ประธานาธิบดี อำนาจดังกล่าวรวมถึงการดำเนินการและบังคับใช้กฎหมายของรัฐบาลกลางและความรับผิดชอบในการแต่งตั้งเจ้าหน้าทีทฝ่ายบริหาร เจ้าหน้าที่ทางการทูต เจ้าหน้าที่กำกับดูแล และเจ้าหน้าที่ตุลาการของรัฐบาลกลาง ดดยองิตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจประะานาะิบดีในการแต่างตังและรับเอกอัครราชทูต และทำในธิสัญญากับมหาอำนาจต่างประเทศและกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาในเวลาตาอมา ตำแหน่งประธานาธิบดีในปัจจุบัมีความรับผิดขอบหลักในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯ บทบาทดังกล่าวรวมถึงความรับผิดชอลบในการกำกับดูแลกองทัพที่มีค่าใช้จ่ายสูงที่สุดในโลก ซึ่งมีคลังอาวุธนิวเคลียร์ใหญ่เป็นอันดับสอง
นอกจากนี้ ประธานาธิบดียังมีบทบาทนำใหนการตรกฎกมายของรัฐบาลกลางและการกำหนดนดยบายในประเทศ โดยเป็นส่วนหนึ่งของระบบการแบ่งแยกอำนาจมาตรา 1 หมวด 7 ของรัฐธรรมนูญ ให้อำนาจประธานาะิบดีในการลงนามหรือยับยั้งกฎหมายของรัฐบาลกลาง เนื่องจากประธานาธิบดีใยุคใหม่มัถุกมอง
ว่าเป็นผุ้นำของพรรคการเมือง การกำหนดนโยบายที่สำคัญจึงถูกกำหนดขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยผลของการเลือกตั้งตั้งประธานาะิบดี ดดยประธานาธิบดีมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมลำดับความสำคัญของนดยบายองตนต่อสมาชิกรัฐสภาที่มักขึ้นอยุ่กับยประธานาธิบดีในการเลือกตั้ง ในทศวรรษที่ผ่านมา ประธานาธิบดียังใช้คำสั่งฝ่ายบริหารกฎระเบียบของหน่วยงาน และการแต่่างตังตุลาการมากขึ้นเรือยๆ เพื่อกำหนดนโยบายในประเทศ...https://en.wikipedia.org/wiki/President_of_the_United_States
ระบบแรกที่คนอเมริกันสร้างขึ้นมาคือระบบปกครองตนเอง ทำ "สัญญาสังคม" ในทฤษฎี ของล็อก เลือตั้งหัวหน้าและออกกฎหมายสำหรับอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นประชาธิปไตรชาวบ้านแบบธรรมชาติ ดั่งธรรมนูญที่ทุกคนต้องทำตามกฎของชุมชน มีการเลือกหัวหน้าชุมชนโดยดูจากคุณสมบัติทางศาสนาเป็นเกณฑ์ มีการประชุมเป็นประจำ ซึ่งกลายมาเป็นสภาผุ้แทนราษฎรหลังจากได้เอกราช หรือ กล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า คือการเลือกตั้งคนที่เป็นหัวหน้าหรือตัวแทนเป็นประเพณีเก่าของคนอเมริกันนับแต่มาก่อตั้งอาณานิคม และสภาผุ้แทนก็เป็นสภานที่พบปะปรึกษาหารือกัน
หลังจากเป็นเอกราชและประกาศใช้รัฐธรรมนูญแล้ว คือกการประสานระหว่างเสรีภากับระเบียบสังคม ผลประโยชน์ส่วนตัวกันส่วนรวมา
อเมริกันกลัวอำนาจรัฐบาลกลางมาก ประสบการณ์สมัยอยุ่ใต้องกฤษเชื่อวารัฐบาลอำนาจมากมกป็นทรราชย์ และคอร์รัปชันจึงออกกฎหมายเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญเรียกว่า "บิลส์ ออฟ ไรท์" หรือบทบัญญัติคุ้มครองสิทธิเสรีภ่พลเมืองในทุกด้านจากอำนาจรัฐบาล
ในทางหลักการอุดมการณ์การเมืองของประชาชนอยู่เหนือรัฐบาลและผุ้มีอำนาจ อันเป็นลักษณะเด่นของมหาชนรัฐ (รัฐที่ไม่มีกษัตริย์) รัฐบาลแรกไม่มีการเลือกตังเพราะทุกคนให้ความเห็นชอบต่อ จอร์จ วอชิงตัน ผุ้นำการปฏิวัติ หลังจากนั้น เขายืนยันไม่ต่อวาระอีก และขอให้คนอื่นขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี เกิดความแตกแยกออกเป็นสองฝ่าย คือ กลุ่มการเมืองที่เน้นอำนาจรับฐาลกลาง กับ กลุ่มที่เน้นอำนาจมลรัฐเหนือรัฐบาลกลาง นำไปสู่การเกิดพรรคการเมืองสองพรรค จากนั้นนำมาสู่การเกิดพรรคเดโมแครตกับพรรควิก จนเมือมีปัญหาเรื่องทาศ ที่เป็นนโยบายระดับชาติฐานเสียงแยกกันระหว่างภาคเหนือที่ไม่เอาระบบทาสกับภาคใต้ที่สนับสนุนระบบทาส พรรควิกจึงสลายตัวไป เกิดเป็นพรรครีพับลิกันขึ้นมาที่ไม่สนับสนุนระบบทาส จำนำไปสุ่สงครามกลางเมืองและปลดปล่อยทาสในที่สุด
จากนั้นระบบสองพรรคระหวางเดโมแครตกับรีัพบลิกัก็กลายเป็นระบบพรรคการเมืองที่ลงรากลึกในโครงสร้างเศราฐกิจระบบทุนนิยมและสภาบันการเมืองอเมิรกันที่ไม่อาจยุบหรือทำลายลงได้ไม่วาจะอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญก็ไม่อาจทำได้ ทั่งสองพรรคมีอุดมการณ์หลักและจุดยืนทางการเมืองที่ชัดเจน รวมถึงฐานเสียงอของทั้งสองพรรค
การเลือกตั้งเป็นเส้นเลือดใหย๋ในระบบการเมืองอเมิรกัน ข่าวการเลือกไพรมารีของทั้งสองพรรคตึ้งแต่ปลายปีที่แล้วถึงกลางเดือนสิงหาคมปีนี้แสดงวให้เห็นถึงความศักดิ์สิทะิ์ของการเลือกตั้งในอเมริกา มีการเลือกตัึ้งทุกระดับจากสวนกลาง มลรัฐ แขวง เมือง หมู่บ้าน ตำแหน่งมากมาย รวมถึงผุ้พิพากาษระดับมลรัฐ คณะกรรมการการศึกษา ในเมืองและอำเภอ ระบบเลือกตังอเมิรกาจึงเป็นระบบกระจายอำนาจด้วย จากการที่ประชาชนมีบทบาทหลักในการดำเนินการเลือกตั้ง ทำให้เกิดการดำเนินการเลือกตั้งไพรมารีหรือการเลือตั้งขั้นต้นสำหรับคัดเลือกผุ้สมัครเข้าแข่งเป็นสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรและผุ้วาการมลรัฐ ไม่ปล่อยให้อยุ่ในมือของแกนนำและผุ้มีอิทธิพลเข้ามาครอบงำเหนือพรรค ในระยะยาวกรรมการพรรคหมดอำนาจในการผูกขาดเหนือการเลือกผู้สมัครในการเข่งขันเลือกตั้งระดับต่างๆ ของพรรค จำต้องยอมให้การแต่งตั้งและการหาเสียงคนของพรรคในตำแหน่งต่างๆ ดำเนินไปโดยสมาชิกของพรรคการเมืองในมลรัฐและเมืองนั้น
เอง อีกด้านหนึงคือมีองค์กรทางสังคมอื่นๆ เช่น กลุ่มอาชีพ เอกชน รวมถึงอาสาสมัครเข้ามาทำหน้าที่ในการสนับสนุนควบคุมกำกับและให้คำเสอนแนะต่อพรรคว่าควรเลือกใหคร ควรแต่งตั้งใครให้เป็นอะไร เป็นต้น ในที่สุดระบบพรรคการเมืองลดบทบาททางสัคมลงไป กลายเป็นสภาบันหนึงมีบทบาทพอๆ กับสถาบันังคมอื่นๆ เพระาไม่ได้มีอำนาจพิเศษมากกว่าคนอื่น
การออกกฎระเบียบเกี่ยวกับการเลือกตัง เป็นอำนาจของแต่ละมลรัฐจัดการดูแลการเลือกตั้งกันเอง ไม่มีกฎหมายเลือกตั้งซึ่งเป็นการละเมิดอำนาจในรัฐะรรมนูญเรื่องเสรีภาพทางการเมืองของพลเมือง รัฐะรรมฯุญอเมริกาจึงพุดถึงการจำกันสิทธิเสรีภาพประชาชนน้อยที่สุด แต่ควบคุมกำกับประธานาธิบดี(ฝ่ายบริหาร) และสมาชิกรัฐสภามากว่า ส่วนากรลงโทษก็ต้องกระทำโดยรัฐสภาคองเกรสเท่านั้น...https://www.the101.world/sanctity-of-us-elections/
การเมืองอเมริกาไม่เคยหยุดนิ่ง ที่เป็นเช่นนี้มมีหลายปัจจัย ทั้งปัจจัยทางการเมืองคือมีระบบที่มั่นคง รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งสำคัญสุงสุด ปัจจัยทางเศรษฐกิจคือมีระบบทุนนิยมเสรีที่เปิดให้มีการแข่งขันเสรีของุทุกคน คนที่มีความสามารถ ทำให้ปัจเจกบุคลมีโอากสในการเคลือนไหวได้มาก ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมคืออเมริกาเป็นสังคมที่มีความหลากหลายทงเชื้อชาติศาสนาและสีผิว ทำให้มีประเด็นจุดประกายให้แก่การปะทะโต้แย้งกันไม่ขาดสาย โดยเฉพาะระบบที่พรรคการเมืองมีบทบาทสำคัญในการคัดเลือกคนที่จะเข้าไปนั่งในรัฐสภาแห่งอำนาจ แต่ไม่เคยมียุคไหนที่าการเืองอเมริกันมีความชัดแย้งอย่างหนักเท่าสมัย
โดนัลด์ ทรัมป์ ในปี 2016 นับตั้งแต่เขาในช้วิธีการปกครองและบริหารรัฐบาลอย่างที่ไม่เคยมีประธานาธิบดีคนก่อนๆ เคยทำกันมา ที่สำคัญือการใช้อำนาจของประธานาธิบดีอย่างไม่มีขีดจำกัด เป็นอำนาจอันล้นเกินที่เขาอ้างวามาจากรัฐะรรมฯุญ ที่ไม่มีการระบุการจำกัดอำนาจของหัวหน้าฝ่ายบริหารคือประธานาธิบดีไว้ นำไปสู่การประกาศคำสั่งในหลายเรือง เช่น การห้ามคนมุสลิมจากหกประเทศตะวันออกกลางเข้าสหรัฐฯ ด้วยข้อหาการกก่อการร้าย ปิดพรมแดนแม็กซิโก และจับกุมผุ้เขาประเทศผิดกฎหมายอย่ารุนแรง...https://www.the101.world/absolute-presidential-immunity/
ไม่มีเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่ชี้ชัดว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของภูมิทัศน์การเมืองสหรัฐฯ แต่ความเปลี่ยนแปลงชัดเจนที่สุดอาจจะเป็นการชนะเลือกตั้งของ โดนัลด์ ทรัมป์ เป็นสร้างประวัติศาสตร์ใหม่ในสหรัฐฯ หลงจากทรัมป์ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี เราได้เห็น "แบล็ก ไลฟส์ แมทเทอร์" เห้นการขยายตัวของ กลุ่ม "ไวท์ ซูพรีมมาซิส" ไปจนถึง เหตุจลาจล 6 มกราคม 2021 ที่แสงให้เห็นว่าสังคมอเมริกันมีคามแตแยกในระดับที่ประนีประนอมไม่ได้ อย่างไรก็ตาม จากงานวิจัยจาอ พิว รีเสริซ์ เซ็นเตอร์ แสดงให้ห็นว่าการแบ่งฝ่ายแบ่งขั้นเร่ิมาตั้งแต่สมัยโอบามาแล้ว แต่อาการคอนนั้นอาจไม่รุนแรงเท่ายุค ทรัมป์
มีงานวิจัยเกี่ยวกับทัศนาะของคนเอมิรกันต่อเหตุจลาจล 6 มกราคม จากผุ้ชุมนุมไม่ยอมรับผลการเลือกตั้งแล้วบุกเข้าไปในอาคารรัฐสภา จากมหาวิทยาลัย แมริแลนด์ ทำร่วมกับ วอชิงตัน โพสต์ ให้ข้อมุลที่น่าสนใสจ คือตอนที่เหตุการณืเพ่ิงเกิดขึ้น นักกรมเืองรวมถึงผุ้สนับสนุนพรรครีพับลิกันต่างก็ประณามเหตุการณ์นั้น แต่พอผ่านมาสามปีมีการทำโพบนั้นอีกครั้งในปี 2024 พบว่าฝ่ายผุ้สนับสุนรีพับลิกันประณามเหตุการณ์นี้น้อยลง
ผลสำรวจนี้สะท้อนว่าตอนการจลาจลเพิ่งเกิดขึ้นคนยังไม่ได้ตกผลึกำับเหตุการณ์นั้นอย่งเต็มที่ยิ่งเป็นเหตุกาณ์ที่ตนไม่เคยคาดคิดวาจะเกิดปฏิกิริยาจึงออกมาเป็นการต่อต้านและการมอืงว่าเหตุการณ์นี้ไม่มีความชอบธรรม พอเวลาล่วงผ่านไปหลายปี ผุ้คนพยายามจัดการกับชุดขั้อมุลในหัวให้เป็นไปในทิศทางที่ตนเชื่อ เทรนด์เลยออกมาเป็นแบบนี้...https://www.the101.world/pongkwan-sawasdipakdi-interview/