมองตัวแทนผู้ตัวแทนพรรค รัฐบาลว่าเป็นภัยต่อนโยบาย "จีนเดียว" แม้ทั้ง 3 พรรคการเมืองจะคัดค้านการที่ไต้หวันจะประกาศเป็นเอกราช

     - การเลือกตั้งทั่วไปปากีสถาน 8 กุมภาพันธ์ 2024 ปากีสถานเป็นประเทศที่การเลือกตังสามารถเลื่อนออกไปได้ นายกฯ Shehbaz Sharif ประกาศยุบสภาในเดือนสิงหาคม 2023 กฎหมายกำหนดให้เลือกตั้งใน 90 วัน แต่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดเป็น วันดังกล่าว เหตุผลคือมีเวลาพอในการเตรียมการเลือกตั้ง แต่สาเหตะสำัญเพราะระยะ 2 ปี ที่ผ่านมา เกิดวิกฤติการในปากีสถาน เมษายน 2022 รัฐสภาปลด นายกรัฐมนตรี Imran Khan และได้มาเป็นผุ้นำการประเท้วง ต่อมาศาาลตัสสินจำคุกเขา 3 ปี ข้อหารับสินบน ต้นปี 2023 ปากีสถานเอาตัวรอดมาได้จาการล้มละลายจาหนี้สินต่างประเทศ

       - การเลือกตั้งทั่วไปอินโดนีเซีย การเลือกในอินโดนีเซียเป็นงานด้านโลจิสติกส์ ที่มีขอบเขตมหาศาสล
เพราะเป็นการเลือกตั้งประเทศที่มีพลเมือง 275 ล้านคน ประชาชนกระจายอยุ่นเกาะ 17,000 แห่ง และทำการเลือกตั้งให้เสร็จในวันเดียว รัฐะรรมนูญห้ามไม่ให้ประะานธิบดี โจดค วิโดโต (โจโควี) ลงสมัครเป็นสมัยที่ 3 ผุ้สมัคระแนนนำคือ Prabowo Subanto อดีตนายพลลูกเขยเผด็จการ ซูฮาโต เคยแพ้โจโควีมาแล้ว 2 ครั่ง ปุ้สมัครคนที่ 2 คือ Ganjar Pranowo ผุ้ว่าการเขตชวาตอนกลาง สมัครในนามพรรคของโจดควี ผุ้สมัครคนที่ 3 คือ อนีส บาสวีแดน เป็นอธิการบริดี มหาวิทยาลัยอิสลาม

         - การเลือกตั้งทั่วไปอินเดีย เมษายน-พฤษภาคมเป็นตัวอย่างความมหัสจรรย์ของประชาธิปไตย ประชากร 1.4 พันล้าน มีภาษาพูดกว่า 100 ภาษา สามารถใช้การลงคะแนนเลือกตั้งมาตัดสินว่าใครจะเป็นผุ้นำการเมือง ที่ได้รับความเห็นชอบจากประชาชน พรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมมากในสภาพจะเป็นฝ่ายเลือกนายกรัฐมนตรี พรรค ของนายกรัฐมนตรีนาเรนทา โมดีคจะได้รับชัยชนะเป็นสมัยที่ 3 การสำรวจความเห็นของอินเดีย 8 ใน 10 ยอมรับผลงานของโมดีเศราฐกิจเติบโต 7% ทำให้รายได้คนอินเดียทั้่วประเทศเพื่มขึ้น ทำให้คนอินเดียมีความหวังว่า อนาคตจะดีกว่าวันนี้ 

       การเลือกตั้งสหรัฐ 5 พฤศจิการยน วงจรการเลือกตั้งโลกที่เป็นตรัี้งสุดท้ายของปี 2024 คงไม่มีการเลือกที่ไหนที่ส่งผลกระทบต่อดลกมากเท่ากับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ ในเดือนพฤศจิกายนการเลือกตั้งครั้งนี้เ็นเหตุการณ์คล้ายกับที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในปี 2020 ที่แข่งขันกันระหว่าง โจ ไบเดน กับ โดนัลด์ ทรัมป์ คนทั่วโลกสนใจการเลือกตั้งครั้งนี้ เพราะหากทรัมป์เป็นฝ่ายชนะ อาจหมายถึงจุจบของประชาธิปไตยในอเมริกาและ "ระเบียบโลก"ที่อเมริกาเป็นผู้นำ การเลือกตั้งพฤศจิกายนของสหรัฐฯ จึงถือเป็นการเลือกตั้งที่สำคัญมาก ที่มา : https://thaipublica.org/2024/01/pridi387/




             โอกาศของรัฐบาลทรัพมปื 2  ผล "การเลือกตั้ขั้นต้นภายในพรรค" หรือที่เรียกว่า "ซูเปอร์ ทิวส์เดย์"เมือต้นเดือนมีนาคม ทำให้การเลือกตั้งชิงตำแน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ น่าจะเป็นการขับเคี่ยวกันระวหาง ประธานาธิบดี โจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และอดีตประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ จากพรรคริพับลิกัน และจะเป็นการรีแมตช์เมื่อปี 2020 ถึงแม้ว่าทรัมป์ ยังมีคดีที่ต้องสะสางอีกมากมาย แต่ข้อมูล่าสุดจกหลายเว็บพนันออนไลน์ในสหรัฐฯ ( 8 มีนาคม) ให้ความน่าจะเป็นที่ 54% ว่าทรัมปื จะชนะการเลือกตั้งปี 2024 ไบเดน ที่ 29% หากผลเป็นไปตามคาด ทรัมป์จะเป็นประธานาธิบดีคนที่สองในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ ที่สามารถ กลับมาในตำแหน่งสมัยที่สอง 

       
 ผลกระทบภูมิรัฐศาสตร์โลก ชัยชนะครั้งแรกของทรัมป์ ในปี 2560 ประชาคมโลก ยัวคงเชื่อว่าสหรัฐญฯ จะกลับมาสู่แนวทางเดิมในการเป็น "ผู้นำค่ายดลกเสรี" แต่ชัยชนะครัี้งที่สองจะทกให้บทบาทของการเป็น "ตำรวจโลก" และ "นัการทูตแห่งโลกเสรี" ที่เป็นผุ้นำด้านสิทธิมนุษยชน สาธารณสุข รวมถึงการรับมือความเปลี่ยนแปลงภุมิอากาศโลก ของสหรัฐฯ สิ้นสุดลง ผ่านการกลับมาของนโยบาย "อเมริกาต้องมาก่อน" American First Policy การกลับมาคร้งนี้จะเป็นการเพ่ิมความมั่นใจของทรัมป์ ที่กังวบกับบความถูกต้องน้อยลง สามารถเป็นตัวของตัวองมากขึ้น พร้อมที่จะเดิมพันบนความรุ้สึก และตัดบนความรู้สึก และตัดสินใจด้วยตัวเองโดยไม่คำนึงการสนับสนุนนของรัฐสภา ฯ ซึ่งอาจเห็นได้จากเหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นการเผชิญหน้ากับคู่ค้าอันดับต้นของสหรัญฯ อย่างเม็กซิโก จากนโยบายการเนรเทศแรงงานชาวแม็กซิโก ที่แฝงตัวในสหรัฐฯ รวมถึงการใช้กบังทางทหารกับแก๊งค้ายาเสพติดเม็กซิโก ซึ่งจะละเมิดอำนาจอธิปไตยของประเทศเม็กซิโก ทำให้สหรัฐฯ มีปัญหาในระยะประชิดตัว

         รวมถึงการออกจาองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ NATO ที่ถึงะทำไ้ดไม่ง่าย แต่เชื่อว่า ทรัมป์ จะลดการสนับสนุนทางทหารให้ยูเครน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อชาติชารติสมาชิกและบั่นทอนศักยภาพของนาโต้ โดยรวม พร้อมเพ่ิมควมชอบธรรมให้กับรัสเซียและผุ้นำเผด็จการขวาจัดอื่นๆ ของโลก 

         หากมองนาโต้ เป็นกำแพบงความมั่นคงฝั่งยุโรปของสหรัฐฯ ความสัมสพันธ์ระหว่างประเทศกับ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ก็เป็นปราการด่านสำคัญทางฝั่งแปซิฟิก แ

         แต่นโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม ผ่านความมั่นใจที่เพ่ิขึ้น อาจทำให้ทรัมป์มองกลยุทธ์ระยะสั้นตามอารมณ์..และอาจส่งผลต่ออิทธิพลในภูมิภาคนั้นๆ ของสหรัฐฯ อ่อนลง

          ความตึงเครียดระหว่างขั่วมหาอำนาจ จีนและสหรัฐฯ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้เปิดโอกาสให้ อินเดีย บริหารความสัมพันธ์สามเส้า ระหวาง รัสเซีย และสหรัญฯได้อย่างลงตัว ซึ่งหากนายกรัฐมนตรี นเรนทรา โมดี ได้รับการเลือกตั้งในสมัยที่สอง ความต่อเนื่องทางนดยบายจะทำให้บทบาทอินเดียในฐานะผุ้นำของ "โลกใต้" Global South จะอยู่ไม่ไกล

         ตัวแปรในระยะกลางและยาว คือการที่ สหรัฐฯ ละเลยความสำคัญของทวีปแอฟริกา ที่มีแต่จะเพ่ิมขึ้นในอนาคต ซึ่งนอกจากจะเป็นทวีปที่มีความสำคัญในเชิงทรัพยากรธรรมชาติ ยังมีทรัพยากรมนุษย์ ที่มีอายุเฉลี่ยเพียง 19 ปี เมื่อเทียบกับ 40 ปี ของสหรัฐฯและจีนและภายในปี 2050 หนึ่งในสามของแรงงานวัยทำงานดลกจะอยุ่ในทวีปนี้ ดดยในทางกลับกัน จีนได้ลงทุนอย่างต่อเนื่องในแอฟริกามาหลยทศวรรษ

        แนวทางปฏิบัติต่อจีน ตามความเชื่อของผุ้เขียน ฝ่ายอนุรักษนิยมของพรรคริพับลิกัน คงหวังให้ความขัดแย้งกับจีน เป็นรากฐานนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯที่ยั่งยืน ผ่านการสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกกับกลุ่มประเทศตะวันออกกลางเพื่อกีดกันจีน คงพันธมิต นาดต้ ในยุดรปให้ต่อต้านจีน ส่วนนโยบายทางเศราฐกิจ เน้นค้าขายกับประเทศพันธมิตรเพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือจีน

        จากฉากทัศน์ที่ได้กล่าวมาข้างต้น มีความเป็นไปได้ว่า การสิ้นสุดความเป็น "ผู้นำโลก" ของสหรัญฯน่่าจะเกิดขึ้น และทำให้ "ระเบียบโลกใหม่" มีผุ้นำที่เพี่มขึ้น ตามเขตอิทธิพลของตน..ที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/world/1117398






วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Geopolitical and national security

            ความมั่นคงแห่งชาติ หรือ การป้องกันประเทศเป็นมโนทัศน์ว่ารัฐบาล ตลอดจนรัฐสภาพ ควร
พิทักษ์และพลเมืองของรัฐต่อวิกฤตการณ์ "แห่งชาติ" ทุกชนิดโดยใช้การแสดงอำนาจต่าง ๆเช่น อำนาจทางการเมือง การทูต อำนาจทางเศรษฐกิจ แสนยานุภาพ เป็นต้น 

           มีการพัฒนามโนทัศน์ดังกล่าวเป็นหลักในสหรัฐหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เดิมทีมุ่งเน่้นเสนยานุภาพ แต่ปัจจุบันครอบคลุมแง่มุมต่างๆ ซึ่งล้วนกระทต่อความมั่นคงที่มิใช่ทางทหารหรือเศราบกิจของชาติ และค่านิยมที่ความั่นงคงแห่งชาติรับมาใช้ ฉะนั้นเพื่อให้มีความั่นคงแห่งชาติ ชาติจึงจำเป็นต้องมีความมั่นคงทางเศราฐกิจ ความั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม น,ฯ ภัยคุกคามความั่นคงมิได้มีเฉพาะข้าศึกตามแบบ เช่น รัฐชาติอื่นเท่านนั้น แต่ยังมีตัวแสดงที่มิใช่รัฐ เช่น การค้ายาเสพติด บรรษัทข้ามชาติและองค์การนอกภาครัฐ ทางการบางแห่งยังรวมภัยพิบัติธรรมชาติและเหตุการณ์ซึ่งก่อความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงอยู่ในหมวดนี้ด้วย

         มาตรการที่ดำเนินเพื่อประกันความั่นคงแห่งชาติ ได้แก่  การใช้การทูตเพื่อกระชับพันธมิตรและแยกภัยคุกคาม,การระดมอำนาจทงเศรษฐกิจเพื่ออำนวยหรือขับบริษัท,การรักษากองทัพที่มีประสิทธิภาพ,การใช้การป้องกันฝ่ายพลเรือนและมาตรการความพร้อมภาวะฉุกเฉิน(รวมทั้งกฎหมายด้านการก่อการร้าย),การประกันความยืดหยุนและการมีโครงสร้างพื้นฐานสำคัญสำรอง ก,การใช้การสืบราชการลับเพื่อครวจหาและพิชิตหรือเอลี่ยงภัยคุกคามและจารกรรมและเพื่อคุ้มครองสารสนเทศลับ, การใช้กาทรต่อต้านการสืบราชการลับหรือตำรวจลับเพื่อพิพทัีกษ์ชาติจากภัยคุกคามในประเทศ.. ที่มา : วิกิพีเดีย

          ภูมิรัฐศาสตร์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดนโยบายขงอรัฐ โดยเฉพาะหลังการสิ้นสุดสงครามเย็น เกิดแนวคิดความถ่วงดุลอำนาจขึ้นทำให้รัฐต่างๆ มุ่งเน้นที่จะเข้าไปควบคุมพื้่นที่ทางทะเล เพราะเชื่อว่าหากสามารถควบคุมพื้นที่ทางทะเลใต้จะกลายเป็นมหาอำนาจโลก โดยในอดีตสหรัฐฯ เคยมีอิทธิพลในการควบคุมพื้นที่ทางทะเล แต่ในปัจจุบันจีนสามารถขึ้นมาเป็นผุ้นำในการควบคุมพื้นทีทางทะเลในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งภูมิรัฐศาสตร์นั้นมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่สำคัญ คื อทฤษฎี "ดินแดนหัวใจ" ของแมคคินเดอร์ โดยกบ่าวว่าพื้นที่ของทวีปเอเชีย ทวีปยุดรป และทวีปแอฟริกา เป็นพื้นดินที่มีความต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน โดยเรียกแผ่นดินผืนนี้ว่า "เกาะโลก" โดยมีจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ คือ บริเวณดินแดนในแถบยูเรเซีย ซึ่่งดิแดนนี้เร่ิมจากชายฝั่งทะเลบอลติกและทะเลดำในทางตะวันตกไปจนกระทั่งถงเขตไซบีเรียในตะวันออก และทางเหนือเร่ิมจากมหาสมุทรอาร์กติกจรดเทือกเขาหิมาลัยทางใต้ บริเวณนี้ไ้รวมพื้นที่ส่วนใหญ่ของที่ราบสุงอิหร่านทางตะวันตกเฉียงใต้และที่ราบสูงมองโกเลียทางตะวันออกเฉียงไต้เข้าไว้ด้วยกัน และเรียกบิเวณนี้ว่า "ดินแดนหัวใจ" และยังเห็นว่าหากใครสามารถครอบครองดินแดนนี้จะสามารถบุกยุโรปตะวันตกได้โดยง่ายและจะสามารรถขยายอิทธิพลไปจนกระทังจรดชายฝั่ยของยูเรเซีย ทฤษฎี "ดินแดนชายขอบ" ของ นิโคลัส จอห์น สปีกแมน ซึ่งทฤษฎีนี้มองว่า ปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญที่จะมากำหนดนโยบายต่างประเทศ ซึ่งแนวคิดของสปีกแมน เป็นแนวคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดเรื่อง "ดินแดนหัวใจ" และมองว่า ดินแดนหัวใจไม่ใช่จุดยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญแต่ดินแดนที่มีความสำคัญนั้นคือบริเวณที่เรียกวา "ดินแดนครึ่งวงกลมริมในเพราะบริเวณเหล่านี้เป็นบริเวณกันชน ระหว่างอำนาจทางบกและอำนาจทางทะเล โดยเรียกบริเวณนี้ว่า "ริมแลนด์"

          "ความฝันของจีน" เป็นคำสำคัญที่นาย ไสี จิ้นผิง " ประะานาธิบดีแห่งสาะารณรัฐประชาชจีนได้กล่าวถึงคำสำคัญนี้เป้นปรัชญาที่ใช้ในการปกครองประเทศเืพ่อยืนหยัดและัฒนาระบอบสังคมนิยมจีน ยังได้ขยายความฝันจีนไปกว้างขวาง ได้แก่ "ความฝันของจีน และความฝันของโลก" โดยความฝันของจีนไม่ใช่เพียงแค่ความฝันเท่านั้น แต่เป็นการดำเนินการใดๆ ที่นำไปสู่การบรรลุความฝันของจีนและไม่มีชาติใดต้องเสียผลประดยชน์การบรรลุความฝันจีนยังได้สร้างโอกาสในการพัฒนาของประเทศอื่นๆ ทังของการช่วยส่งเสริมการผลักดนการพัฒนาและแสวงหาสันตุภาพของมนุษยชาติซึ่งประเทศจีนพยายามนำพาประชาชาติจีนให้บรรลุถึง "ความฝันของจีน" โดยการผลักดันการฟื้นฟูครั้งใหญ่ ผ่่านการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นเมืองแห่งเทคดนดลยี, เส้นทางสายไหมดิจิทัลฯและเสนอแนวคิดเชิงกลยุทธในการร่วมกันสร้าง "แนวเขตเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมใหม่" และ "เส้นทางสายไหมทางทะเลในคริสต์ศตวรรษที่ 21 "รวมเรียกกลุยุทธ "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" One Belt and One Road กลุยุทธ์ดังกล่าวนี้ได้พึ่งพาอาศัยกลไกที่มีอยู่และริเร่ิมความร่่วมมือะดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพในการเชิดชูด้านสันติภาพ การพัฒนาและความร่วมมือการเป็นหุ้นส่วนทางเศราฐกิจกับประเทศต่างๆ ตามเส้นทาง...

          อาเซียน สมาคมประชาชาติอาเซียนแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของ


ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศรวมถึงให้อาเซียนมีความเข้มแข็ง มีภูมิด้านทานที่ดีในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดับโลกและเมือนำมาวิเคราะห์กับบริบททางภูมิศาสตร์ จะเห็นได้ว่า การวิเคราะหืในระดับนี้มองว่าประเทศต่างๆ ล้วนมีความต้องการกับเดียวกันกับอาเวียน เพราะอาเซียนมีบทบาทสำคัญในการผลักดันความร่วมมือไปสุ่เป้าหมายของประเทศนั้นๆ, การกำหนดแผนต่างๆ ที่มากเกินไป และสวนทางกับหลักปฏิบัติในความเป็นจริง ในปัจจุบันตัวแผนความร่วมมือต่างๆ ของอาเซียนถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ล้าสมัย, การวิเคราะห์ระดับรากฐาน อัตลักษณ์ และตัวตนของประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้สร้างอาเวียนให้ดีประหนึงประชาคมโลก แต่ในทางตรงกันข้ามผุ้คนยังกังวลต่อตัวตนของอาเซียน เนื่องจากเมือเกิดการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ คนเร่ิมแข่งขันกันมากขึ้น และด้วยเตหุผลดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเสื่อมถอยในอัตลักษณ์ของอาเซียน... ที่มา :https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00306.pdf

          สาระสำคัญของเอกสารมุมมองของอาเซียนต่อแนวคิด อินโด-แปซิฟิก เอกสารมุมมอง ของอาเซียนต่ออินโด-แปซิฟิก มีหลักการที่สำคัญ คือ การมีส่วนร่วม กับความเกื้อกูลซึ่งกันและกัน รวมไปถึงเน้นหลักการ 3M ได้แก่ การไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน Mutual Trust, ผลประโยชน์ร่วมกัน Mutual Benefit, และความเคารพซึ่งกันและกัน Mutual Respec, นอกจากนี้ยังยึดหลักการสำคัญของความเป็นแกนกลางของอาเวียน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งระบุหลัการทั้งหมดที่มาจากสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นพื้นฐานหลักในการขับเคลื่อนของอาเซียน

         เอกสารมุมมองฯ ยังระบุถึงความร่วมมือที่เป็นรูปะรรมดังนี้

         - ความร่วมมือทางทะเล โดยการส่งเสริมความปลอดภัยทางทะเล เสรีภาพ ในการเดินเรือและการบิน รวมถึงต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกรูปแบบ ตลอดจนส่งเสริมการระงับข้อพิพาทอย่างสันตุ และส่งเสริมความร่่วมมือในการแก้ไขปัญหามลพิษทางทะเล 

         - การเชื่อมโยง มุ่งเน้นความร่ว่มมือการเชือมโยงระหว่างภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกและกับอาเซียน ภายใต่้แผนความเชื่อมโยงระหวา่งกันในอาเวียน ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมโยงทางอากาศ และระหว่างประชาชนต่อประชาชน เป็นต้น

          - เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ ปี 2030 มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการบรรลุการพัฒนาที่ยังยืนของสหประชาชาติ โดยการส่งเสริมและกำหนดทิศทางในการขับเคลื่อนเป้าหมายดังกล่าวในระดับภูมิภาค เช่น บรรจุลงในวิสัยทัศน์อาเซียน และส่งเสริมศูนย์อาเซีนเพื่อการศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ป็นรูปะรรม ดดยไทยได้ให้ความสำคัญกับ "การเชื่อมดยงและการพัฒนาที่ยั่งยืน" เนื่องจากสอดคล้องกับแนวคิดหลักของไทยที่เป็นประธานอาเซียน คือ "ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน"

          - ความร่ว่มมือด้านเศราฐกิจในด้านต่างๆ มุ่่งเน้นการอำนนวนความสะดวกทางการค้าและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโลจิสติกส์และบริการการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิพบัติเสริมสร้างและส่งเสริมการรค้าและการลงทุนดยดสนับสนุนการดำเนินการพิมพ์เขียวประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และข้อตกลงการค้าเสรีอื่นๆ รวมถึงความร่วมมือทางเศราฐกิจระดับภูมิภาค และส่งเสริมการพัฒนาเทคโนดลยีและนวัตกรรมร่วมกัน..ที่มา : https://www.sscthailand.org/uploads_ssc/research_201908231566549437899454.pdf

          อินโด-แปซิฟิก สหรัฐฯเป็นชาติมหาอำนาจในภุมิภาคอินโด-แปซิฟิก พื้นที่ภูมิภาคนี้ทอดยาวจาก
ชายฝั่งแปซิฟิกไปจรดมหาสมุทรอินเดียและเป็นที่อาศัยของผุ้คนกว่างกึ่งหนึ่งของประชากรโลก โดยมีขนาดเศาฐกิจเกื่อบ 2ใน 3 ของเศราฐกิจดลก รวมทั้งเป็นที่ตั้งของ 7 กองทัพที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีทหารอเมริกันประจำการอยุ่ในภูมิภาคนี้มากว่าที่อื่นใดนอกจากสหรัฐฯ ภูมิภาคนี้สนับสนุนงานของอเมริกามากกว่า 3 ล้านตำแน่งและเป็นแหล่งที่มาของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในสหรัฐฯเกือบ 900,000ล้านเหรียญสหรํญฯ ภูมิภาคนี้ขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจถึง 2 ใน 3 ของโลก จึงย่อมจะทรงอิทธิพลมทากขึ้นและมีความสำคัญต่อสหรัฐฯย่ิงขึ้นไปในอนาคต...https://th.usembassy.gov/th/us-indo-pacific-strategy-th/

         
อินโด-แปซิฟิกกับความสัำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลก 

         อินโดแปซิฟิกเป็นกระแสการเมืองโลก เป็นคำใหม่ในช่วงสิบปีที่ผ่านมาโดยเข้ามาแทนทร่ เอเชีย-แปซิฟิก ตั้งแต่ปี 2017 ซึ่งมีนัยยะในเชิงยุทธศาสตร์และภูมิรัฐศาสตร์ดดยจะเกี่ยวข้องกับอาณาบริเวณมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิกในทางภูมิศาสตร์เส้นทงการค้า การดินเรือในมหาสมุทร สินค้าและบริการ น้ำมัน และทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะที่เอเชียแผซิฟิก จะมีนัยยะทางเศราฐกิจของภูมิภาคมากว่าและเสมือนเป็นหลังบ้านของอเมริกา สำหรับปัจจบันหากกล่าวถึง อินโด-แปซิฟิก"จะหมายถึงวิสัยทัศน์ หรือแนวทาง ในกาารดำเนินนดยบายระหว่างประเทศ ซึ่งกลายเป็นยุทธศาสตรืของประเทศต่างๆ ยกเว้นสาะารณรัฐจีน และสหพันธรัฐรัสเซีย ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อาเซียน ยุโรป เร่ิมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง โดย โดนัลด์ ทรัมป์ อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มใช้คำ "อินโด-แปซิฟิก"ตั้งแต่ปี 2016-2017 และนาย ชินโซ อาเบะอดีตนายกรัฐมนตรีญุ่ปุ่น ได้ให้ความร่วมือกันสหรัฐฯและได้เพ่ิมเติมคำว่า a free and open Indo-Pacific เพื่อเน้นยำ่ว่าภูมิภาค "อินโด-แปซิฟิก" เป็นเขตเสรีและเปิดกว้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ออสเตรเลียได้เคยถอนตัวออกจากอินโด-แปซิฟิก ในช่วงปลายปี 2017 ด้วยเหตุผลความไม่พร้อมทางกลาโหมของประเทศและแนวนโยบาย

           
นอกจากนี้ อินโด-แปซิฟิก ยังเกี่ยวข้องกับการแข่งขันกันระหวางจีนและสหรัฐอเมริกาทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ โลกเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไซเอร์สเปซ และภูมิรัฐศาาสตร์ โดยมีปัจจัยสำคัญดังนี้

          - เศรษฐกิจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับผลประดยชน์ของแต่ละฝ่่าย และเส้นทางการเดินเรือที่เป็นประเด็นตั้งแต่ปี 2000 

          - ความแข้งกร้าวของจีนที่เพ่ิมมากขึ้น ตามที่จีนมีนดยบายที่จะทำให้ประเทศมีความย่ิงใหญ่ เห้นได้จากการที่จีนพยายามเป็นอภิมหาอำนาจของโลกผ่านการจัดทำโครงการต่างๆ เช่น การเชื่อมโยงเส้นทางสายไหมทั้งทางเรือและถนน การเชื่อมอาณาบริเวณเข้าด้วยกัน การให้ประเทศต่างๆ กุ้ยืมในการสร้างดครงสร้างพื้นฐานทางทะเลจีนใต้ แผนที่ "เส้นประ 9 เส้น" การอ้างกรรมสิทธิของจีเหนือหมู่เกาะเพื่อหวังผลประโยชน์จากทรัพยากรพลังงาน การประมง ซึ่งฟิลิปินส์เคยฟ้องร้องจีนไปยังศาลอนุญาดตตุลากาารระหว่างประเทศว่าเป็นเรื่องผิดกฎหมายทางทะเล รวมถึงการสร้างเกาะเที่ยมของจีน เป็นต้น

          - ความเป็นอภิมหาอำนาจของดลกว่าประเทศใดจะเป็นอันดับ 1 ของดลก ผ่านการสร้างกลไกและกติกาขึ้นมา ดดยสหรัฐอเมริกาไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลงดุลอำนาจความเป็นอันดับหนึ่งไปสู่จีน จึงสร้างพันธมิตรเพื่อถ่วงดุลอำนาจกับจีน

          - การขาดดุการค้าของสหรัฐฯ โดยเฉพาะจีนที่สหรัฐฯยังคงต้องพึคงพาซึ่งกันและกันรวมถึงปัจจุบันจีนไม่ยอมสหรัฐฯอย่างเช่นที่ญี่่ปุ่นเคยเป็นโจทย์ใหญ่ของสหรัฐฯแต่สามารถตกลงกันได้ จึงเป็นประเด็นที่สหรัฐฯจะต้องแก้ไขปัญหานี้ รวมถึงปัจจัยทางการเมืองในประเทศของสหรํฐฯเอง

          AUKUS (เป็นอักษรย่อจากชื่อของประเทศผู้ลงนามร่วม) เป็นกติกาสัญญาความมั่นคงไตรภาคีระหว่างประเทศออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐฯ ภายใต้สัญญานี้สหรัฐฯและสหราชอาณาจักร


ตกลงที่จะช่วยออสเตรเลียในการพัฒนาและใช้งานเรือดำนิ้พลังนิวเคลียร์ โดยเป็นการเพ่ิมบทบาทางการทหารของชาติตะวันตกในภูมิภาค แปซิฟิก โดยแหล่งข่าวในทำเนียบขาวระบุว่าการลงนามนี้ได้รับการวางแผนมาเพื่อต่อต้านอิทธิพลของ จีน ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ซึ่งเป็นคำอธิบายที่นักวิเคราะห์เห็นพ้องต้องกัน และนักวิเคราะห์ยังมองว่าเป็นหนทางทางหนึ่งที่จะปกป้องสาะารณรัฐจีน (ประเทศไตหวัน) จากการขยายตัวของ จีน 

          ออคัสมีลักษณะเป็นข้อตกลงที่สืบทอดจากกติกาสัญญาแอนซัส ซึ่งมีอยุ่แล้ว ระะหว่าง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐ โดยนิวซีแลนด์ถูกกั้นออกไปเนื่องจากนโยบายห้ามใช้พลีังงงานนิวเคลียร์..ฝรั่งเศสเรียกตัวเอกอัครราชทูตประจำออสเตรเลียและสหรัฐฯกลับประเทศเนื่องจากข้อตกลงดังกล่าวมาพร้อมกับการยกเลิกข้อตกลงซื้อขายเรือดำน้ำระหวา่งฝรั่วเศสกับออสเตรเลีย..

 ออคัน ครอบคลุมประเด็นสำคัญ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ สงครามไซเบอร์ สมรรถนะใต้น้ำ สมรรถนะในการโจมตีระยะไกล เป็นต้น ..

        ด้วยระบบโครงสร้างของโลกที่แบ่งขั่วอำนาจออกเป็น 2 ขั้วมากยิ่งขึ้น โดยมีประเด็นอ่อนไหวเรื่องการเดินเรือในทะเลจีนใต้ของจีน ที่พยายามแผ่อิทธิพลมากขึ้น จึงทำให้กลุ่ม AUKUS มีบทยาทมากขึ้น โดยกลุ่มพันธมิตรด้านความมั่นคงนี้ ก่อให้เกิดความระแวงของจีนรวมถึงการละเมิดความไว้เนื่อเชื่อใจของันธมิตรอย่างฝรั่วเศส ดังนั้น AUKUS จึงถือเป็นเรื่องที่ไม่คาดการณ์ไว้ ซึงก่อให้เกิดการคาดไม่ถึงให้แก่พันธมิตรอย่างฝรั่งเศส อาเซียน รวมถึงจีนอีกด้วย นอกจากนั้นยังถือเป็นยุทธศาสตร์ข้ามชาติที่ส่งสัญญาณบางอยบ่างให้กับภูมิภาค อินโด-แปซิฟิกว่า สหรัฐฯพร้อมเป็นพันธมิตรทางด้านความั่นคงในแง่คุณค่าของประชาธิไตย และปกป้องภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกจากจีน ขณะเดียวกันภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก

           Quadrilateral Security Dialogue Quad เป็นกลุ่มจตุภาคีระหว่าง ออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุ่น และสหรัฐ เป็นกลุ่มที่สำคัญของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ประเทศซึ่งอยุ่ในกลุ่มนี้ยังไม่เลือกข้างและรักษาระยะห่างกับจีนและสหรัฐอเมริกา และแต่ละประเทศมีมิติที่แตกต่างกันออกไป... ที่มา : article_20220204144003.pdf

           ความมั่นคงแห่งชาติ คือการพิทัก์สภาพรัฐ และพลเมืองของชาติต่อวิกฤตของชาติ ด้วย การทูต กำลังทางการทหาร อำนาจทางการเมือง และพลังทางเศรษฐกิจ ซึ่งแน่นอนว่่าประเทศที่มีกำลังและอำนาจมากกว่าย่อมมีความได้เปรียบในการป้องกันประเทศมากกว่า รัฐภูมิศาสตร์ถูกนำมาใช้ในการกำหนดนโยบายของประเทศต่างๆ อาทิ ทฤษฎหังใจโลก, ซึงป็นทฤษฎีตั้งต้นของภูมิรัฐศาสตร์ ทฤษฎีของ นิโครัส จอห์น สปีกแมน ซึ่งเกิดขึ้นที่หลังมองว่า จุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญไม่ใช่บริเวณหัวใจโลก แต่บริเวณที่เรียกว่า  "ริมแลนด์" เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญ  ซึ่งเป็นบริเวณกันชนระหว่างอำนาจทางบกและอำนาจทางทะเล มีความสำคัญต่อการ 

        ความมั่นคงแห่งชาติเป็นส่วน ของการรวมตัวของประเทศเล็กๆ ซึ่งจะกล่าวถึงอาเซียน ซึ่งมาณาบริเวณตั้งอยู่บริเวณที่เรียกว่า "ริมแลนด์" อาเซียนประกอบด้วย 10 ประเทศ ในตะวันออกเฉียงใต้ของเอเซีย ซึ่งหลังจากจีนขึ้นมาเป็นมหาอำนาจ ก็แผ่อิทธิพลเข้ามาในอาเซียนด้วย ปัญหา ทะเลจีนใต้ ปัญหา ประเทศไต้หวัน ซึงทำให้ภูมิรัฐศาสตร์บริเวณ ทะเลจีนใต้ต่อถึงอาเซียนเกิดความตึงเครียด

       อินโด- แปซิฟิก  ถูกจัดตั้งขึ้นโดยสหรัฐอเมริกา โดยมี สมาชิกที่สำคัญอาทิ อเมริกา ญี่ปุ่น อินเดีย  และออสเตเลีย หรือที่เรียกว่่า กลุ่ม Quad จีนมองว่า เห็นถึงภัยคุกคาม ต่อเมื่อ การรวมกลุ่ม AUKUS อัคคัส ซึ่งเป็นการร่วมกลุ่ม ระหว่าง สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย เป็นการร่ว่มมือกันเพื่อจะช่วยออสเตรเลีย พัฒนาการใช้เรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งการรวมกลุ่มนี้สร้างความประหลาดใจให้แก่ประเทศพันธมิตร อยาง ฝรั่งเศส และรวมถึง อาเซียนด้วย แต่มีผุ้กล่าวว่า ในการรวมกลุ่มครั้งนี้จะเป็นหลักประกันด้านความมั่นคงให้กับประเทศไต้หวัน

          

         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...