วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555
Ogodei Khan
เมื่อโอโตไก ข่าน ขึ้นครองราช ทรงสร้างเมืองหลวงกลางทุ่งหญ้าสเต็ปส์ (ในกาลครั้งนี้มีผู้วิเคราะห์ ว่าการสร้างเมืองหลวงห่างไกลออกไปทำให้เศรษกิจของมองโกลไม่เติบโต การจะทำการค้ากับมองโกลต้องเดินทางไกลจึงไม่ค่อยจะมีพ่อค้าเข้ามาทำการค้ากับมองโกล) และทรงแบ่งดินแดนจักรวรรดิมองโกลออกเป็นสามส่วน
อาณาจักรมองโกลแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
- แคว้น่มหข่าน ปกครองโดยข่านสูงสุด เมืองหลวง จักรวรรดิ์มองโกล กรุง คาราโครัม และแผ่นดินจีนที่พิชิตมาได้ เจ้าชายตูลิ ปกครองแผ่นดินมองโกลชั้นใน
- แคว้นซาตาไกข่าน ปกครองโดยเจ้าชายซาตาไกข่าน คือ ดินแดนเอเชียกลางทั้งหมดที่พิชิตมาได้ในสมัยเจงกิสข่าน
-แค้วนกระโจมทอง (คิพชัคข่าน) เติมที่เป็นของเจ้าชายโจชิ แต่เจ้าชายโจชิสวรรคต จึงตกสู่ผู้สืบทอด คือ “เจ้าชายบาตูข่าน” โอราสองค์โต เจ้าชายโจชิ
โดยมีนโยบายขยายดินแดนดังเดิม ซึ่งการขยายดินแดนในยุค เจงกิสข่านนั้นมีทั้งทาง จีน อินเดีย เปอร์เซีย และยุโรป โอโตไก
ปี ค.ศ. 1230 โอโกไต ข่านส่ง “สุโบไต”คุมกองทัพเข้ายึดครองดินแดนในเอเซียกลางหลังจากดินแดนแห่งนี้เคยถูก เจงกิสข่านตีมาแล้ว กองทัพมองโกลเข้ายึดครองเขตเอเชียกลางและขยายดินแดนครอบคลุม ตุรกี ยูเครน อาร์เมเนีย และอาร์เซอไบจาน จากนั้นในเวลาเดียวกัน พระองค์และพระอนุชา ตูลิ นำกองทัพหลวงข้ามแม่น้ำฮวงโหรบกับราชวงศ์จิอีกครั้ง โดยทัพมองโกลส่งสารขอความช่วยเหลือจากราชวงศ์ซ่งให้ช่วยทำสงครามกับอาณาจักรจิน และมีชัยชนะเหนืออาณาจักรจิน อาณาจักรจินล่มสลาย ปี ค.ศ. 1233 เจ้าชายตูลิได้รับบัญชานำทัพเข้าตี “อาณาจักรโคกรูโย” ครั้งใหญ่ กระทั่งกษัตริย์ โคกรูโย ต้องหนีไปอยู่บนเกาะคังวา ทว่าเจ้าชายตูลิทรงเสด็จสวรรคตอยางกระทันหัน ต่อมาเกิดกรณีพิพาทเรื่องพรมแดนกับราชวงศ์ซ่ง สภาคูรัลไต(ก่อตั้งเพื่อป้องกันการใช้อำนาจเกินขอบเขตของข่านสูงสุด โดยสภานี้มีหน้าที่ลงมติในการแต่งตั้งขุนนาง ประกาศภาวะสงครา การออกกฎหมายและการคัดเลือกองค์รัชทายาท) ของมองโกลจึงมีความเห็นให้ขยายอาณาเขต เข้าตีราชวงศ์ซ่ง (ซ่งใต้) พร้อมกับส่งกองทัพอีกทัพหนึ่งเข้าตียุโรป
ในครั้งนี้แม่ทัพคือ บาตู Batu ลูกชายของโจชิ พร้อมทหารพันธมิตร ประมาณ150,000 คน โดยเริ่มจากการบุกเผ่า บัลการ์ บริเวณแม่น้ำวอลการ์
“ มองโกลรุกรานทวีปยุโรปโดยข้ามภูเขายูรัล ในปี ค.ศ. 1236 เข้าโจมตีอาณาจักรรัฐเซีย ในปี ค.ศ. 1242 (รวมเวลาที่อยู่ในรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1237-1342) มองโกลเข้าโจมตีอาณาจักรเคียฟเผาเมืองต่าง ๆ ฆ่าฟันผู้คนเกือบหมด ผู้ใดไม่ตายก็บังคับให้เป็นเชลย กองทัพบาตูเข้ามาทางภาคใต้ของเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ ยึดบัลแกเรีย มองเดเวีย และวัลลาเซีย มองโกลเข้าตีแต่เพียงตะวันออกของรัสเซียเท่านั้น แต่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ก็ยอมอยู่ใต้อำนาจ บาตูตั้งกองบัญชาการทางบริเวณลุ่มแม่น้ำโวลก้า ปัจจุบัน คือ เมืองซาไรเก่า The Old Sarai และตั้งอาณาจักรอยู่ทาง บริเวณที่เรียกวา โกลเด้นฮอร์ด The Golden Horde ซึ่งประกอบด้วย มณฑลไครเมีย มณฑลกาซาน บริเวณไซบีเรียตะวันตก ประมุขของอาณาจักรมีฐานะเป็นข่าน รองลงมาจากข่านผู้ยิ่งใหญ่
ชาวรัฐเซียต้อง ถวายเครื่องบรรณาการให้แก่ข่านทั้งสองอาณาจักร และเมื่อต้องการให้ชาวรัสเซียส่งกองทัพเข้าไปช่วยข่านทำสงคราม ชาวรัฐเซียต้องนำกองทัพเข้าไปช่วยทันที”
( Golden Horde หรือ Jochi Ulus เป็นคำที่สลาฟตะวัออกใช้เรียกมองโกล ที่ต่อมากลายเป็นกลุ่มชน เติร์ก - มุสลิม ที่มาของคำว่าโกลเด้นฮอร์ด ไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด บางแห่งก็ว่าหมายถึงแค้มบาตู และต่อมาประมุขยองกลุ่มฮอร์ด ในมองโกเลีย Altan Orda หมายถึงแค้มพ์ทอง หรือ วัง บางแห่งกล่าวว่า บาตูมีเต้นท์สีททอง ซึ่งเป็นที่มา ของโกลเด้นฮอร์ด)
วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2555
Doctrine
ทายาทผู้สืบทอตำแหน่งข่านสูงสุดนั้นโดยทัวไปจะเป็นลูกคนโตโจชิ แต่ลูกคนโตของเจงกิสข่านไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นลูกของท่านข่านหรือลูกของข้าศึกที่จับตัวพระนางบรูไตไป ท่านข่านจึงจะยกตำแหน่งข่านสูงสุดในลูกคนที่ 2 แต่ลูกคนที่สองก็ไม่ยอมรับ จึงตกมาอยุ่ที่ลูกคนที่สาม ก็คือ โอโตไกข่าน
โดยทั้งนี้ท่านข่านจะแบ่งอาณาจักรที่อยู่ในปกครองนั้นให้กับลูกแต่ละคนปกครอง โดยจะมีข่านสูงสุดปกครองทำหน้าที่เป็นอาณาจักรหลัก หรือเมืองหลวงของจักรวรรดิ์
กาลครั้งนั้นทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างพี่น้องคือลูกคนโตและคนรองของท่านข่าน เจงกิสข่านทรงไม่เพิกเฉยต่อปัญหา แต่ท่านเป็นผู้เลิกระบบเครือญาติ โดยให้ความสำคัญกับผุ้ภักดีมากกว่า
เจงกิสข่านสั่งให้ลูกชายคนโตและคนรองเข้าตีเมือง เมืองหนึ่งร่วมกัน ผลคือล่าช้ากว่าที่ปกติมาก และเมืองก็ถูกทำลายและใช้การใดๆ ไม่ได้
ท่านข่านจึงทราบถึงความขัดแย้งระหว่างพี่น้องที่บานปลายเป็นความแตกแยก เจงกิสข่านจึงเรียกทั้งสองเข้าพบและกล่าวว่า
- If you can’t swallow your pride,you can’t lead
เจ้าไม่สามารถที่จะเป็นผู้นำได้ ถ้าไม่รู้จักยอมคนอื่น
- Never think that you are smartest or strongest
อย่าคิดว่าเรานั้นเก่งที่สุดแข็งแรงที่สุด
- He can never be happy until his people are happy
คนที่เป็นผู้นำไม่สามารถมีความสุขได้ จนกระทั่งประชาชนของเขานั้นมีความสุข
- Without the vition of a goal, a man can’t manage his own life, much less the live of others.
ถ้าไม่มีจุดมุ่งหมาย อย่าว่าแต่ปกครองคนอื่นเลย ชีวิตตัวเองยังไม่รู้เลยว่าจะจัดการอย่างไร
- You can conquer on different side of the lake should be ruled be ruled on different side of the lake
เจ้าสามารถจะชนะศึกได้โดยยุทธวิธีการรบและกำลังคร แต่การปกครองชาตินั้น ต้องชนะใจประชาชนเท่านั้น
- People conquered on different side of the lake should be ruled on different side of the lake
คนที่เราชนะมาได้จากที่ต่างกันก็ย่อมต้องการการปกครองที่ต่างกัน
วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555
Genghis Khan
เจงกิสข่าน ข่านผู้รวบรวมชนเผ่าต่างๆ และสถาปนาจักรวรรดิมองโกล บุรุษผู้ได้ชื่อว่าจักรพรรดินักรบ
พระนามเดิมคือ เตมูจิน พระราชบิดาเป็น หัวหน้าเผ่า เยซูไก และ พระราชมารดาคือ ฮูหลั่น
ทรงมีมเหสี คือ นางบูร์ไต ผู้ให้กำเนิดพระโอรสทั้ง 4 พระองค์ คือ โจชิ, ซาตาไก,โอโกไตข่าน,และตูลิและทรงมีพระราชนัดดา(หลาน) ดังนี้ บาตู, เบอไค, คูยัคข่าน, คาดัน, คาชิน, มองเกอ ข่าน, กุบไล ข่าน, ฮูเลกู, อริกโบเค..
จักรพรรดิเจงกิสข่านทรงมีพระชนม์มายุ 65 พรรษา มีพระชนมายุ ในศตวรรษที่ 17-23
หลังจากสถาปนา จักรวรรดิมองโกลแล้ว จึงขยายดินแดนไปทางตอนเหนือของจีนและสามารพปราบอาณาจักรจินลงได้ หลังจากนั้นพยายามจะทำสัมพันธ์ไมตรีกับ เปอร์เซีย จึงส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี กาลกลับเป็นเกิดเป็นชนวนเหตุแห่งสงคราม ที่โหดร้าย ดุดัน ยิ่งใหญ่ เกรียงไกร และการไล่ล่า อย่างยาวนาน หลังจากกลับจากการทำสงครามกับเปอร์เซียในตะวันออกกลาง ไม่นานนักเจงกิสข่านก็สวรรคต กระทั่งปัจจุบันยังไม่มีใครรู้แน่ว่าสุสานที่ฝั่งพระศพจักรพรรดิ์เจงกิสข่านอยู่ที่ใด
( วิธีการฝั่งศพของชาวมองโกล โดย การขุดหลุมให้ลึกมากๆ เมือฝั่งศพแล้วจะกลดินแล้วให้ม้าและอูฐวิ่งผ่านกระทั่งดินเรียบเป็นพื้อนเดียวกัน จากนั้นผู้ทำพิธีฝังจะนำลูกอูฐมายังหลุมฝังศพเพื่อฆ่าทิ้ง แม่อูฐที่เศร้าเสียใจจะดมกลิ่นซากศพของลูกอูฐ หลังจากนั้น 1 ปี วัชพืชจะขึ้นรก ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ตรงไหนเป็นหลุ่มฝังศพแต่ชาวมองโกลสามรถรู้ได้จากการพาแม่อูฐมาด้วย เพราะแม่อูฐสามารถจำกลิ่นของลูกอูฐได้ )
Mughal Dynasty
ในพุทธศตวรรษที่14 กองทัพอิสลามชาวเติร์ก ชาวตาตาร์ บุกเข้าสู่ลุ่มแม่น้ำต่าง ๆ ในแค้วนค้นธาราฐและประชิดแค้วนปัญจาบ กษัตริย์ชัยบาลแห่งราชวงศ์ซาหิยะของฮินดู ทำสงครามต่อต้าน กระทั้งกษัตริย์มาหมุ Mahmud แห่งราชวงศ์กลาซนาวิด แห่งจักรวรรดิกลาสนี่เข้ายึดเมืองเปษวาร์ ใช้เป็นที่มั่นของเติร์กอิสลาม และสถาปนาจักวรรดิกลาสนี่ Ghazni ขึ้นทางตอนใต้ของกรุงคาบูล และนำกองทัพอิสลามรุกรานอินเดีย สามารถยึดพื้นที่อินเดียเหนือ ตั้งแต่ลุ่มนำสินธุ แคว้นปัญจาบจรดลุ่มน้ำยมุนา รวมทั้งแผ่นดินในลุ่มปัญจมหานที่ทั้งกมด ศาสนาอิสลามแพร่เข้าสู่คาบสมุทรอินเดียครั้งใหญ่ และยังแผ่ขยายอาณาจักรไปจรดเปอร์เซียและเมโสโปเตเมีย
ช่วงที่ทำสงครามระหว่างอินเดียและฮินดู Mahmud เข้าทำลายศาสนสถานและผุ้คนต่างศาสนาจำนวนมากมายกองทัพอิสลามเข้าปล้นทำลายโบสถ์วิหารต่าง ๆ ทั้งศาสนาฮินดูและพุทธพินาศย่อยยับ
แคว้นปัญจาบตกอยู่ใต้การปกครองชาวเติร์ก ราชวงศ์กลาสวานิคเกือบ 200 ปีอิทธิพลทางศาสนา รวมทั้งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวปัญจาบเปลี่ยนแปลงไปจากการผสมผสานและครอบงำทางวัฒนธรรม.. ต่อมาจักรวรรดิกลาสนี่พ่ายแพ้ต่อกษัตริย์อิสลามชาวกูริสผู้สภาปนาราชวงศ์กอร์ Ghor ขึ้นในแค้วนคันธาราฐ กองทัพกอร์ยกเข้ายึกแค้วนปัญจาบ ยึดเมืองเดลฮี เป็นฐานที่มั่นในการรุกรานเข้าสู้แค้วยพิหาร อ่าวเบงกอล ซึ่งกล่าวได้ว่าอินเดียภาคเหนือส่วนใหญ่อิสลามยึดครองหมดแล้ว
ชาวอินเดียทีนับถือฮินดูลุกฮือต่อต้านอิสลาม ทำสงครามกับจักวรรดิกอร์ กษัตริย์กอร์ยกทัพเข้าบทขยี้ชาวฮินดูจนราบคาบ และกษัตริย์ มูหะหมัด กอรี ก็เสียชีวิต ณ ที่แค้วนปัญจาบนั้นเอง
ชาวอิสลามเติร์กยกให้ กัตบุคิน ไอบัก Kutbuddin Aibak ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งเดลฮี ซึ่งได้กลายเป็นอาณาจักรอิสลามเดลฮี มีสุลต่านสืบทอกกันมา 26 พระองค์
ปลายพุทธศตวรรษที่ 17 จากการไล่ล่าองค์ชาย “เจลัล อัคดิน” พระโอรส สุลต่านโมฮัมเหม็ด แห่งซามาร์คันต์ โดยการนำทัพของตูลิ พระโอรสองค์สุดท้องในครั้งแรก และการนำทัพโดยเจงกิสข่านเองที่เข้าตีตั้งแต่จักรวรรดิกลาสนี้ นครเบคเตรีย เบคราม แค้วนคันธาราฐ เข้าสู้ปัญจาบ แคชเมียร์เข้าประชิดแค้วยสุลต่านเดลฮี หยุดอยู่ที่นครตักสิลาริมฝั่งแม่น้ำสินธุและไม่รุกรานต่อ ทำให้ชาวเติร์กกลุ่มอินเดียเหนือขาดการติดต่อกับเติร์กกลุ่มอัฟกานิสถาน
พุทธศตวรรษที่ 18 ตาเมอร์เลนสุลต่านมองโกล ชาวมองโกลที่นับถือศาสนาอิสลามปกครองซามาร์คานด์ นำกองทัพมองโกลเข้าโจมตีแค้วนปัญจาบ และดินแดนในปกครองของเติร์ก บุกทำลายอาณาจักรเดลฮี ประชาชนพละมืองถูกสังหารมากมาย และจับเป็นทาส ทัพมองโกลรุกต่อเข้าสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา เข้าทำลายและปล้นสดมภ์บ้านเรือนและแค้วนต่าง ๆ ในอินเดียเหนือ และเดินทางกลับโดยไม่ยึดครอง ทิ้งไว้เพียงสภาพปรักหักพัรกร้าง ปราศจากผุ้คนที่มีชีวิต…
พุทธศตวรรษที่ 20 (คริตสตวรรษที่ 16 ) อิสลามมองโกลเข้ายึดครองแค้วนปัญจาบและอินเดียเหนืออีกครั้ง และ สถาปนาราชวงศ์โมกุล Moghal โดยจักรพรรดิบาบูร์ ขึ้นปกครองอินเดียเหนือโดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่นครเอลฮี ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2069 (ค.ศ. 1526) เป็นต้นมา
ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักรอยู่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 และครอบครองดินแดนส่วนใหญ๋ในอนุทวีปอินเดีย นับแต่อ่าวเบงกอลทางตะวันออกไปจนถึง Balochistan ในทางตะวันตก และจากแค้วนแคชเมียร์ทางเหนือไปจนถึง Kaveri ทางใต้ ประชากรประมาณ 110-150 ล้านคน ดินแดนในครอบครองมากว่า 3'.2 ล้านตารางกิโลเมตร
ยุคคลาสสิกของจักรวรรดินี้เริ่มต้นในรัชสมัย จาลาลุดดิน โมฮัมหมัด อัคบาร์ หรือ “อัคบาร์มหาราช” อินเดียเจริญก้าวหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม รวามถึงมีสันติสุขระหว่างศาสนา
ยุคทองแห่งสถ าปัตยกรรมโมกุล คือ ยุคของพระเจ้า ชาห์เชฮัน จักรพรรดิองค์ที่ 5 ซึ่งได้โปรดให้สร้างอนุสาวรีย์อันงดงามวิจิตรขึ้นจำนวนมาก ที่มีชื่อสเยที่สุดในบรรดานี้คือ “ทัชมาฮาล แห่ง อัครา” รวมไปถึง มัสยิดเพิร์ล,ป้อมแดง,มัสยิดจามา และป้อมละฮอร์… จักวรรดิโมกุลขึ้นถึงจุดสูงสุดในการแผ่ขยายอาณาเขตในรัชสมัยของออรังเซบ ซึ่งอาจเป็นมนุษย์ที่รำรวยที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดของโลก ในช่วงพระชนม์ของพระองค์
ทัชมาฮาล สุสานหิอ่อนที่ผุ้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุในโลก สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิโมกุลผู้มีรักมั่นคงต่อพระมเหสีของพระองค์ เจ้าชายขุร์รัม ซึ่งต่อมาคือสมเด็จพระจักรพรรดิชาณ์ชะฮัน พระราชสมภพในปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ.1592) ตามตำนานกล่าวว่า เจ้าชายขุร์รัมได้พบกับอรชุ มันท์ พานุ เพคุม ธิดาของรัฐมนตรี เมือพระองค์ มีพระชนมายุ 14 พรรษา พระองค์ทรงหลงใหลและหลงรักนาง เจ้าชายขุร์รัมจึงซื้อเพชรด้วยเงิน 10,000 รูปี และบอกพระบิดาของพระองค์ว่าพระองค์มีความประสงค์ที่จะแต่งงานกับบุตรสาวของรัฐมนตรี พิธีอภิเษกถูกจัดขึ้นหลังจากนั้น 5 ปี หลังจากนั้นทั้งคู่มิเคยอยู่ห่างกันเลย
พระองค์ทรงเรียก อรชุมันท์ พานุ เพคุม ว่า มุมตัช มาฮาล แปลว่า “อัญมณีแห่งราชวัง” พระมเหสีติดตามพระองค์แม้ในสนามรบ แนะนำพระองค์ในรื่องราชการของประเทศ และพระองค์ทางซาบซึ่งในน้ำพระทัยของพระมเหสียิ่งนัก พระนางทรงสิ้นพระชนม์หลังจากให้กำเนิดทายาทองค์ที่ 14 การสิ้นพระชนม์ของนางทำให้พระเจ้าขาห์ ชหาน โศกเศร้าถึง 2 ทศวรรษ ราชสมบัติส่วนใหญ่หมดไปกับการการสร้างอนุสรณ์แห่งความรักของทั่งสองพระองค์
พระองค์ถูกกักชังอยู่ถึง 8 ปี กรทั่งสวรรคต ตามตำนานกล่าว่าในวันสุดท้ายของชีวิตพระองค์ทรงใช้เวลาทั้งวันกับการจ้องมองเศษกระจกที่สะท้อนภาพของทัชมาฮาล และสิ้นพระชนม์ด้วยเคศษกระจกในกำมือ…พระเจ้าชาห์ ชหานถูกฝังในทัชมารฮาล เคียงข้างมเหสี..มีบางคนกล่าวว่าพระเจ้าชาห์ ชหาน มิได้ประสงค์ที่จะถูกผังร่วมกับพระมเหสี แต่พระองค์มีแผนการที่จะสร้างสุสานอีกแห่งด้วยหิอ่อนสีดำ เพื่อเป็นสุสานของพระองค์ แต่ผุ้รู้หลายท่านเชื่อว่าพระองค์ประสงค์จะถูกฝั่งเคียงข้างพระนางมุมตัช มาฮาล
ช่วงที่ทำสงครามระหว่างอินเดียและฮินดู Mahmud เข้าทำลายศาสนสถานและผุ้คนต่างศาสนาจำนวนมากมายกองทัพอิสลามเข้าปล้นทำลายโบสถ์วิหารต่าง ๆ ทั้งศาสนาฮินดูและพุทธพินาศย่อยยับ
แคว้นปัญจาบตกอยู่ใต้การปกครองชาวเติร์ก ราชวงศ์กลาสวานิคเกือบ 200 ปีอิทธิพลทางศาสนา รวมทั้งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวปัญจาบเปลี่ยนแปลงไปจากการผสมผสานและครอบงำทางวัฒนธรรม.. ต่อมาจักรวรรดิกลาสนี่พ่ายแพ้ต่อกษัตริย์อิสลามชาวกูริสผู้สภาปนาราชวงศ์กอร์ Ghor ขึ้นในแค้วนคันธาราฐ กองทัพกอร์ยกเข้ายึกแค้วนปัญจาบ ยึดเมืองเดลฮี เป็นฐานที่มั่นในการรุกรานเข้าสู้แค้วยพิหาร อ่าวเบงกอล ซึ่งกล่าวได้ว่าอินเดียภาคเหนือส่วนใหญ่อิสลามยึดครองหมดแล้ว
ชาวอินเดียทีนับถือฮินดูลุกฮือต่อต้านอิสลาม ทำสงครามกับจักวรรดิกอร์ กษัตริย์กอร์ยกทัพเข้าบทขยี้ชาวฮินดูจนราบคาบ และกษัตริย์ มูหะหมัด กอรี ก็เสียชีวิต ณ ที่แค้วนปัญจาบนั้นเอง
ชาวอิสลามเติร์กยกให้ กัตบุคิน ไอบัก Kutbuddin Aibak ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งเดลฮี ซึ่งได้กลายเป็นอาณาจักรอิสลามเดลฮี มีสุลต่านสืบทอกกันมา 26 พระองค์
ปลายพุทธศตวรรษที่ 17 จากการไล่ล่าองค์ชาย “เจลัล อัคดิน” พระโอรส สุลต่านโมฮัมเหม็ด แห่งซามาร์คันต์ โดยการนำทัพของตูลิ พระโอรสองค์สุดท้องในครั้งแรก และการนำทัพโดยเจงกิสข่านเองที่เข้าตีตั้งแต่จักรวรรดิกลาสนี้ นครเบคเตรีย เบคราม แค้วนคันธาราฐ เข้าสู้ปัญจาบ แคชเมียร์เข้าประชิดแค้วยสุลต่านเดลฮี หยุดอยู่ที่นครตักสิลาริมฝั่งแม่น้ำสินธุและไม่รุกรานต่อ ทำให้ชาวเติร์กกลุ่มอินเดียเหนือขาดการติดต่อกับเติร์กกลุ่มอัฟกานิสถาน
พุทธศตวรรษที่ 18 ตาเมอร์เลนสุลต่านมองโกล ชาวมองโกลที่นับถือศาสนาอิสลามปกครองซามาร์คานด์ นำกองทัพมองโกลเข้าโจมตีแค้วนปัญจาบ และดินแดนในปกครองของเติร์ก บุกทำลายอาณาจักรเดลฮี ประชาชนพละมืองถูกสังหารมากมาย และจับเป็นทาส ทัพมองโกลรุกต่อเข้าสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา เข้าทำลายและปล้นสดมภ์บ้านเรือนและแค้วนต่าง ๆ ในอินเดียเหนือ และเดินทางกลับโดยไม่ยึดครอง ทิ้งไว้เพียงสภาพปรักหักพัรกร้าง ปราศจากผุ้คนที่มีชีวิต…
พุทธศตวรรษที่ 20 (คริตสตวรรษที่ 16 ) อิสลามมองโกลเข้ายึดครองแค้วนปัญจาบและอินเดียเหนืออีกครั้ง และ สถาปนาราชวงศ์โมกุล Moghal โดยจักรพรรดิบาบูร์ ขึ้นปกครองอินเดียเหนือโดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่นครเอลฮี ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2069 (ค.ศ. 1526) เป็นต้นมา
ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักรอยู่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 และครอบครองดินแดนส่วนใหญ๋ในอนุทวีปอินเดีย นับแต่อ่าวเบงกอลทางตะวันออกไปจนถึง Balochistan ในทางตะวันตก และจากแค้วนแคชเมียร์ทางเหนือไปจนถึง Kaveri ทางใต้ ประชากรประมาณ 110-150 ล้านคน ดินแดนในครอบครองมากว่า 3'.2 ล้านตารางกิโลเมตร
ยุคคลาสสิกของจักรวรรดินี้เริ่มต้นในรัชสมัย จาลาลุดดิน โมฮัมหมัด อัคบาร์ หรือ “อัคบาร์มหาราช” อินเดียเจริญก้าวหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม รวามถึงมีสันติสุขระหว่างศาสนา
ยุคทองแห่งสถ าปัตยกรรมโมกุล คือ ยุคของพระเจ้า ชาห์เชฮัน จักรพรรดิองค์ที่ 5 ซึ่งได้โปรดให้สร้างอนุสาวรีย์อันงดงามวิจิตรขึ้นจำนวนมาก ที่มีชื่อสเยที่สุดในบรรดานี้คือ “ทัชมาฮาล แห่ง อัครา” รวมไปถึง มัสยิดเพิร์ล,ป้อมแดง,มัสยิดจามา และป้อมละฮอร์… จักวรรดิโมกุลขึ้นถึงจุดสูงสุดในการแผ่ขยายอาณาเขตในรัชสมัยของออรังเซบ ซึ่งอาจเป็นมนุษย์ที่รำรวยที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดของโลก ในช่วงพระชนม์ของพระองค์
ทัชมาฮาล สุสานหิอ่อนที่ผุ้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุในโลก สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระจักรพรรดิโมกุลผู้มีรักมั่นคงต่อพระมเหสีของพระองค์ เจ้าชายขุร์รัม ซึ่งต่อมาคือสมเด็จพระจักรพรรดิชาณ์ชะฮัน พระราชสมภพในปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ.1592) ตามตำนานกล่าวว่า เจ้าชายขุร์รัมได้พบกับอรชุ มันท์ พานุ เพคุม ธิดาของรัฐมนตรี เมือพระองค์ มีพระชนมายุ 14 พรรษา พระองค์ทรงหลงใหลและหลงรักนาง เจ้าชายขุร์รัมจึงซื้อเพชรด้วยเงิน 10,000 รูปี และบอกพระบิดาของพระองค์ว่าพระองค์มีความประสงค์ที่จะแต่งงานกับบุตรสาวของรัฐมนตรี พิธีอภิเษกถูกจัดขึ้นหลังจากนั้น 5 ปี หลังจากนั้นทั้งคู่มิเคยอยู่ห่างกันเลย
พระองค์ทรงเรียก อรชุมันท์ พานุ เพคุม ว่า มุมตัช มาฮาล แปลว่า “อัญมณีแห่งราชวัง” พระมเหสีติดตามพระองค์แม้ในสนามรบ แนะนำพระองค์ในรื่องราชการของประเทศ และพระองค์ทางซาบซึ่งในน้ำพระทัยของพระมเหสียิ่งนัก พระนางทรงสิ้นพระชนม์หลังจากให้กำเนิดทายาทองค์ที่ 14 การสิ้นพระชนม์ของนางทำให้พระเจ้าขาห์ ชหาน โศกเศร้าถึง 2 ทศวรรษ ราชสมบัติส่วนใหญ่หมดไปกับการการสร้างอนุสรณ์แห่งความรักของทั่งสองพระองค์
พระองค์ถูกกักชังอยู่ถึง 8 ปี กรทั่งสวรรคต ตามตำนานกล่าว่าในวันสุดท้ายของชีวิตพระองค์ทรงใช้เวลาทั้งวันกับการจ้องมองเศษกระจกที่สะท้อนภาพของทัชมาฮาล และสิ้นพระชนม์ด้วยเคศษกระจกในกำมือ…พระเจ้าชาห์ ชหานถูกฝังในทัชมารฮาล เคียงข้างมเหสี..มีบางคนกล่าวว่าพระเจ้าชาห์ ชหาน มิได้ประสงค์ที่จะถูกผังร่วมกับพระมเหสี แต่พระองค์มีแผนการที่จะสร้างสุสานอีกแห่งด้วยหิอ่อนสีดำ เพื่อเป็นสุสานของพระองค์ แต่ผุ้รู้หลายท่านเชื่อว่าพระองค์ประสงค์จะถูกฝั่งเคียงข้างพระนางมุมตัช มาฮาล
The Hunter
จากการทำร้ายและทำลายคณะทูตมองโกลอันเป็นสิ่งที่ทำให้เจงกิสข่านโมโหเป็นอย่างมากยกทัพมาทำสงครามกว่า1,700ไมล์ เพื่อตีเมืองซามาร์คันต์ ในระหว่างทำสงครามก็สูญเสียพระนัดดา กระทั่งประกาศฆ่าล้างเมืองทุกผู้นาม และเมื่อสามารถตีซามาร์คันต์ได้จึงเผาทำลายเมืองและเข่นฆ่าผู้คนกว่า แสนคน เหลือเพียงผู้มีความรู้ความสามารถ 30,000 กว่าคนที่พากลับมายังมองโกล
“บรรดานครอันงดงามดอฬารของควาเรศม์ถูกเผามอดไหม้เป็นเพียงเศษซากเถ้าธุลี ไร่นาสาโทที่เขียวชอุ่มกลับกลายเป็นที่รกร้างไร้ซึ่งพืชพรรณ ตามเส้นทางต่าง ๆ มีแต่สุนัขจิ้งจอกละแร้งกาที่คอยจิกกินซากศพของผุ้คนที่ล้มตายเกลื่อนกลาด” (คำบันทึกของนักประวัติศาสตร์มุสลิม)
เจงกิสข่านนำแท่งเงินมาหลอมเป็นน้ำกรอกเบ้าตาของผู้ที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นผู้ปล้นกองคาราวานและสังหารปมู่คณะทูตมองโกล ส่วนกษัตริย์นักรบ สุลต่านโมฮัมเหม็ด กลายเป็นผู้ขลาดเขลาที่หนีศึกเพียงอย่างเดียว เพราะนับแต่ศึกครั้งแรกที่ชายแดนจักรวรรดิ์ พรเองค์ไม่เคยนำกอบทัพใดเข้าขับไล่พวกมองโกลอีกเลย พระองค์เพียงแต่ย้ายพระราชฐานหนีการไล่ล่าของพวกพมองโกลไปเรื่อย ๆ อย่างไร้จุดหมาย.. เจงกิสข่านยังส่งกองทัพออกไล่ล่ามิหยุดหย่อน กระทั่งพระองค์ต้องหนีตายไพร้อมกับราชบริพารไม่กี่คนไปยังเกาะกลางทะเลสาบและสวรรคตที่นั้น
ในการทำลายล้างอย่างหนักนั้น บรรดาขุนนางชาวจีนทูลว่าพระองค์ควรจะปกคองจักรวรรดิด้วยหลักธรรมการปกครองจากบรรดปราชญ์และปัญญาชนไม่ใช่ด้วยคมดาบและกองทัพอย่างเดียวไม่ ปรมาจารย์ในตำนาน“ชิวชู่จี” จึงปรากฎกายขึ้น
“การสยบสรรพสิ่งในใต้หล้าหาใช่การเข่นฆ่าสรรพชีวิตไม่ จงปกครองแผ่นอินโดยการเคารพวิถีแห่งสวรรค์ แลมีความรักต่อปวงประชาเป็นที่ตั้ง”
คำสอนของ “ฉางชุน”ขัดกับนโยบายมองโกลโดยสิ้นเชิง แต่ะทว่าเป็นคำสอนที่ได้รับการยอมรับ และ “ฉางชุนได้ตำแหน่างราชครูแห่งราชสำนักมองโกล”
และในช่วงเวลาเดียวกันนี้กองทัพมองโกลที่ออกล่าสุชต่านโมฮัมเหม็ดชาห์ยังคลรุกไล่ออกไปไกลเรื่อยๆ จนถึงพรมแดนประเทศอิรักแล้วยกวกขึ้นเหนือไปตีชน “เผ่าบุลการ์” ที่อาศัยดินแดนในรัสเซียทางใต้
ขุนพลมองโกลที่ทำหน้าที่ไล่ล่า คือ “ซีเป โนยอน” ขุนพลธนูมือฉมัง และ “สุโบไต บาฮาดูร์” สุโบไต ตาเดียว ผู้เก่งกล้างและโหดอำมหิต
กลยุทธคือการใช้ทัพม้าเบาตีล่อระหว่างฝั่งแม่น้ำเมือตามมาก็หนีข้ามแม่น้ำยั่วยุอีกฝ่ายให้โมโห จึงส่งทัพเต็มอัตราเข้าโจมตี มองจึงใช้ทหารม้าหนักซึ่งซุ่มอยู่รอโอกาสและจังหวะที่เหมาะสมในที่สุดก็เป็นฝ่ายได้ชัยชนะ
ที่เอเซียกลางในเวลาเดียวกัน บรรดขุนศึกที่รองชีวิตนั้นต่างพยายามรวบรวมกองทัพเพื่อู้อาณาจักรโดยมีองค์รัชทายาทของสุลต่านโมฮัมเหม็ด ชาฆ์ พระองค์หนึ่งบังคงรอดชีวิตอยู่เป็นผุ้นำขบวนการ มีนามว่า “เจลัล อัคดิน” ทรงรวบรวมกองทัพจากบบรดาผู้ลีภัยและบ้านเมืองที่หลงเหลือจากการรุกรานของมองโกล กองทัพมุสลิมจากดินแดนต่าง ๆ อาทิ อัพกัน เติร์ก เปอร์เซีย และยังมีกองทหารอาสาจากรัฐสุลต่าลแห่งเดลีในอินเดียมาเข้าร่วมกองทัพด้วยมีกำลังนับแสน คือ มากกว่ามองโกลหลายเท่าตัว…ในครั้งนี้ทัพมุสลิมมีชัยครั้งใหญ่เหนือกองทัพมองดกล ณ “สมรภมปาวัน” จึงทำให้มีมุสลิมจากดินแดนต่าง ๆ มาเข้าร่วมกองทัพเรื่อยๆ บรรดานครรัฐต่อต้านมองโกลที่รักษาการณ์เมืองอย่างหนัก จึงต้องถอยกลับทัพหลวง
เจงกิสข่าน “ทรงกริ้ว” จึงบัญชาให้เจ้าชายตูลิ โอรสพระองค์เล็ก นำทัพไปปราบปราม ซึ่งสุดท้ายแล้วกองทัพพันธมิตรมุสลิมสลายตัวไป เจ้าชายเจลัล หนีรอดไปได้ เจงกิสข่านทรงนำทัพ
“ล่า” ด้วยพระองค์เอง
กองทัพมองโกลตามล่าทัพพันธมิตรอิสลามจนถึงริมแม่น้ำสินธุพรมแดนอินเดีย เจ้าชายเจลัลจึงสังเผาเรื่อข้ามฝากทุกลำเพื่อไม่ให้ทหารคิดหนี
นับว่าได้ผล การสู้แบบจนตรอกทำให้กองทัพมองโกลถอยล่นกลับไป แต่มองโกลไม่รอให้พันธมิตรอิสลามได้ใจไปกว่านั้น ยกพลมาทั้งสองปีกบดขยี้พินาสสิ้น..เจ้าชายเจลัลหนีไปได้
เจงกิสข่านกลับเข้ามาจัดการการบริหารและปกครองที่เมืองซามาร์คันต์ โดยให้ผู้อพยพกลับเข้ามาอยู่ในเมืองพร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการกระทำของพระองค์..ทางด้านกองทัพมองโกลที่ยังตามล่าเจ้าชายเจลัลนั้นข้ามแม่น้ำสินธุเข้าไปถึงดินแดนอินเดีย แต่ถูกกองทัพสุลต่านแห่งเดลียันไว้ การไล่ล่าในอินเดียจึงสิ้นสุดลง…หลังจากทำศึกอย่างยาวนาน ในดินแดนเอเซียกลางเจงกิสข่านจึงยกทัพกลับทุ่งหญ้ามองโกล ..
“บรรดานครอันงดงามดอฬารของควาเรศม์ถูกเผามอดไหม้เป็นเพียงเศษซากเถ้าธุลี ไร่นาสาโทที่เขียวชอุ่มกลับกลายเป็นที่รกร้างไร้ซึ่งพืชพรรณ ตามเส้นทางต่าง ๆ มีแต่สุนัขจิ้งจอกละแร้งกาที่คอยจิกกินซากศพของผุ้คนที่ล้มตายเกลื่อนกลาด” (คำบันทึกของนักประวัติศาสตร์มุสลิม)
เจงกิสข่านนำแท่งเงินมาหลอมเป็นน้ำกรอกเบ้าตาของผู้ที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นผู้ปล้นกองคาราวานและสังหารปมู่คณะทูตมองโกล ส่วนกษัตริย์นักรบ สุลต่านโมฮัมเหม็ด กลายเป็นผู้ขลาดเขลาที่หนีศึกเพียงอย่างเดียว เพราะนับแต่ศึกครั้งแรกที่ชายแดนจักรวรรดิ์ พรเองค์ไม่เคยนำกอบทัพใดเข้าขับไล่พวกมองโกลอีกเลย พระองค์เพียงแต่ย้ายพระราชฐานหนีการไล่ล่าของพวกพมองโกลไปเรื่อย ๆ อย่างไร้จุดหมาย.. เจงกิสข่านยังส่งกองทัพออกไล่ล่ามิหยุดหย่อน กระทั่งพระองค์ต้องหนีตายไพร้อมกับราชบริพารไม่กี่คนไปยังเกาะกลางทะเลสาบและสวรรคตที่นั้น
ในการทำลายล้างอย่างหนักนั้น บรรดาขุนนางชาวจีนทูลว่าพระองค์ควรจะปกคองจักรวรรดิด้วยหลักธรรมการปกครองจากบรรดปราชญ์และปัญญาชนไม่ใช่ด้วยคมดาบและกองทัพอย่างเดียวไม่ ปรมาจารย์ในตำนาน“ชิวชู่จี” จึงปรากฎกายขึ้น
“การสยบสรรพสิ่งในใต้หล้าหาใช่การเข่นฆ่าสรรพชีวิตไม่ จงปกครองแผ่นอินโดยการเคารพวิถีแห่งสวรรค์ แลมีความรักต่อปวงประชาเป็นที่ตั้ง”
คำสอนของ “ฉางชุน”ขัดกับนโยบายมองโกลโดยสิ้นเชิง แต่ะทว่าเป็นคำสอนที่ได้รับการยอมรับ และ “ฉางชุนได้ตำแหน่างราชครูแห่งราชสำนักมองโกล”
และในช่วงเวลาเดียวกันนี้กองทัพมองโกลที่ออกล่าสุชต่านโมฮัมเหม็ดชาห์ยังคลรุกไล่ออกไปไกลเรื่อยๆ จนถึงพรมแดนประเทศอิรักแล้วยกวกขึ้นเหนือไปตีชน “เผ่าบุลการ์” ที่อาศัยดินแดนในรัสเซียทางใต้
ขุนพลมองโกลที่ทำหน้าที่ไล่ล่า คือ “ซีเป โนยอน” ขุนพลธนูมือฉมัง และ “สุโบไต บาฮาดูร์” สุโบไต ตาเดียว ผู้เก่งกล้างและโหดอำมหิต
กลยุทธคือการใช้ทัพม้าเบาตีล่อระหว่างฝั่งแม่น้ำเมือตามมาก็หนีข้ามแม่น้ำยั่วยุอีกฝ่ายให้โมโห จึงส่งทัพเต็มอัตราเข้าโจมตี มองจึงใช้ทหารม้าหนักซึ่งซุ่มอยู่รอโอกาสและจังหวะที่เหมาะสมในที่สุดก็เป็นฝ่ายได้ชัยชนะ
ที่เอเซียกลางในเวลาเดียวกัน บรรดขุนศึกที่รองชีวิตนั้นต่างพยายามรวบรวมกองทัพเพื่อู้อาณาจักรโดยมีองค์รัชทายาทของสุลต่านโมฮัมเหม็ด ชาฆ์ พระองค์หนึ่งบังคงรอดชีวิตอยู่เป็นผุ้นำขบวนการ มีนามว่า “เจลัล อัคดิน” ทรงรวบรวมกองทัพจากบบรดาผู้ลีภัยและบ้านเมืองที่หลงเหลือจากการรุกรานของมองโกล กองทัพมุสลิมจากดินแดนต่าง ๆ อาทิ อัพกัน เติร์ก เปอร์เซีย และยังมีกองทหารอาสาจากรัฐสุลต่าลแห่งเดลีในอินเดียมาเข้าร่วมกองทัพด้วยมีกำลังนับแสน คือ มากกว่ามองโกลหลายเท่าตัว…ในครั้งนี้ทัพมุสลิมมีชัยครั้งใหญ่เหนือกองทัพมองดกล ณ “สมรภมปาวัน” จึงทำให้มีมุสลิมจากดินแดนต่าง ๆ มาเข้าร่วมกองทัพเรื่อยๆ บรรดานครรัฐต่อต้านมองโกลที่รักษาการณ์เมืองอย่างหนัก จึงต้องถอยกลับทัพหลวง
เจงกิสข่าน “ทรงกริ้ว” จึงบัญชาให้เจ้าชายตูลิ โอรสพระองค์เล็ก นำทัพไปปราบปราม ซึ่งสุดท้ายแล้วกองทัพพันธมิตรมุสลิมสลายตัวไป เจ้าชายเจลัล หนีรอดไปได้ เจงกิสข่านทรงนำทัพ
“ล่า” ด้วยพระองค์เอง
กองทัพมองโกลตามล่าทัพพันธมิตรอิสลามจนถึงริมแม่น้ำสินธุพรมแดนอินเดีย เจ้าชายเจลัลจึงสังเผาเรื่อข้ามฝากทุกลำเพื่อไม่ให้ทหารคิดหนี
นับว่าได้ผล การสู้แบบจนตรอกทำให้กองทัพมองโกลถอยล่นกลับไป แต่มองโกลไม่รอให้พันธมิตรอิสลามได้ใจไปกว่านั้น ยกพลมาทั้งสองปีกบดขยี้พินาสสิ้น..เจ้าชายเจลัลหนีไปได้
เจงกิสข่านกลับเข้ามาจัดการการบริหารและปกครองที่เมืองซามาร์คันต์ โดยให้ผู้อพยพกลับเข้ามาอยู่ในเมืองพร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการกระทำของพระองค์..ทางด้านกองทัพมองโกลที่ยังตามล่าเจ้าชายเจลัลนั้นข้ามแม่น้ำสินธุเข้าไปถึงดินแดนอินเดีย แต่ถูกกองทัพสุลต่านแห่งเดลียันไว้ การไล่ล่าในอินเดียจึงสิ้นสุดลง…หลังจากทำศึกอย่างยาวนาน ในดินแดนเอเซียกลางเจงกิสข่านจึงยกทัพกลับทุ่งหญ้ามองโกล ..
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555
Самарқанд
ซามาร์คันต์ เป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดเมืองหนึ่งในเอเชียกลาง ตั้งอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน เป็นโอเดซิสซึ่งได้รับน้ำมาจากคลองที่ขุดมาจากแม่น้ำซารัฟชาน ชื่อเดิมเขงเมืองซารม์คันด็ คือ เมืองมารกันดะ 329 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าเอล็กซานเดอร์มหาราช เสด็จผ่านเมืองนี้เพื่อทีจะเดินทางไปอินเดีย จึงยึดไว้ ต่อมาพวก เติร์ก อาหรับ และเปอร์เซีย ก็เข้าปกครองเมืองนี้ต่อ ๆ กันมา เมืองซามาร์คันด์แห่งนี้เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในยุคกลาง และในปี ค.ศ. 1215 เจงกิสข่านแผ่อาณาจักเข้าควบคุมเส้นทางสายไหม แล้วได้ยึดซามาร์คันด์ในปี ค.ศ. 1221....
เมืองซามาร์คันต์ ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า เซมิซ-เคนท์ แปลว่าจุดที่แม่น้ำตัดกัน ได้ชื่อว่าเป็น"อัญมณีแห่งอิสลาม"เป็นเมืองใหญ่อันดับสองรองจากทาชเคนท์ จากผลพวงความรุ่งเรืองของ "ทางสายไหม"ซามาร์คันต์ได้กลายเป็นเมืองสำคัญที่สุดในแถบนี้ มีการสร้างแนวกำแพงเมืองโอบล้อมทั้ง 4 ด้านและยังมีเสรีภาพทางศาสนา ที่นี่ มีทั้งวัิและโบสถ์ของโซโรแอสเตอร์ ศาสนาดั้งเดิม พุทธศาสนาและคริสตศาสนา ในศตวรรษที่ 9-10 เริ่มเป็นศูนย์กลางของศสนาอิสลามตะวันออก..
กิมย้งได้พรรณนาภาพเมืองซามาร์คันต์ ในยุคนั้นในหนังสือ "มังกรหยกภาค 1 " ตอนเจงกิสข่านยกทัพบุกยึดเมืองนี้ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ "ฮัวชื่อจือมอ" กลางดินแดนเมาะปักหรือทะเลทรายตอนเหนือว่า "... เป็นนครเลื่องชื่อของฮัวชื่อจือมอที่เพิ่งยกขึ้นเป็นเมืองหลวงใหม่..การจัดทหารจำนวนสิบกว่าหมื่นคอยเฝ้ารักษา สะสะมอาวุธกักตุนเสบียง วางมาตรการป้องกันอย่างแข็งขัน ความหนาแน่นแข็งแกร่งของกำแพงเมือง ยิ่งไม่มีนครใดในแผ่นดินจะเทียบเคียงได้"
".... ยอดเขาหิมะมีลักษณะประหลาด สูงชะลูดโดดเด่นอยู่กลางทุ่งหญ้า ค้ายพฤกษาใหญ่ที่ไร้กิ่งไร้ใบต้นหนึ่ง ชาวพื้นเมืองจึงขนานนามว่าเท็กบักฮง (ยอดเขาไม้โกร๋น) เมืองซามาการต์ปลูกอิงเชิงเขา กำแพงเมืองตะวันตกพึ่งพิงผนังผาด้านหนึ่ง ทั้งประหยัดค่าก่อสร้าง หนำซ้ำมั่นคงแข็งแรง แสดงออกถึงภูมิปัญญาของสถาปนิกที่สร้างเมืองนี้ ยอดเขาไม้โกร๋นมีลักษณะลาดชัน ประกอบด้วยหินแข็งแกร่ง ปราศจากต้อนไม่ใบหญ้างอกเงย ต่อให้เป็นลิงค่างยังไม่สามารถปีนป่ายขึ้นไม่"
จงกิสได้รู้จากพ่อค้าจากแดนไกลว่าิดินแดนของพวกเขาอุดมสมบูรณ์ตลอดปี เจงกิสข่านจึงส่งทูตและพ่อค้าไปเจริญสัมพันธไมตรีกว่า 40 คน
ชาร์โมฮัมเม์ด กษัตริยืผู้พิชิตแห่งเปอร์เซีย ขึ้นครองบัลลังค์โดยการปราบดาภิเศก เมื่อคณะทูต มองดกลมาถึงคณะทูตถูกกล่าวหาว่าเป็นสายลับ จึงถูกประหารทั้งหมดเหลือเพียงหัวหน้าทูต คนเดียว เมื่อห้วหน้าทูตกลับมาถึงมองโกล เจงกิสข่านโกรธเกรี้ยวอย่างมาก โดยตามธรรมเนียมมองโกล ทูต คือตัวแทนกษัตริย์การทำแบบนี้เป็นสิ่งที่ไม่น่าให้อภัย
เจงกิสข่านจึงจัดทัพเพื่อทำสงคราม โดยระยะทางในการเดินทางกว่า 1,700 ไมล์ หากพิจารณาตามพ้อนเพเดิมแล้ว เจงกิสข่านเป็นเพียงหัวหน้าเผ่ามองโกลเร่รอ่นเผ่าเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในเต็นท์ ไม่มีบ้านเมืองของตนเอง แต่สามรถปราบปรามจักรวรรดิต่าง ๆ ได้ราบคาบอย่างง่ายดาย ซึ่่งเป็นวีรกรรมที่ยิ่งใหญ่ การบุกเมืองซามาร์คันต์ ซึ่งเป็นเมืองระดับมหานคร เจงกิสข่านมีเพียงกองทัพม้พเีพียง 80,000คน
เมื่อยึดเมืองได้ ก็สั่งเผาเมือง และไล่ฆ่าผู้คนนับแสน เหลือไว้เฉพาะช่างฝีมือ และผู้มีความรู้เพียง 30,000 คน และนำคนเหล่านี้กลับไปยังมองโกลเลียเพื่อเป็นทรัพยากรบุคคลของชาติต่อไป..
หลังจากหมดอำนาจ จักรวรรดิมองโกล ในปี ค.ศ. 1910 ติ
มูร์ เลงค์ ข่านเป็นผู้นำความรุ่งฌรจน์คืนสู่จักรวรรดิดังเดิม จึงนำทัพเข้ายึดดินแดนตั้งแต่ทะเลดำไปจรดลุ่มน้ำสินธุ บุกทำลาย
บ้านเมืองจนสิ้นซาก ฆ่าฟันผู้คนจนสิ้นเมือง แล้วนำกะโหลกมากองสร้างเป็นพีระมิต เหลือไว้เพียงช่างฝีมือเพื่อ โดยส่งช่างเหล่านี้มานิรมิตซามาร์คันต์ให้กลายเป็นนครที่สวยงามอีกครั้ง...
ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าอุลุค เบก ซามาร์คันต์ได้กลายเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและวิทยาการ พระเจ้าอุลุค เบก ถูกลอบปลงพระชนม์ หลังจากนั้นนครนี้ก็ได้เสื่อมถอยอย่างรวดเร็วพร้อมกับเส้นทางสายไหมได้ปิดลง ในปี ค.ศ.1500 จึงตกเป็นของมองโกล โดยถูกพวกโกลเด้น ฮอร์ด เข้ายึดครองในคริสตวรรษที่ 19 ตกเป็นของรัฐเีซีย มีการตัดเส้นทางรถไปในปี 1896 และกลายเป็นศูนย์กลางทางการส่งออกสินค้าการเกษตร ภายหลังดินแดนี้ได้ถูกแยกกลายเป็นส่วนหนึ่งของประทเศอุซเบกิสถานปัจจุบันและเป็นมรดกโลก
Dliplomacy
การทูตเป็นศิลปะและทักษะ ในการเจรจา สนทนา สื่อสาร รวมถึงการติดต่อการค้าต่าง ๆ ระหว่างบุคคลที่ได้รับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นตัวแทนการเจรจา
ทูต ในปัจจุบันเป็ฯอาชีพที่มีเกียรติสูงยิ่ง เนื่องจากเป็นผู้ทำหน้าที่เจรจาความเมืองระหว่างรัฐ เริ่มจากการส่งข่าวสื่อสารระหว่างกันของรัฐต่อรัฐ
สมัยโบราณบันทึกทางการทูตปรากฎวามีผู้ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างรัฐมาตั้งแต่สมัยนครรัฐเมโสโปเตเมีย โดยเป็นผู้แทนส่งสาร์นและนำเครื่องบรรณาการต่างๆไปถวายยังรัฐอื่น
จักรวรรดิมองโกลนับแต่ยุคเจงกิสข่าน สิทธิและเสรีภาพทางการทูตเป็นมาตรฐานสากล โดยหากแค้วนใดดูหมิ่นหรือทำร้ายทูตมองโกล แค้วนนั้นจะถูกฆ่าล้างเมืองโดยไม่ปรานีพ่อค้าบางคนที่ถือสารทางการทูต จะได้รับป้ายที่เรียกว่า ไพซา เพื่อยกเว้นการเก็บภาษีและบังคับให้แคว้นต่าง ๆ ที่เดินทางฝ่านต้องคุ้มครองเป็นพิเศษ โดยใช้กำลังอำนาจกองทัพมองโกล
เหตุการณ์ สุลต่านแห่งควารัสม์ ที่ปล่อยให้เจ้าเทืองรอบนอกดังปล้นทูตของมองโกลแล้วเพิกเฉยไม่ลงโทษ ในที่สุดจักรวรรดิควาริสม์จึงต้องล้มสลายภายในเวลาเพียง สามปี
“เหตุการณ์ทำนองนี้เคยมีมาก่อนแล้วในประวัติศาสตร์ ในยุคโรมัน โรมันกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ในกฎหมาย Jus Gentium หรือประมวลกฎหมายที่ใช้บังคับกับคนนอกสัญชาติโรมัน การส่งข้าหลวง หรือทูตต่างพระเนตรพระกรรณซีซาร์ จะได้รับความมคุ้มครองเป็นอย่างยิ่ง หากแค้วนใดปฏิเสธหรือทำร้ายทูตของโรมัน จะถูกกองทัพโรมันบดขยี้ (อย่างโหดเหี้ยมป ดังเช่น ในสงครามมีเดีย หรือสงครามยิว”
เมื่อจักรวรรดิมองโกลรุ่งโรจน์ถึงที่สุด สันติภาพของมองโกล Pax Mongolica เป็นต้นแบบการคุ้มครองผุ้เจรจาการทูต
- แรบเบน บาร์ ชอว์มา แห่งราชวำนักมองโกล สามารถเดินทางจากนครหลวงข่านบาลิก(ปักกิ่งในปัจจุบัน) มาถึงกรุงลอนดอนเพื่อร่วมพิธีราชาภิเษก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่หนึ่งแห่งอักกฤษโดยปลอดภัย
- เฟรียร์ แพทพีนี สามารถเดนทางมายังคาราโครัมเพื่อสนทนาโต้วาที่ทางศาสนากับนักบวชในศาสนาอื่นและเดินทางกลับอย่างปลอดภัย
- ในบันทึกพ่อค้ามุสลิมกล่าวไว้ว่า ไม่มีที่ใดในจักรวรรดิมองโกลที่เป็นอันตรายต่อพ่อค้าและทูต ความสงบทางการทูตเช่นนนี้บันดาลใจให้ มาร์โค โปโล เดินทางมุ่งตะวันออกผ่านเส้นทางสายไหมและกลับมาอย่างปลอดภัย…
จากอิทธิพลของมองโกล การล่มสลายของลัทธิฟิวดัล และการปฏิรูปวัฒนธรรมในยุคเรอเนสซอง ทำให้ทูตกลับมามีเกียรติอีกครั้งในฐานะนักเจรจาผู้แทนองค์กษัตริย์ ในอิตาลียุคศตวรรษที 15 ทูตและนักเจรจามีบทบาทในการทำสนธิสัญญาพันธมิตรในการรบ และต่อรองผลประโยชน์ระหว่างนครรัฐ
ทูต ในปัจจุบันเป็ฯอาชีพที่มีเกียรติสูงยิ่ง เนื่องจากเป็นผู้ทำหน้าที่เจรจาความเมืองระหว่างรัฐ เริ่มจากการส่งข่าวสื่อสารระหว่างกันของรัฐต่อรัฐ
สมัยโบราณบันทึกทางการทูตปรากฎวามีผู้ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างรัฐมาตั้งแต่สมัยนครรัฐเมโสโปเตเมีย โดยเป็นผู้แทนส่งสาร์นและนำเครื่องบรรณาการต่างๆไปถวายยังรัฐอื่น
จักรวรรดิมองโกลนับแต่ยุคเจงกิสข่าน สิทธิและเสรีภาพทางการทูตเป็นมาตรฐานสากล โดยหากแค้วนใดดูหมิ่นหรือทำร้ายทูตมองโกล แค้วนนั้นจะถูกฆ่าล้างเมืองโดยไม่ปรานีพ่อค้าบางคนที่ถือสารทางการทูต จะได้รับป้ายที่เรียกว่า ไพซา เพื่อยกเว้นการเก็บภาษีและบังคับให้แคว้นต่าง ๆ ที่เดินทางฝ่านต้องคุ้มครองเป็นพิเศษ โดยใช้กำลังอำนาจกองทัพมองโกล
เหตุการณ์ สุลต่านแห่งควารัสม์ ที่ปล่อยให้เจ้าเทืองรอบนอกดังปล้นทูตของมองโกลแล้วเพิกเฉยไม่ลงโทษ ในที่สุดจักรวรรดิควาริสม์จึงต้องล้มสลายภายในเวลาเพียง สามปี
“เหตุการณ์ทำนองนี้เคยมีมาก่อนแล้วในประวัติศาสตร์ ในยุคโรมัน โรมันกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ในกฎหมาย Jus Gentium หรือประมวลกฎหมายที่ใช้บังคับกับคนนอกสัญชาติโรมัน การส่งข้าหลวง หรือทูตต่างพระเนตรพระกรรณซีซาร์ จะได้รับความมคุ้มครองเป็นอย่างยิ่ง หากแค้วนใดปฏิเสธหรือทำร้ายทูตของโรมัน จะถูกกองทัพโรมันบดขยี้ (อย่างโหดเหี้ยมป ดังเช่น ในสงครามมีเดีย หรือสงครามยิว”
เมื่อจักรวรรดิมองโกลรุ่งโรจน์ถึงที่สุด สันติภาพของมองโกล Pax Mongolica เป็นต้นแบบการคุ้มครองผุ้เจรจาการทูต
- แรบเบน บาร์ ชอว์มา แห่งราชวำนักมองโกล สามารถเดินทางจากนครหลวงข่านบาลิก(ปักกิ่งในปัจจุบัน) มาถึงกรุงลอนดอนเพื่อร่วมพิธีราชาภิเษก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่หนึ่งแห่งอักกฤษโดยปลอดภัย
- เฟรียร์ แพทพีนี สามารถเดนทางมายังคาราโครัมเพื่อสนทนาโต้วาที่ทางศาสนากับนักบวชในศาสนาอื่นและเดินทางกลับอย่างปลอดภัย
จากอิทธิพลของมองโกล การล่มสลายของลัทธิฟิวดัล และการปฏิรูปวัฒนธรรมในยุคเรอเนสซอง ทำให้ทูตกลับมามีเกียรติอีกครั้งในฐานะนักเจรจาผู้แทนองค์กษัตริย์ ในอิตาลียุคศตวรรษที 15 ทูตและนักเจรจามีบทบาทในการทำสนธิสัญญาพันธมิตรในการรบ และต่อรองผลประโยชน์ระหว่างนครรัฐ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...