วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Thein Sein

            อองซาน ซูจี ถูกควบคุมตัวอยู่ 15 ปี ระหว่างปี 1989-2010 เมื่อรัฐบาลทหาร(เปลี่ยนือจาก"สลอร์ค"ในปี 1997) จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2010  พรรคึ NLD มีมติบอยคอตการเลือกตั้ง เพราะมองว่าเป็นการเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม แต่อย่างน้อยที่สุด หลังการเลือกตั้งปี 2010 และการขึ้นดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี เต็ง เส่ง จากพรรค USDP พม่าก็มีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดี เร่ิมมีการแก้ไขกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกให้นักลงทุนทั้งภายในและภายนอกประเทศแต่ในด้านการเมืองและการจัดการความขัดแย้ง รัฐบาลฃเต็ง เส่ง ยังอยู่ีภายใต้การควบคุมของกองทัพ ซึ่งยังมีนายพล ตาน ฉ่วย ควบคุมใอยู่ อิทธิพลของกองทัพพท่าเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการก้าวสู่คงวามเป็นประชาธิปไตย...เมื่อการเมืองของประชาชนฝากความหวังไว้ที่ NLD มาโดยตลอด NLD จึุงเป็นพรรคการเมืองในฝั่งประชธิปไตยเพียนงพรรคเดียวที่พอจะสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ และประชาชนเอง แม้จะเป็นในพื้นที่ของพรรคกลุ่มชาติพันธุุ์ ก็พร้อมใจกันเลือก NLD เข้าไป เมื่อมีการเลือกตั้งในปี 2012 เพราะเชื่อว่า แตกต่างและจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้นได้จริง การขาดพรรคการเมืองทางเลือก..ทำให้การเมือิงพม่าเป็นอัมาพาตเมือเกิดวิกฤตกีับพรรค NLD  และแนวโน้มในอนาคตคือกองทัพพท่าจะทำทุกวิถีทางเพื่อสกัดกั้นพรรค NLD...

            บทบาทที่โดเด่นของ อูเต็ง เส่ง ต่อพัฒนาการทางการเมืองในพม่าที่กล่าวได้ว่าอยุ่ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร มาเป็นประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แม้อิทธิพลของทหารหรือกรอบคิดเก่าจะไม่จางหายไปง่ายๆ 

          แม้ว่า เต็ง เส่งจะมีจากการแต่งตั้งโดยผู้นำทางการทหารและ เป็นทหารผู้มีอิทธิพล ลำดับ 4 ของประเทศซึ่งหนีไม่พ้นที่จะถูกกล่าวหาว่าสนับสนัุนเผด็จการทหาร แต่ผลงานที่เด่นชัดและคึวามตั้งใจตที่จะนำพม่าออกจากระบอบเผด็จการทหาร ซึ่งได้ เต็ง เส่งเป็นนักเจรจรต่อรองในหลายระดับ พม่าจึงดำเนินไปในทิศทางที่ดีร นายพลเต็ง เส่งมีท่าที่ที่ชัีดเจนและจริงจังกับคำพูด ที่จะยกเลิกระบบเก่าและสร้างสังคมใหม่ อีกทั้งบทบาทของนักปฏิรูป ของ เต็ง เส่ง เด่นชัีดมาก

           ประธานาธิบดีเต็งเส่ง แห่ง พม่า แถลงทางวิทยุเมื่อวัีนที่ 2 มกราคม 2557 ว่าสนับสนุนก

ารแก้ไขรัฐธรรมนูญ 



          3 ม.ค.2557 สำนักข่าวอิระวดีรายงานว่าในการกล่าวสุนทรพจนร์ออกอากาศทางวิทยุประจำเดือนมกราคมของ ประธานาธิบดเต็งเส่งแห่งสาธารณรัีฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ หรือ ประเทศพม่า ประธานาธิบดีเต็ง เส่งกล่าวว่า "รัฐธรรมนูญที่มีความเหมาะสมนั้นจะต้องมีการแก้ไขเป็นระยะ เพื่อที่จะได้ตอบสนองความต้องการของชาติ เศรษฐกิจ และความจำเป็นทางสังคึามมขของพวกเรา

         "ข้าพเจ้าไม่ต้องการให้มีข้อกำนดที่จำกัดสิทธิของพลเมืองไม่ว่าบุคคลใดก็ตามที่จะขึ้นมาเป็นผู้นำประถเทศ" เขากล่าว "ในขณะเดียวกัน พวกเราต้องการมารตรการที่เหมาะสมเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชาติและอธิปไตย" (รัฐธรรมนูญแบับเก่าที่บัญญัติไว้มีผลทำให้ ออง ซาน ซูจี ซึ่งมีสามีถือสัญชาติอังกฤษ และบุตรสองคนถุือเป็นพลเมืองต่างชาติ ไม่สามารถขึ้นเป็นประธานธิบดีได้) 

         เต็ง เส่ง กล่าว่า เขาเชื่อว่ามีความจำเป็นในการแก้ไขรัฐธรรมานูญเพื่อความปรองดองแห่งชาติ นอกจากนี้เขายังต้องการทำสัญญาหยุดยิงทั่วประเทศกับกองทัพของกลุ่มชาติพันธุ์? หลังจากผ่านสงครามหลายทศวรรษ...และกล่าวว่า "การเจรจาทางการเมือง มีความจตำเป็นสำหรัีบกระบวนการปรองดองแห่งชาติ และเป็นรากฐานของกระบวนการสันติภาพแห่งชาติ ซึ่งความจำเป็นต้องแก้ไขหรือทบทืวนรัฐธรรมนูญ" ต่อข้อเรียกร้องของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า เต็ง เส่งเตือนหากเรียกร้องจนเกิดรงรับ อาจเผชิญทางตัน จึงขอให้ทุกฝ่ายร่วมกันประคับประคอง "อย่างไรก็ตาม ข้พเจ้าอยากกล่าวว่า หากข้อเรียกร้องทางการเมืองขบองสาธารณะชนหญ่เกิดกว่าที่ระบบการเมืองปัจจุบันจะรองรับได้พวกเราก็จะเผชิญกับทางตคันทางการเมือง ถ้าสิ่งที่เกิดขึ้น เราก็จะเสียเสรีภาพทางการเมืองที่เราได้บรรลุมาไปทั้งหมด ข้าเจ้าอยากจะเตือนพวกเราทุกคนให้ช่วยกันประคับประคองสถานการณ์นี้ด้วสยความห่วงใยและใช้ภุมิปัญญา"

         รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของพม่า กำหนดให้ที่นัี่งในรัฐสภาพร้อยละ 25 ให้กับตัวแทนจากกองทัพ ขณะเดียวกันพม่าจะมีการเลือกตั้งทัี่วไปใน พ.ศ. 2558  ซึ่ง ออง ซาน ซูจีร แสดงความประสงค์ที่จะลงสมัครเป็นประธานธิบดี โดยเธอเคยกล่าวว่าพรรคอาจจะคว่ำบาตรการเลือกตั้งหากไม่มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตามล่าสุดพรรค NLDได้แถลงว่า จะลงชิงชัยการเลือกตั้งไม่ว่าจะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญหรอไม่ก็ตาม

        ในการเลือกตั้งซ่อมปี 2555 ทำให้อองซาน ซูจีชนะเลือกตั้งได้เป็น ส.ส. นั้น พรรค NLD ชนะเลือกตั้ง 41 เขต จากทั้งหมดที่มีการเลือกตั้งซ่อม 43 เขต

       ในวันที่ 31 ธ.ค. ประธานาธิบดีเต็งเส่ง ได้ลงนามคำสั่ง  ซึ่งเป็นคำสั่งอภัยโทษให้กับนักโทษการเมืองในพม่า และยกเลิกการดำเนินคดีแก่ผุ้ที่ถูกฟ้องร้องกล่าวหาตามความผิดของกฎหมายวต่างๆ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยการรวมตัวสมาคมอย่างผิดกฎหมาย, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.122 ฐานทรยศ. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม. 124 ฐานปลลุกระดม, กฦฎหมายว่าด้วยการป้เองกำันรัฐจากการบ่อนทำลาย,กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมและการเดินขบวนอย่างสันติ, ประมวลกฎหมายวงิธีพิจารณาความอาญา ม. 505 ว่าด้วยการกระทำที่ขัดกับผลประโยชน์สาธารณะ, และกฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉิน ค.ศ. 1950 โดยให้ผุ้ที่ต้องคำพิพากษาแล้วให้ได้รับการอภัยโทษ.ให้ทุกคดีที่กำลังดำเนินคดีในขันศาล ให้มีการยุตคิการพิจารณาคดีทันที และให้ทุกคดีที่กำลังอยู่ในขั้นสอบสวน สิ้นสุดการสอบสวนทันทีดดยไม่มีมาตการเพ่ิมเติมใดๆ ออกมา่....

      

          ข้อมูลบางส่วนจาก...มติชนออนไลน์ ลิลิตา หาญวงษ์ "33 ปี พรรค NLD ไปต่อหรือหุดแค่นี้"

                                          ประัชาไท "ผู้นำพม่า "เต็ง เส่ง" หนุนแก้ไข รธน. ให้ "ออง ซาน ซูจี" ลงสมัครประธานาธิบดีได้

                                          "เต้นเซน" วิกิพีเดีย

วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2565

NLD (National League for Demacracy)

             พรรค NLD หรือสันนิบาตแห่งชาสติเพื่อประชาธิปไตย เกิดขึ้นมาพร้่อมๆ กับการประท้วงครั้งใหย๋ที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองสมัยใหม่ของพม่าใน 1988  ก่อตั้งเมื่อ 24 กันยายน พ.ศ. 2531 เพื่อต่อต้าน "สภาฟื้นฟูระเบียบและกฎหมายแห่งรัฐ" หรือ "SLORC" ซึ่งเข้ายึดอำนาจการปกครองในนามของคณะทหาร ทำให้เกิดการจลาจลนองเลือดในเมืองใหญ่ของพม่าหลายเมือง ผุ้ก่อตั้งพรรคได้แก่ อองซาน ซูจี อองจี และติ่นจู พรรคการเมือง NLD กลายเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีอิทธิพลสุงสุด มีสมาชิกทั่วประเทศถึง 2 ล้านคน ในปัจจะบันอาจกล่าวได้ว่าความนิยม NLD เกิดขึนเพราะความนิยม อองซาน ซูจี...

          "อองซาน ซูจี"เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2488 เป็นบุตรสาวคนสุดท้องของนายพลอู อองซาน "วีรบุรุษอิสรภาพของประเทศพม่า" ผู้นำการต่อสู้กับญี่ปุ่นและ สหราชอาณาจักร จนนำไปสู่การได้รับอิสรภาพเป็นรัฐเอกราช นายพล อู อองซาน ถูกลอบสังหารก่อนทีพม่าจะได้รับเอกราช ขณะนั้น ออง ซาน ซูจีมีอายุเพียง 2 ขวบ


          ในปี พ.ศ. 2503 นางดอว์ซิ่นจี มารดาของอองซาน ซูจีได้รับการแต่างตคั้งให้ไปดำรงตำแหน่งทูตพม่าประจำประเทศอินเดีย ซูจี จึงถูกส่งเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยม ที่ประเทศดังกล่าว

          พ.ศ. 2507-2510 อองซาน ซูจีเดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ที่เชนด์ฮิวจส์คอลลเลจมหาวิทยาลั่ยอ๊ออกฟอร์ดในช่วงเวลานั้นเธอได้พบรักกับ "ไมเคิลอริส" นักศึกษาสาขาวิชาอารยธรรมทิเบต ภายหังจบการศึกษาเธอเดินทางไป "นิวยอร์ก"เพื่อเข้าทำงานเป็นผู้ช่วยเลขานุการประจำคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการตั้งคำถามเกี่ยวกับงบประมาณและการจัดการของสำนักงานเลขาธิการองค์การสหประชาชาติเป็นเวลา 3 ปี โดยในช่วงเวลาดังกล่าง องค์การสหประชาชาติมีเลขาธิการเป็นชาวพม่าชื่อนายอู่ถั่น

           พ.ศ.2515 อองซาน ซุจีแต่งงานกับไมเคิลอริสและย้ายไปอยู่กับสามีที่รราชอาณาจัีกภูำาน ซูจี ทำงานเป็นนักวิจัยในกระทรวงต่างประเทศของรัฐบาลภูฎานขณะที่ไม่เคิลมีตำแหน่งเป็นหัวกรมการแปล รวมทั้งทำหน้าที่ถวายการสอนแก่สมาชิกของราชวงศ์ภูฎาน

          พ.ศ. 2516-2520 อองซานซูจ และสามีย้ายกลับมาพำนักที่กรุงลอนดอน ประเทศองักฤษ อริสได้งานสอนวิชาหิมาลัยและทิเบตศึกษา ที่มหาวิทยาลัย อ๊อกซฟอร์ด ส่วน ซูจี ให้กำเนิดบุตรชายคนแรก "อเล็กซานเดอร์" และบุตชายคนเล็ก "คิมในปี พ.ศ. 2520 ในช่วงนี้ ซูจีเร่ิมทำงานเขชียนและงานวิจัยเกี่ยวกัยบชีวประวัติของบิดาและยังช่วยงานวิจัยด้านหิมาลัยศึกษาของสามดีด้วย ปี พ.ศ. 2528-2529  ซูจี ได้รับทุนวิจัยจากศูนย์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษามหาวิทยาลัีบยเกียวโต ให้ทำวิจัยเรื่องเกี่ยวกับบทบาทของนายพล อูอองซาน ที่ประเทศญี่ปุ่น ขณะที่ไม่เคิลอริสได้รับทุนให้ไปทำวิจัยที่อินเดีย เมืองซิมลาทางภาคตะวันออกของอินเดียและต่อมา ซูจีก็ได้รับทุนวิจัยจากที่สถาบันแห่งนี้ด้วยเช่นกัน

         พ.ศ. 2530 อองซานซูจีและสามีพาครอบครวย้ายกลับมาอยู่ที่ปเทศอังกฤษเธอเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกที่ London  School of Oriental and African Studies ณ กรุงลอนดอน โดยทำวิยานิพนธ์เกี่ยวกับวรรณคดีพม่า


       ในวัย 34 อองซาน ซูจี เดินทางกลับบ้านเกิดที่กรุงย่างกุ้งเพื่อมาพยาบาลมารดา ดอว์ซิ่น ที่่กำลังป่วยหนักในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2531 ซึ่งในขณะนั้นเศรษฐกิจตกต่ำ และมีความวุ่นวายทางการเมืองในประเทศพม่าประชาชนจำนวนมากโดยเฉพาะกลุุ่มนักศึกษาชุมนุมเคลื่อนไหวกดดันให้นายพลเนวินลาออกจากฃตแหน่ง ประธานพรรค นายพลเนวินลาออกจากตำแหน่ง ตามมาด้วยการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยของนักศึกษาและประชาชนหลายแสนคนในกรุงย่างกุ้ง เมืองหลวงของพม่าก่อนที่การชขุมนุมจะแพร่ลามไปทั่วไปรเทศ ต่อมมาผู้นำทหารได้สั่งการให้ใช้กำลังอาวุธสลายการชุมนุมของประชาชนนับล้านคนที่รวมตัวกันเรียกร้องประชาธิไตยในกรุงย่างกุ้งและเมืองต่างๆ ทั่วประเทศพม่าผู้ร่วมชุมนุมหลายพันคนเสียชีวิต ซึ่งเรียกเหตุการณืนี้ว่า 8-8-88 

        อองซานเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองเป็นครั้งแรกในปี วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2531 โดยส่งจดหมายเปิดผนึกถึุงรัฐบาลเรียกร้องให้มีการจัดต้้งคณะกรรมการอิสระเพื่อเตรียมการเลือกตั้งทั่วไป

        26 สิงหาคม พ.ศ. 2531 อองซาน ซูจี ขึ้นกล่าวปราศรัยเป็นครั้งแรกต่อหน้าผูงชขนกว่าห้าแสนคน ณ มหาเจดีย์ชเวดากอง เธอเรียกร้องให้มีรัฐบาลประชาธิปไตย แต่รัฐบาลทหารจัดตั้ง "สภาพผื้นผูกฎระเบียบแห่งรัฐ" หรือ "ส่ลอร์ค"ขึ้น และทำการปราบปรามสังหารและจับกุมผู้ตอ่้ต้านอีกหลายร้อยคน

        24 กันนยายน พ.ศ. 2531 อองซาน ซูจี ได้ร่วมจัดตั้ง "พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิไตย" หรือ NLD ขึ้นมา และได้รับดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค

         พรรค NLD ตั้งขึ้นมาเพื่อเข้าร่วมการเลือกตั้งท่วไปที่"สลอร์ค"สัญญาว่าจะจัดขึ้นในปี 1990 (พ.ศ.2533) การควบคุมตัวอองซาน ซูจีไว้ในบ้านพัก พร้อมทๆกับผู้นำพรรคอีกหลายคนย่ิงทำให้ NLD ได้รับการสนับสนุนจากมวลชขนเพิ่มขึ้น ทั้งๆ ที่ตลอดปี 1989 และต้น 1990 รัฐบาบ "สลอร์ค"พยายามทำลายความน่าเชื่อถือของ NLD มาโดยตลอด

        ผลการเลื อกตั้งในเดือนมีนาคม 1990 ซึ่งพรรคการเมืองกวา 90 พรรคเข้าร่วม ปรากฎว่าพรรค NLD ได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมทั้นคิืดเป็นร้อยละ 58.7 นำห่างพรรค NUP พรรคนอมินีที่กองทัพตั้งขึ้นมาเพื่อแข่งขันกับ NLD โดยเฉพาะ ทีได้คะแนนเสียงเพียนงร้อยละ 21.1 ความนิยมใน NLD และอองซาน ซูจี ยิ่งสร้างความไม่พอใจให้กับคนในกองทัพ กองทัพออกมาประกาศให้การเลือกตั้งปี 1990 เป็นโมฆะ..

         "เอ็นแอลดี"ตอบโต้มติของกองทัพได้ไม่มากนัก แต่ก็นัดประชุมสมาชขิกพรรคและมีมติเรียกร้องให้ "สลอร์ค" มอบอำนาจคืนให้กับประชาชนและยอมารับผลการเลือกตั้ง เพื่อนำไปสู่กระบวนการเจรจาที่ยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจระหว่าง "เอ็นแอลดี"และ "สลอร์ค"ต่อไป แต่ฝ่ายทหารไม่ต้องการการเจรจา


           ในวันที่ 8 สิงหาคม 1990 อันเป็นวันครบรอบ 2 ปีของเหตุการณ์ 8888 พรสงห์จำนวนหนึ่งเดินขบวนประท้อง "สลอร์ค"ที่มัณฑะเลย์ และได้รับการสนับสนุนจากประชาชนนับพันคน แต่ก็ถูกยิงและทุบตีจนได้รับบาดเจ็บสาหัส การประท้วงขยายมาถึงย่างกุ้ง สมาคมสงฆ์มีมติคว่ำบาตรคนในกองทัพ พระสงฆ์ประเทศจะไม่ยอมรับบาตรและประกอบพิธีกรรมทางศาสนาใดๆ ให้กับคนในกองทัพและครอบครัว "สลอร์ค"ที่ในเวลานั้น มี นายพล ซอ หม่อง เป็นประธานสั่งจับกุมแกนนำพรรค "เอ็นแอลดี"รวมทั้งสมาชิกสภาพผู้แทนราษฎรที่ได้รับการเลือกตั้งเข้ามารในปี 1990 จำนวน 65 คน และประกาศยุบองค์กรสงฆ์ที่ยังดำเนินกิจกรรมททางการเมืองโดยขู่ว่าหากไม่ทำตาม พระสงฆ์จะถูกจับสึกทันที นอกจากนี้ วัดนัดร้อยวัดทั่วประเทศก็ถูกบุกยึดพระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงหลายรูปถูกจับกุม

           ระหว่างปี 1988-1990 ซูจีเป็นที่รู้จักในหมุ่ชาวพม่าผุ้รักประชาธิปไตยภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อเธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปลายปี 1991 ด้วยการผลักดันของไม่ีเคิล แอรส สามีของเธอเอง เธอกลายเป็นวีรสตรีประชาธิปไตยที่ต่อสู้เพื่อความเสมอภาคในสังคม..ในเวลานั้นซุจีถูกคุถมตัวอยู่ในบ้านพัก อเล็กซานเดอร์ แอริส บุตรชายคนโตจึงเป็นผุ้กล่าวสุนทรพจน์เพื่อสดุดี อองซาน ซูจี อาจกล่าวได้ว่า อองซาน ซูจี และขบวนรการเรียกร้องประชาธิปไตยในพม่าถภูกกดดันมากขึ้นโดยรัฐบาล..ภายหลังซูจีได้รับรางวัลโนเบล องค์กรระดับโลกหลายแห่ง เช่น สหประชาชาติ จับตามองสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในพม่าเพิ่มขึ้น และพยายามเรียกร้องให้รัฐบาลพม่าหันมาเจรจากับ "เอ็นแอลดี"ตลอดจนชขนกลุ่มน้อยอื่นๆ ที่ยังทำสงครามกัีบกองทัพพม่าอยู่ แต่ข้อเสนอเหล่้านี้ก็ถูกคนในกองทัพพม่าปฏิเสธมาโดยตลอด

         10 กรกฎาคม 1995 (พ.ศ.2538) ซูจีได้รับการปล่อยตัว หลังจากถภูกควบคึุมในบัานพักของเธอมาั้งแต่กลางปี 1989 แม้จะถูกจำกัดการเคลื่อนไหว แต่ซูจีและคนในพรรค "เอ็นแอลดี"ก็เดินสายพบปะประชาชนทีั่วประเทศอีกครั้งเธอถูกกักบริเวณในบ้านพักอีกครัี้งในยปี 2000 กองทัพอ้างว่าเธอละเมิดข้อตกลงเพื่อเดินทางไปมัณฑะเดลย์ก่อนหน้านัี้น 1 ปี "สลอร์ค" ยื่นข้อเสนอให้เะอเดินทางออกนอกประเทศเพื่อไปเยี่ยมสามี ที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย แต่เธอปฏิเสธเพราะมองว่าหากตัดสินใจเดินทางออกนอกประเทศ จะไม่สามารถกลับเข้าพม่าได้อีก เธอถูกปล่อยตัวอีกครั้ง ในปี 2002 แต่ก็ถูกตัดสินจำคุกในระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน2003 ภายหลังมีการปะทะกันระหว่างผุ้สนับสนุน "เอ็นแอลดี"และผุ้สนับสนุนรัฐบาล "สลอร์ค"ในเหตุการณ์ที่เรียว่า "การสังหารหมุ่ที่เดปา"หลังจากนี้ ซูจีจะถูกควบคุมตัวในบ้านพักต่อไปจนถึงปลายปี 2010 เมื่อเธอถูกปล่อยตัวถาวรใสนวันที่ 13 พฤศจิกายน...

             ข้อมูลบางส่วนจาก...มติชนออนไลน์ "กำเนิด NLD และวิถีพม่าสู่ระบอบประธิปไตย(?) โดย ลลิตา หาญวงษ์

                                          ... digitalschool.club "ประวัติของอองซานซูจี"

วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2565

"SLORC" State Law Order Restoration Council

           คณะนายทหารที่เรียกว่า สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ หรือรัฐบาล "สลอร์ค State Law
Order Restoration Council-SLORCc และ พรรึคเอกภาพแห่งชาติ ร่วมกันปกครองพม่าหลัง ตามคำสังนายพล เนวิน ดดยมีนายพลซอ หม่อง ทำรัฐประหารเมืองวันที่ 18 กันยายน 

          เืพ่อสร้างภาพว่ารัฐบาลกำลังจะเปลี่ยนระบบการปกครองและเสณาฐกิจไปสู่ความเป็นเสรีมากขึ้นได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญของปี ค.ศ.1974 และเป็ดประเดศด้วยการปรับนโยบายเศรษฐกิจไปสู่ระบบตลาดเปิดเสรีให้ต่ารงชาตินำเงินเข้ามาลงทุนใช้ทราัพยากรธรรมชาตอันอุดมสมบูรณ์ และยกเลิกระบบเศรษบกิจแบบสังคมนิยมที่นายพล เนวิน ประกาศใช้เมือ 26 ปีก่อน และการจัดตั้งพรรคสันนิบาตแห่งขาติเพื่อประชาธิไตยหรือ NLD National League for Democracy) ที่อีอ่อง ยี เป็นประธานพรรค และนาง ออง .าน .ูจี เป็นเลขาะิการพรคฯ ทั้งหมดนี้นับเป็รเริ่มขบวนการประชาธิไตยและสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่ประเทศและรัฐบาล

         รัีฐบาล "สลอร์ค" เปลี่ยนชื่อประเทศพม่าเป๋น "สหภาพเมียนมาร์โดยอ้างว่าเป็นชื่อที่มีความเป็นเอกภาพมากกว่า พม่า และสิ่งทีไม่ได้คาดไว้ก็เกิดขึ้น คือ ในอี่ก 1 ปีต่อมาราัฐบาลสลอร์คได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งทั่วไปแบบหลายพรรคการเมือง ลหังจากที่ครั้งสุดทื้ายมีการเลือกตั้งในลักษณะนี้เมือประมาณ 30 ปีที่แล้ว อย่างไรก็พรรค NUP  ของรัฐบาลได้ที่นั่งเพียง 10 ที่่นีั่ง จาก 485 ที่นั้ง ที่นีั้งส่วนใหญ่ตกเป็นของพรรค NLD 

         ถึงอย่างไร แม้ผลการเลือกตั้งจะชี้ชัดว่าพรรคึต่อต้านรัฐบาลมีความชอบธรรมที่จะปกครองประเทศ แต่กลุ่ม"สลอร์ค"ก็ประกาศว่า รัฐบาลจะยังไม่มอบอำนาจใน้พรรค NLD จนกว่าจะร่างรัฐธรรมนูญฉบัยใหม่เสร็จสิ้น และให้ประชาชนแสดงความเห็นชอบก่อนแล้วจึงจะพิจารณาการถ่ายโอนอำนาจการปกครอง

          นายพล ซอ หม่องไม่ระบุระยะเวลาที่แน่น่อนในการร่างรัฐธรรมนูญ ทำให้ประชาชนเดินขบวนประท้วง แต่้รัฐบาล "สลอร์ค"ก้ตอบไต้ด้วยการจับกุมประชานและกวาดล้างสมาชิกพรรค NLD ในที่บรรดาผู้นำพรรคฯ จึงต้องยอมรัีบข้อเสนอของรัฐบาลทหารที่จให้มีการร่างรัฐธรรมนูญแบับใหม่ก่อนการถ่ายโอนอำนาจ  ในเวลาเดียวกันนายพล ซอ หม่อง เริมมีอาการป่วย และ ลงจากตำแหน่าง นายพลตาน ฉ่วย เข้ารับตำแหน่งต่างๆ ตำคำสั่งและการบงการของนายพล เนวิน

          เก้าเดือนต่อมา นายพล ตาน ฉ่วย เริ่มประชุมสมัชชาเพื่อร่างรัฐะรรมนูญ กองทัพจะยัวคึงเป็นเสา่หลักในการปครองซึ่งทำให้ยากที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้

          นับตั้งแต่ นายพล ตาน ฉ่วย ขึ้นมาปกครองประเทศเมืองปลาย เมษา 1992 จนถึงปี 2005 กลไกที่รัฐใช้เป็นเป็นศูนย์อำนาจของรัฐในการกำนดและควบคุมการดำเนินการปกครองและบิรหารประทเศพม่า คือ สภาพ "สลอร์ค"พฤศจิกายน 1997 เมื่อรัฐบาลของ พลเอก ตาน แ่วย ประกาศยุบ "สลอร์ค"และตั้งกลไกใหม่ขึ้นมารทำหน้าที่ทแรนภายใต้ชืิ่อว่า "สภาพสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ" "SPDCซึ่งเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วก็ไม่มีอะไรแตกต่างกากเดิมเป็นดัง "เหล้าเก่าในขวดใหม่"เพียงแต่ภาพของการช่วงชิงอำนาจระหว่างผู้บริหารระดับสูงปรากฎชัดเจนขึ้น นายพล ตาน ฉ่วย เองก็สามารถเข้าควบคุมประทเสได้ในปลายปี 2004 

     ...ปัจจัยที่อาจเป็นภัยคุกคามต่ออำนาจองรับบาลทหารได้แก่ ผลจากการจลาจลครั้งใหญ่ค.ศ. 19898, การแย่งชิงอำนาจภายในกลุ่มผุ้นำทางทหาร, ความตกต่ำของเศรษฐกิจเมียนมา, การกบฎของชขนกลุ่มน้อย และ ความกังวลต่อการคุกคามจากต่างชาติ ในภาพรวม สาเหตุปัจจัยดังกล่าวเป็นผลมาจากบริบทโลกและสถานการณ์ภายในเมียนมาทมี่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงดังกล้่าวมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายและการดำเนินการต่างๆ ของรัฐบาลทหารเพื่อที่จะรักษาอำนาจซึ่งหากรัฐบาลทหารบังคงวิธีการเดิมเช่นเดียวกับสมัยนายพล เนวิน โดยไม่เปลี่ยนแปลงอาจนำไปสู่การสุญเสียอำนาจของตนในทางการเมืองก็ได้

         ระหว่าง ค.ศ. 1988-2008 รัฐบาล SLORC/SPDCจึงได้ดำเนินการรักษาอำนาจด้วยวิธีการที่หลากหลายมากขึ้น กล่าวคือ 

         - การใช้่การปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจเพื่อสร้างความชอบธรรม

          - การกดขี่และการใช้กำลัง

          - การสร้างความภักดีและการดังเข้าเป็นพวก

           - การแบ่งแยกและปกครอง และ

           - การเตรียมการเืพ่อรักษาอำนาจภายใต้การปกครองแบบประชาธิไตย วิธีการที่กลบ่าวนี้่ทำให้รัฐบาลทหารสามารถคงอำนาจทางการเมืองและอยู่รอดจากการต่อต้านและความพยายบามล้เมล้างรัฐบาลทีังจากภายในและภายนอกประเทศ จนกระทั่งรัฐบาลทหารสามารสละอำนาจการปกครองประเทศให้แก่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในลักษณะที่กองทั้พยังคงมีบทบาทและอิทธิพลในทางการเมือง...

      

          ข้อมูลบางส่วนจาก   ...วิยานิพนธ์ "การรักษาอำนาจของรํฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศักดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ

                                         ..."กองทัพพม่ากับการปกครองแบบอำนาจนิยม" โดย ชขัยโชค จุลศิริวงศ์


วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Burma Soldier (ทหารพม่า)

            แนวความคิดทางการปกครองประเทศ ของนายพลเน วิน และหลังจากยุคสมัยนั้น มีความแตกต่างกันไม่้มากนัก มีผู้กล่าวไว้ว่า ผู้นำทางทหารยังคงมีจุดยืนว่าประเทศหรือรัฐ รัฐบาล และกองทัพเป็นสามสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้นก่อนและหลังการป้วงของพม่า ในปี 1988 รัฐบาลและกองทัพจึงถูกมองว่าเป็นสองสิ่งที่ถูกรวมเข้าด้วยกันอยางแนบแน่น การรักษาควารมมั่นคงของรัฐเท่้ากับการรักษาความมั่นคงในอำนาจจของคณะทหารเพื่อคงอำนาจการบริหารให้่อยู่ภายใต้รัฐ มีผู้วิเคราะห์ว่าผู้นำทหารของเมียนมามีมโนทัศน์ที่ยึดถือร่วมกันคื อการรักษาเอกภาพ บูรณภถาพ และอธิไตยของประเทศ ซั่งนั้นคือเหตุผลหลักที่ทำให้กองทัพยัคงปกป้องอำนาจของตนเอง รวมถึงพร้อมที่จะปราบปรามฝ่ายตรงข้เามด้วย

          กองทัพพม่าสมัยใหม่มีกำเนิดมาจากสงครามโลกครนั้่งที่ 2 โดยขบวนการชาตินิยมพม่าพยายามหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศทั้งในด้านอาวุธ ยุทธโธปกรณ์และการฝึกฝนสทางทหาร กลุ่มตรีทศมิตครที่ประกอบด้วย ออง ซาน และคณะที่เคึลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ได้เดินทางไปฝึุกอาวุธ ที่เกาะไหหลำภายใต้การอำนวยการของทหารญี่ปุ่ถน ถือเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเอราชพม่้าที่ก่อตัวขึ้นเมืองปลายปี ค.ศ.1941


          ต่อมามีคนหนุ่มจำนวนมากสมัคึรเข้าเป็นทหารจนกองทัพเอกราชพม่าขยายตัวอย่างรวดเร็ว กองทัพที่กำลังพลถึคงราว สองหมื่นสามพันคน ระหว่าง ค.ศ. 1942-43 กองทัพปฏิบัติงานใกล้ชิดกับญี่ปุ่นและถูกปรับโคึรงสร้างองค์กรใหม่อยู่เป็นยระยะโดยเปลี่ยนเชื้อเป็นกองทัพป้องกันพม่า และกองทัพแห่งชาติพม่า

          กองทัพพม่าเกิดขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากการต่อสู้กู้เอกราชของขบวนการชาตินิยม ตลอดจนจากระเบียบวินัยที่เข้มงวดแข็.กร้าวของทหารญี่ปุ่นและจากระบบการปกครองแบบทหารเมืองครั้งที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่า ต่อมากองทัพพม่าหันไปรวมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อรุกรบต่อต้านญี่ปุ่น ชข่วงการต่อสู้และเจรจาเพื่อเอกราชนี้ กองทัพมีประสบการณ์ทั้งในด้านการรบและการเมืองในกลุ่มอำนาจในกองทัพ ออง ซาน ซึ่งเคยเป็นผู้นำก่อตั้งกองทัพ เริ่มมีบทบาทหนักทางด้านการเมืองและการเจรจาขอเอราชคืนจากอังกฤษทไใก้ภารกิจกองทัพตกอยู่ใต้การควบคุมของ เน วิน หนึ่งในผู้นำทางทหารของกองทัพพม่าเป็นหลัก

           ในช่วง 6 ปีที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่าจนถึงช่วงที่พม่าประกาศเอราชจากอังกฤษ ได้เกิดกลุถ่มอำนาจและองค์กรการเมืองมากมายบางกลุ่มก็พยายามยึดอำนาจรัฐทั้งประเทศ บางกลุ่มก็ระดมมวลขนเพื่อครอบครองดินแดนบางส่วนในพม่า ในบรรดากลุ่มเหล่านี้ กลุ่มที่มีบทบาทสำคัญ ได้แก่้่ "กลุ่มสันนิบาตเสรีภาพต่อต้านฟาสซิสต์" กลุ่มกองทัพม่า" "กลุ่มพรรคคอมมิวนิสต์แห่งพม่า" กลุ่มสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง" เป็นต้น ท่ามกลางความร่มอและกำารแข่งขันเชิงอำนาจ "กลุ่มกองทัพพม่า" เป็นขั่วอำนาจที่ดดดเด่นที่สุด


           อ.ดุุลยภาค กล่าวว่า กองทัีพแห่งชาติได้พัฒนาตัวเองใน สองลักษณะ คือ

          1 นายทหารและกำลังพลเริ่มมีประสบการณ์ในการทำงานกู้ชาติเคียงข้รางประชาชน จึงทำให้ทหารพม่าต้องศรัทธาต่อความเป็นเอกรารชแห่งรัฐและจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากประชาชน และ

           2 กองทัพรู้สึกว่าจำเป็นต้องเข้าำปมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อแข่งขันกับกลุ่มการเมืองอื่น โรงเรียนผึกหัดนายทหารในขช่วงสงครามได้ผลิตนายทหารออกมาหลายรุ่น ซึ่งได้รับการฝึกอบรมตามแบบฉบับกองทัพญี่ปุ่น หากแต่ทหารอีกหลายนายก็แอบศึกษาภาษาจีนและอ่านข้อเขียนของฝ่ายคอมมิวนิสต์จึงทำให้รับรู้ถึงธรรมชาติกองทัพประชาชนด้วยเหตุนี้ นายทหารระดับนำจึงมีเป้าหมายด้านการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับประชาชนด้วย"บทบาทกองทัพพม่าในรทางการเมืองจึงมีให้เห็นเป็นระยะๆ..

         จากแนวคิดที่ว่า รัฐ รัฐบาล และกองทัพไม่สามารถแยกออกจากกันได้ นำมาซึ่งคึวามพยายามในการสร้างอำนาจส่วนกลางให้เข้เามแข็งเพื่อที่จะควบคุมพื้นที่ต่างๆ  

           ข้อมูลบางส่วนจาก..วิทยานิพนธ์ ไการรักษาอำนาจของรัฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศกดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ

                                          .SILPA-MAG.COM ,"การุลุกฮือ 8888 นักศึกษา-ประชาชน-พระในพม่า ร่วมขับไล่เปด็จการรทหาร"

วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Four Eights Uprising' 8888

            "ข้าพเจ้าต้องแจ้งให้ท่ารซึ่งเป็นพลเมืองของสหภาพ(พม่า) รู้่ว่ากองทัพต่างๆ ได้ร่วมกันเข้า
ยึดอำนาจ และขอรับผิดชอบต่อการรักษาความปลอดภัยของประเทศชาติ ทั้งนี้ต่อเนื่องมา แต่สภาพอันเสื่อมโทรมของสหภาพ

            "ข้าเจ้าขอร้องให้ท่าน จงปฏิบัติหน้าที่ดังเข่นที่ใด้กระทำมาแต่เดิม โดยปราศจากความกลัวภัยและความไม่สบายใจ

           "เราซึ่งเป็นกลุ่มคณะปฏิวัติจะพยายามอย่างที่สุด ในอันที่จะเสริมสร้างควารมสุขและความอยู่กินดีให้แก่บรรดา ประชาชน ทุกคนของสหภาพ"

           นายพลเนวิน (ในฐานะหัวหน้เาคณะปฏิวัติ) ได้กล่าวคำปราศรัยแก่ประชาชนทางวิทยุ 

           นายพลเนวินได้ทำการรัฐประหาร ยึดอำนาจจาก นายอูนุ นายกรัฐมนตรีของพม่าหลังได้รับเอกราช โดยนายอูนุ บริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิไตย และพยายามสร้างรัฐสวัสดิการ แต่ทั้งนี้ นายอูนุ ได้ยอมรับว่าปัญหาของพม่ากว่า หมื่นสองพันกว่าเรื่อง ต้องใช้เวลาในการสะสางกว่า 20 จึงจะลุล่วง 

          ในเวลานั้นประชาชนพม่าโดยทัี่วไป ต่างก็แสดงความยินดีต่อการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากปัญหาต่างๆ ทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และศาสนาเพิ่มขึนมากมาย ื

          นายพลเนวิน ระลึกถึงอยู่เสมอว่า คึวามล้มเหลวของระบบประชลาธิไตยของอูนุที่ใช้กันมา ดังนั้เนในการวางนธยบายทางสังคมและเศรษบกิจ จึงเน้นหนักไปในรุปของการนำเอา ระบบสังคมนิยมมาใช้อย่างแท้จริง "สังคมนิยมตามแบบพม่า" จึงได้กลายเป็นหัวใจของการปฏิรูปประเทศ อย่างไรก็ดี จากนโยบาย กีดกันเอกชน และการยึดกิจการแทบทุกอย่างของเอกชนมาเป็นของรัฐบาล สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจแก่พม่าอย่างมา เนวินทำสิ่งที่ตรงกันข้ามกับทั่ในปัจจุบัน คือ การให้เอกชนเป็นเจ้าของหน่วยงานสำคัญๆ เพื่อให้เกิดการแข่งขัน เนวินยนึดธุรกิจขนาดใหญ่กลับเข้าไปเป็นของรัฐบาลทั้งหมด โดยเฉพาะกิจการที่เกี่ยวข้องกับการค้ากับอินเดีย จีน และปากีสถาน ซึ่งทำให้เศรษฐกิจของประเทศดิงลงเหว และยังได้ร่างรัฐธรรมนูญใหม่เพื่อให้พม่าเป็นประเทศที่ปกครองด้วยพรรคเดียว และ เนวินก็กลายเป็นประธานาธิบด รวมอำนาจไว้ที่ตนแต่เพียงผู้เดียว

           ในยุค 80 นดยบายปิดประเทศและนโยบายสังคมนิยมของเนวินเปลี่ยนพม่าให้กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก ประชาชนสุดจะทนเกิดการลุกฮิอประท้วงที่เรียกว่า การปฏิวัติ 8888 อันเป็นการประท้วงที่มีรากเหง้ามารจากปัญหาเศรษฐกิจโดยแท้ัการประท้วงครัั้งนี้ทำให้อองซานซูจีกลายเป็นคนสำคัญของประัเทศ เป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้กับยรัฐบาลทหาร นำไปสู่การเลือกตั้งในปี 1990...

           ...ผู้ประท้วงวางแผนให้ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาสคม 1988 เป็นต้นไป นักศึกษา ประชาชน พระสงห์ พร้อมใจกันประท้วงและหยุดงานทั้่วประเทศ นักศึกษาแห่งพม่า เคลื่อนไหวเืพ่อปลุกระดมประชานให้เข้าร่วมในการประท้วงใหญ่ทั่วประเทศในวันนั้น ซึ่งมีประชาชนเข้าร่วมกว่า ล้านคน และเป็นวันที่แสดงให้เห็นว่าประชาชนเมียนมาไม่ยอมอยู่ภายใต้อำนาจการปกครองของนายพลเนวิน และรัฐบาล

             นายพบเส่ง สวิน ประธานาธิบดีและประธานพรร BSSP สั่งใช้กำลังทหารปราบปรามผู้ประท้วงอย่างรุนแรงและการใช้กระสุนจริง มีผุ้เสียชีวิตกวว่า 4'000 คน และอีกจตำนวนมารกที่ถูกจับกุม ซึ่งสร้างความกังวลในแก่นานาชาติในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมหาอำนาจอย่ารงสหรัฐอเมริกาออกมาประณามการกระทำของรัีบาลพม่าา ขณะที่รัฐบาลก็ไม่มีท่าทีสว่าจะยุติลง  สุดท้ายนายพลเส่ง ลวิน  ลาออกจากตำแหน่างประธานาธิบดีและประธานพรรค

           19 สิงหาคม 1988 ดร.หม่อง หม่อง นักกฎหมายที่ใกล้ชิด และเคยทืำงานร่วมกับนายพลเน วิน ขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ของเมียนม่า แต่ก็ฌไมท่ได้ช่วยให้สถานการณ์คลีคลายไปในทืางที่ด ประชาชนส่วนมารกไใ่ไว้วางใจและเห็นว่าเขาเป็น "ร่างทรง" ของนายพล เน วิน นอกจากนี้การประท้วงของประชาชนก็ไปไกลเกิดกวว่าที่แค่เพียงเปลี่ยนตัวผุ้นำแล้วจะช่วยได้ และสิ่งที่ผุ้ประท้วงต่องการคือการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้นเพื่อเตรียมการเลือกตั้งเป็นเงื่อนไขสำคัญ แต่้ข้อเสนอนี้ถูก ดร. หม่อง หม่องปฏิเสธ และมีการส่งข้อเรียกร้องนี้ให้นักการเมืองฝ่ีายตรงข้าม เช่น นางออง ซานซูจี อดีตนายพลออง ยีฯลฯ

           24 สิงหาคม 1988 รัฐบาลประกาศยกเลิกกฎอัยการศึกและสั่งให้ทหารถอนตัวออกจากมเืองย่างกุ้ง หลังจากนั้นไม่กี่วันนักโทืษในเรือนจำทั่วประเทศถูกปล่่อยตัว หรือหลบหนีออกมา ซึ่งมีข่าวว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ของหน่วยข่าวกองของกองทัพและนายพล เน วิน เพื่อให้ทหารมีความชอบธรรมที่จะเข้ามาแทรากแซงการบริหารจักการบ้านเมือง สถานการณืในเมียนมาเข้าขึ้นวิกฤติ เกิดการปล้นสะดม เกิดความกลัวและหวาดระแวงในหมุ่ประชาชนทั่วไปจากข่าวลือต่างๆ เช่น การวางยาพิษในนำ้ดื่อมและแหล่งน้ำสาะารณะโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐบาล

          26 สิงหาคม 1988 นางอองซาน ซูจี ขึ้นปราศรัยทีั่หน้าเจดีย์ชขเวดากอง จนเป็นที่รู้จักไปทั่วดลกครั้งแรก

           10 กันยายน 1988 รัฐบาล จัดประชุมเร่งด่าวน ที่ประชุมสรุปว่าให้มีจัดการการเลือกตั้งดดยไม่ต้องทำประชามติและได้ตั้งคณะกรรมธิการเพื่อจัดการเลือกตั้งแต่ก็ไม่ได้การยอมรับจากประชาน ที่ต้องการให้รัฐบาลเฉพาะกาลเป็นผูั้จัดการเลือกตั้งเมทือทางออกถูกปิดฃง ทหารก็เร่ิมส่งกำลังเข้าประจำการตามเมืองสำคัญต่างๆ ของเมียนมา ขณะเดียวกันก็มีข่าวลือว่ากองเรือสหรัฐอเมริการปรากฎตัวในน่านน้ำเมียนม่า

         18 กันยายน 1988 นายพลซอ หม่อง รัฐมนตรีและหัะวหน้เา เสนาธิการกองทัพนำคณะทหารภายใต้ชืิ่อสภาฟื้นฟูกฎและระเบียบแห่งรัฐ ประกาศยึดอำนาจ เพื่อสร้างระเบียบและความเรียบร้อยให้กับประเทศ...

         ข้อมูลบางส่วนจาก...SILPA-MAG.COM  ประวัติศาสตร์ "การลุกฮือ 8888 นักศึกษา-ประชาชน-พระในพม่า ร่วมขับไล่เผด็จการทหาร"

                                      ...The 101 World "จุดจมของ นายพลผู้ทำลายประเทศชาติ  โตมร ศุขปรีชา..

                                       "สังคมนิยมตามแบบพม่า"  โดย ชัยโขค จุลศิริวงศ์..        


           

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ฺBurma : religious conflict

           การเหยียดชาติพันธ์ุและศษนาที่มีความรุนแรงในปัุจจุบันกระทั้งเกิดปัญหา "โรฮิงญา" กล่าวได้ว่า
เป็นผลจากการตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในขช่วงที่อังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคม ได้มีชขาวต่างชาติเข้ามาในพม่าจำนวนมาก เช่น ชาวจีนและชาวอินเดียเป็นพิเศษ กล่าวว่าชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญเพราะอังกฤษใช้ชาวอินเดียเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการดูแลพม่า อย่างในเขตหุบเขาตอนใต้ "South Valleys" ที่ถูกนับเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย การถูกชาวต่างชาติควบคุมดูแลในช่วงอาณษนิคมทำให้ชาวพม่าไม่พอใจ อีกทั้งยังมีควารมไม่เท่าเทียมและความโกรธแค้นจาการถูกกดขี้จากทั้งโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจ อย่างกรณีที่ชาวพม่าจำนวนมากได้กลายเป็นลูกหนี้ต่อระบบกู้ยืมเงินของชาวอินเีย ส่งผลให้ผุ้ที่ไม่สามารถาขำรีะหนี้คืนต้องสูญเสียที่ดินทำนาไป ความเกลี่ยดกลัวคนต่างชาตจิในปัจจุบันจึงเกิดขึ้นและบ่มเพาะม

          ความเกลียดชังนี้ส่งผลต่อชารวโรฮิงญาโดยตรนง เพราะถึงแม้บรรพบุรุษชาวโรฮิงญาจะเข้ามาตคั้งรกตากใสนพม่าตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 7 และมีบวามสัมพันธ์กับพมท่ามาหลายศตวรรษ แต่การที่ชาวดรฮิงญามีลักษณะทางกายภาพ ภาษา วัฒนธรรมและศาสนาที่คล้ายกับคนในแถบเอเซียใต้ ทำให้ชาวพม่าไม่เห็นพวกเขาเป็นชาวพม่าดั้งเดิมแต่กลับเห็นเป็นชาวบังคลาเทศและชชาวอินเดียที่อพยพข้ามาตอนช่วงอาณานิคม..

        ภายหลังได้รับเอกราช การเหยียดชาติพันธุ์ในพม่ยังได้รับการสนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาลในปี ค.ศ. 1962 นายพลเนวิน อ้างความชอบธรรมจากปัญหาชนกลุ่มน้อยเข้ายึอำนาจรัฐบาสลอูนุ นายพลเนวินมีทัศนรคติกับชนกลุ่มน้อยในด้านลบและไม่ยอมรับการอยุู่ร่วมกันบนพื้นฐานวัฒนธรรมที่แตกต่าง ดูได้จากคพูดของนายพลท่านนี้ในวันที่ทำรัฐประหาร  เขาจึงใช้นดยบายวิถีพม่าสู่สังคมนิยม สร้างระบบที่รวมแนวคิดชาตินิยม สังคมนิยมและพุทธศาสนา ที่บอกว่าชนกลุ่มน้อยและชาวต่างชาติจะยึดครองพม่าหากไม่ถูกควบคุมโดยทหารและนโยบายกระบวนการทำให้เป็นพม่า ที่พยายบามท ี่จะลบอัตลักษณ์ของชาติพันะ์อื่นและคงไว้ซึ่งความเป็น"พม่า"่อย่างเดียว

            ในประเด็นศาสนา พุทธศาสนามีความสำคัญกับพม่ามาก ไม่ว่าจะในช่วงก่อนยุคอาณษนิคมพุทธศานามีอิทธิพลในทุกแง่มุมของชีวิต ไมว่าจะเป็นวิถีการดำเนินชีวิตการศึกษา สถานะทางสังคม ล้่วนถูกกำหนดโดยคำสอนทางพุทธศาสนร รวมถึงการปกครองก็ใช้หลักการทางพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันพุทธศาสนาก็ได้รับการปกป้องจากชนชั้นปกครองเช่นกัน 

             ต่อมาในช่วงอาณานิคม พุทธศาสนากลับถูกลดความสำคัญลงเพราะมีการศึกษาแบบตะวันตกและศาสนาคริสต์เข้ามาใมนพม่า ทำให้เกิดความแตกแขกระหว่างคนพม่าที่เปลี่ยนเป็นศาสนาคริสต์และคนพม่าที่ยังศรัทธาในพุทธศาสนา ถึคงขนาดที่คนพม่าส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธกล่าวถึงคนที่เปลี่ยนศาาสนาว่าเป็น "disloyal citizens of the Buddhist of Burma" ถึงอิทธิพะลของพุทธศาสนาใในช่วงนี้จะถูกสั่นคลอน แต่พระสงฆ์ยังคงมี่บทบาทสำคัญทางการเมือง เพราะหลังจากที่ถุกลดบทบาทและคยวามศักดิ์สิทะิ์ลง พระสงฆ์ได้ออกมาต่อต้านแนวทางแบบตะวันตกและถกลายเป็นกำลังชาตินิยมทีั่สำคัญในการต่้อต้่านเจ้าอาณานิคมอย่าง เช่น พระสงฆ์ทีมีการปลุกระดมมวลชนเพื่อต่อต้านอังกฤษของพระสงฆ์ อู โอตตะมะ

          ภายหลังพม่ามีเอกราช พุทธศาสนาก็ได้รับการพลิกพื้นให้เป็นศูนย์รวมทางจิตใจและมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวพม่าอีกครั้งส่งผลให้พระสงห์กลับมารเป็นผุ้นำทางจิตใจและผุถ้มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมและการเมอืงอย่างเต็มข้ัน รวมถึงผลจากการใช้นโยบาย "บรูม่านิเซชั้น" ประชาชนจึงกำแพงต่อการเปิดรับความแตกต่างที่หนาขึ้น อีกทั้ง"การเหยียดชาติพันธุ์และศาสนนายังรุนแรงขึ้นอีกเพราะการเกิดขึ้นอุถดมการณ์พุทธศานา ชาตินิยมสุดโต่ง ตั้งแต่การเคลื่อนของพระอู วิระธู ผู้ขับเคลื่นขบวนการ 969 ซึ่งได้ถ่ายทอดและสั่งสอนอุดมการณ์ต่อต้านชาวมุสลิมและความเกลียดกลัวขาวต่างชาติให้แก่พุทธศาสนิกชนสร้างภาพลักษณ์ชาวมุสลิมให้เป็นศัตรู ด้วยความหวังที่จะคงไว้ซึ่ง "ความบริสุทธิ์ทางเชื ้อชาติอและศาสนา" ถึงแม้ว่าคำสั่งสอนของพระวีระธูจะแผงไปด้วยความเหยียดชาติพันธุ์และศาสนาและมีนัยยะทางการเมืองแร่ยัะงคงได้รับความเคารพศรัธทา ด้วยเหตุผลที่ว่าพระสงฆ์เป็นที่พึ่งทางใจและเป็นผู้ขี้นำสั่งสอนชาวพม่าที่นับถือศาสนาพุทธอันเป็นอัตลักษณ์ของชาวพม่าและเป็นสิ่งที่ฝั่งรากลึกในวัฒนธรรมและความเป็นชาติพม่าอีกทั้งความคิดเหยยดเชื้อชาติและศาสนาที่เป็๋นมรดกจากช่วงอาณานิคมและนโยบายของนายพลเนวินทำให้ขบวนการมีผุ้สนับสนุยนยจำนวนมาก...



          ่ข้อมูลบางส่วนจาก.."การเหยียดชาติพันธ์ุ่ ศาสนา ปัจจัยอุปสรรคสำคัญในการแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาในพม่า...สถาบันเอเชียศึกษา โดย กรกช เรืองจันทร์...


วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ฺิิิืืืืืฺิิ้่่ีBurma : Ethnic

          พม่าประกอบขึ้นจากคนกลุ่้มใหญ่และถชนกลุ่มน้อย ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้่มีชาติพันธ์ที่แตกต่างกัน ชนกลุ่มใหญ่นั้นหมายถึงชนที่มีเชื้อสายพม่าโดยแท้ ส่วนชนกลุ่มน้อยประกอบขึ้นจากหลายกลุ่มชาติพนธ์ด้วยกัน โดยที่พม่าซึ่้งมีเชื้อชาติพม่าแท้มีเพียง กึ่งหนึ่งของประชากรทั้งหมด ที่เหลือเป็นพลเมองชาติพะนธ์อื่น เช่น ฉานหรือไทยใหญ่ มอญ กะเหรีียง คะฉิ่น ฉอ่ม คะย้า จนและแขกลดหลั่นกันตามลำดับ..กลุ่มชาติพันธ์เหล่านี้มาอยู่รวมกันในพม่า แต่ก็มีการแบ่งอาณาเขตคกันอยู่เป็นชาติพันธุ์ไป โดยที่แต่ละชาติพันธุ์ได้อยู่รวมกันเป็นรัฐและส่งตัวแทนไปร่วมรัฐบาลเพื่อปกครองประเทศที่กรุงย่างกุ้ง อย่างไรก็ตามกลุ่มชาติพันธ์ที่ต่างกันนี้ มีจำนวนน้อยกว่า ชาวพม่าแท้่และยังคงไม่สามารถรวมตัวได้ แม้ในปัจจุบันจะมีการตั้งไแนวร่วมแห่้งชาติประชาธิอไตย" เพื่อต่อต้านรัฐบาลกลาง แต่ก็ยังไม่มีอิทธิพลที่จะทำให้วัตถุปรสงค์ของกลุ่มบรรลุเป้าหมายได้ ดังนัี้นจึงถูกพม่าแท้่เข้าครอบงำทางการเมืองการปกครองกและพยายามกำหนดนโยบายของประเทศตามความต้องการของตัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เพิ่มความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกลางกับชนกลุ่มน้อยที่มีอยู่เดิมแล้วให้ขยายวงกว้างออกไปอีก ความขัดแย้งระหว่างชนกลุ่มน้อยกับรัฐบาลพม่า นัีบเป็นปัญหาพื้นฐานของประเทศพม่ากระทั่งทุกวัีนนี้

       ในประวัติศาสตร์ก่อนการเข้ามาของอังกฤษ พม่าซึ่งมีอาณาจักรอยู่ในแถบลุ่มน้ำอิรวดี ได้ส่งกองทัพไปรบกับ "มอญ"ตอนใต้ "ฉาน"หรือไทยใหญ่ ทางตอนเหนือ และ "อารกัน" ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่อยู่ทางตะวันตกติดกับอนิเดีย เพื่อขยายจัีรวรรดิของตน ความพยายามของชนพท่าประสบผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2327 เมื่อพรเจ้าโบดอพยาแห่ง ราชวงฯศ์ลองพญา สามารทำการยึคดครองอาณาจักรของพวกอารกันได้สำเร็จ ความขมขื่นและอาฆาตของชนกลุ่มน้อยก็เร่ิมปรากฎขึ้นในหน้าประวัติศาสตร์

         ความแตกแยกเพิ่มมากขึ้นเมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองพม่า กล่าวคือ อังกฤษได้รับการต่อต้านจากผู้นำท้องถิ่นอย่างรุนแรง จนถึงขั้นต้องใช้กำลังทหารปราบปราม อังยังนำระบบการปกครองใหม่ไ เข้ามาใช้เพื ่อ ทำลายฐานอำนาจเดิม เช่น การยกเลิกระบบตำบลที่มำให้ผุ้นำท้องถ่ินมีอิทธิพลลง อังกฤษได้ตั้งหมู่บ้านขึ้นแทนและแบ่งเขตการปครองในตอนเหนือของพม่าตอนบน ออกเป็นเขชต ดดยมีข้าราชการอังกฤษเป็นผุ้เปกครอง และให้นำเอากฎหมายและระบบการศึกษาแบบบอังกฤษเข้ัามาใช้ด้วย และยังลดอิทธิพลของพระสงฆ์และทำลายศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการรวมชนพม่ามาโดยตลอด 

           ต่อมาอังฏษได้นำระบบปกครองแบบ "แบ่งแยกและปกครอง"(divice and rule)มาใช้เพื่อแยกชนกลุ่้ถมน้อยต่างๆ ทีมีเขตยึคดครอง ร้อยละ 45 ออกจากพม่าแท้ โดยให้กลุ่มต่างๆ ของชนกลุ้่มน้อยมีความเป็ฌนอิสระในการปกครองตคนเองภายใต้การดูแลของข้าเหลวงอังกฤษชนกลุ่มน้อยเช่น กะเหรี่ยงได้ก่อตั้งองค์กรแห่งชาติกะเหรียงขึ้นตม่เพื่อสร้า่งชาติกะเหรี่ยง และสร้างตัวแทนของกลุ่มเพื่อให้เข้าไปนั่งในสภาที่อังกฤษตั้งขึ้นเพือปกครองประเทศพม่า


         อังกฤษยังได้ส่งเสริมให้พวกชนตกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เข้ารมาสมัครรับราชการอยุ่ในกองทัพที่ยึดครองดินแดนอยู่นั้น ชนกลุ่่มน้อยได้อาสาเข้ารบในกองทัพอังกฤษ และอังกฤษได้ทำการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ให้ชนกลุ่้มน้อยซึ่งได้ผลมากที่สุดในการปครองในรูปแบบ "แบ่งแยกแล้วปกครอง" กล่าวคือ ชนกลุ่มน้อยนับถือ ศาสนาคริสต์ ชาวพม่านับถือศาสนาพุทธ

         ก่อนพม่าจะได้รับเอกราช ในตัวบทรัฐธรรมนูญของพม่าปี พ.ศ.2478 ได้มีการส่งเสริมความเป็นอิสระของชนยกลุ่มน้อยอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ รัฐะรรมนูญได้ระบุไว้ว่า "พวกที่อาศัยอยู่ในเขตจำกัด (คือ พวกไทยใหญ่และพวกชาวเขา) จะคงอยู่ภายใต้การดูแลของข้าหลวงอังกฤษต่อไปจนกว่าพวกนี้ประสนงค์จะนำเอาเขตการปกครองของตนเข้าร่วมการปกครองกับพม่า ตามรูปแบบใดๆ ก็ไพด้ที่พวนี้จะยอม" ในลักษณะช่นนี้ และในหมูผู้ปกครองชาวอังกฤษในพม่าก็ได้พยายามส่งเสริมความเช ื่อของชนกลุ่มน้อยว่า การที่พวกเขาเชื่้อฟังอังกฤษและยินยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอัะงกฤษ จะทำใหรัฐบาลที่กรุงลอนดอนสนับสนุนุ์การรักษาเอกลักษณ์ของชาติพันธตน และจะได้เป็นรัฐเอกราช ความเชื่อเช่นนี้ได้ฝังใจชนกลุ่มน้อยมาโดยตลอดกระทั่งปัจจุบัน..และเมือ่ดินแดนทั้งหมดตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า จึุงเกิดการต่อต้านทันที..


      ข้อมูลบางส่วนจาก.."พื้ันฐานของปัุญหาความมั่นคงชายแดนไทย-พม่า" รศ.ดร.ชัยโชค จุลศิริวงศ์


วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Socialist Republic of the Union Burma

           หลังจกประกาศเอกราช ก็เกิดความแตกแขกทางการเมืองของกลุ่มชนหลายหลุ่ม อีกทั้งเศรษฐกิจตกต่ำ นายพลอูนุจึงต้องตั้งรัฐบาลรักษาการขึ้นภายมต้การนำของนายพล เนวินซึ่งปกครองประเทศอย่างเข้ารงวด แต่เขาก็ปรับปรุงบ้านเมืองและระบบราชการให้ทั้นสมัยขึ้น สามารถแก้ปัญหาของประเทศได้ทั้งการเมืองและเศรษฐกิจ ต่อมา นายพลอูนุกลับเข้ามารับตำแหน่งอีกครั้ง หลังจากการคืนอำนาจของนายพล เนวิน แต่แล้วรัฐบาลของนายพลอูนุก็บริหารประเทศล้มเหลวจึงถึงทำรัฐประหาร นายพลเนวินได้ กลับขึ้นมาบริหารประเทศอีกครั้ง ซึ่งรัฐบาลนี้เป็นรัฐบาลทหาร สร้างคึวามไม่พอใจให้แก่ประชาชนเป็นวงกว้าง และออกมาเรียกร้องประชาธิไตย แต่้รัฐบาลของ นายพลเนวยินก็ยังคงปกครองได้ย่า่งยาวนานถึง 26 ปี โดยใช้ระบอบสังคมนิยม และ ประกาศสถาปนา "สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า" (Socialist Republic of the Union Burma) ขึ้นโดยมีนายพลเนวินเป็นนายกรัฐมนตรีและัประธํานพรรคสวังคมนิยมพม่า

          ภายหลัง 26 ปีของการยึคดอำนาจจากนายพลอุนุ และดำเนินนโยบายกบจำศีลของพม่า นายพล เนวินประกาศสละตำแหน่งทางการเมือง เพื่อลดแรงเสียดทานทั้งในและต่างประเทศ โดยมีรัฐบาลใหม่บริหารประเทศ ซึ่งนายพลเนวินยังคงดำรงตำแหน่งประธานพรรค BSPP และกุมอำนสาจอยู่เบื้องหลังต่อไป



           ในปี ค.ศ. 1988  ภายใต้รหัส 8888 ซึ่งมาจากขบวนการต่อต้านรัฐบาลทหารออกมาประท้องและเดินขบวนในเมืองย่างกุ้ง และเมืองใหญ่ทั้งประเทศ รัฐบาลทหารพม่าเข้เาปราบปราม ในวันที่ 8 เดือน 8 ปี ค.ศ. 1988 เป็นเหตุให้มีผุ้เสียชีวิตและ หลบหนีเข้าป่าจำนวนมาก รัฐบาลทหารพม่าได้ประกาศจัดตั้เง "สภาพเพื่อการฟื้นฟูกฎหมายและความสงบภายในชาติ" ขึ้นเพื่อบริหารประเทศ และได้เปลี่ยนชขืิ่อประเทศใหม่เป็น"สาะารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์" (Union of Myanmar) ในปีเดียวกันนี้เองนางอองซาน ซูจี บุตรีของนรายพลออกซาน ได้เดินทางกลับมาพม่าพร้อมด้วยสามี่ชาวอังกฤษ เพื่อดูแลแม่ที่ป่วยหนัก และได้รวมกลุ่มจขัดตั้ง "พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชารธิปไตย" ขึ้นเพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมือง

             ข้อมูลจาก ..บางส่วนจาก สาธารรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ รัฐสภา "กว่าจะมาเป็น...สาธารณรับแห่งสหภาพเมี่ยนมาร์"...

วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Aung Hcan

            โบโซะ อองซาน นัการเมือง. นักเคลื่อนไหวเพื่อเอกราชและนักปฏิวัติชาวพม่้า ผู้ก่อตั้งกองกำลังแห่งชาติพม่้า และได้ับการขนานนามให้เป็น บิดาแห่งรัฐพม่าสมัยใหม่ เขามีบทบบาทมากในการได้รับเอกราชของพม่้า แต่ถูกลอบสังหารราวหกเดือนก่อนที่พม่าจะได้รับเอกราช    อองซานทั้งก่อตั้งและมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากกักลุ่ถม

            ออกซานทั้งก่อตั้งและมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากกับกลุ่มและขบวนการทางการเมืองและเข้าใช้ชีวิตไปกับการศึกาาแนวคิดทางการเมืองต่างๆ ตลอด เข้าเป็นผุ้นิยมการต่อต้านลัทธิจักวรรดิ และเมื่อเป็นนักศึกษาได้เรียนรู้เกี่วยกับลัทธิคอมมิวนิสต์ และสังคมนิยม ต่อมาได้ศึกาาเกี่ยวกับวงไพบูลย์รวมแ่งมหาเอเซียบูรพาของญี่ปุ่นเมื่อครัี้งเป็นสมาชิกของกองทัพญี่้ปุ่น เขาได้รับการเลื้อกตั้งเป็นกรรมการระดับสูงของสานักศึกษามหาวิทยารลัยย่างกุ้งตั้งแต่ปีแรกที่เข้าเรียน และเป็นบรรณาธิการประจำหนังสือพิดมพ์มหาวิทยาลัย  ออกซานเข้ารวามประชาคมตะคินในปี 1938 ในตำแหน่งเลขาธิการ และต่อมาได้ก่อตั้งพรรคึคอมมิวสต์พม่า และพรรคสังคึมนิยมแห่งพม่า



           การปฏิวัติตะคีน..ในเดือนตุลาม ปี 1938 อองซานออ

กจากการศึกษานิติศาสตร์และเข้าสู่เวที่การเมืองระดับชาติ เขามีจุดยืนต่อต้านอังกฤษแและต่อต้านลัทธิจักวรรดิแอย่างมั่นคง เขาเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ "ตะคีน((สมาคมเราชาวพม่า)"และเป็นเลขานุการ ขณะดำรงตำแหน่ง เขาได้มีส่วนช่วยจัดการชุถดการนัดประท้วงหยุดงาน  ต่อมาสมาคมเราชาวพม่าประกาศเจตจำนงที่จะใช้กำลังเพื่อล้มรัฐบาล ส่งผลให้ประชาคมถูกเพ่งเล๋็งและกำจัดโดยเจ้าหน้าที่รัีฐ ตำรวจใช้กำลังปราบปราม อองวานถูกจับกุมและคุมขังเป็นเวลา 15 วัน ฐานอั้งยี่และสมรู้ร่วมคึิดลัมล้างรัฐบาล แต่ต่อมาได้ถุกเพิกถอนข้อกลาวหา หลังถุกปล่อยตัวเข้าได้วางแผนการเพื่อขับเคลื่อนการได้รับเอกราชของพม่าดดยการเตรีียมจัดการนัดประท้วงหยุถดงานใหญ่ทั่วประเทศ การรณรงค์ไม่จ่ายภาษี และจัดความไม่สงบผ่านการรบแบบกองโจร..ออกซานร่วมก่อตั้งและเผ็ฯเลขาธิการประจำพรรคอมมิวนิสต์ฺพม่า ซ฿่งความสัมพันธ์ไม่ค่อยราบรื่น เข้าจึงเข้าและออกพรรคึถึงสองครั้ง ไม่นานหลังตั้งพรรค เขาได้ตั้เงองคึ์กรคล้ายคลึงกัน คือ "พรรคประชาปฏิวัติ หรือ "พรรคปฏิวัติพม่า" ซึ่งมีจุดยืนมาร์กซิสต์ มีเป้าหมายเดพื่อล้มล้างการปกครองของอังกฤษเหนือพม่ ต่อมาพรรคนี้กลายเป็นพรรคสังคมนิยมพม่าช่วงหลังสงครามโลกคร้งที่สอง..

          ในห้วงสงครามดลกครั้งที่สอง อองซานมีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การชาตินิยมอีกแห่ง คือ กลุ่มเสรีภาพ ซึ่งเชื่อมการทำงานของตะคนไ สหพันธ์นักเรียนนักศึกษาพม่า. พระสงฆ์ที่มีความตื่นตัวทางการเมือง และพรรคยาจกของ ดร. บา มาว โดยมีเป้าหมายใช้ประโยชน์จากสงครามเพื่อให้พม่าได้รับเอกราช ซึ่งนำเอแบบอย่างในการดำเนินการมาจาก "กลุ่มก้าวหน้เา"ของอินรเดีย ซึ่งนำโดยไจันทระ โพส" 

          และต่อมาเข้าได้พบรกและสมรสกับ คหิน คะยิ ทั้งคู่มีลูกด้วยกันสี่คน หลังอองซานถภูกลอบสังหาร ภรรยาหม้ายได้บแต่งตคั้งเป็นทูตพม่าประจำอินเดีย และจากนั้นครอบครัวก็ย้เายออกจาพม่า ลูกคนที่อายุน้อยที่สุดทีมีชีวิตรอดคือ อองซานซูจีร ขณะเกิดเหตุลอิบสังหารอองซาน เธออายุเพียงสอบขวบเท่้านั้น ต่อมาอองซานซูจีได้ก้าวเข้าสู่การเมืองพม่าและเป็นบุคคลสำคัญในการเมืองพม่าจนกระทั้งเธอถูกรัฐประหารในปี 2021..

           (ข้อมูลจาก "วิกิพีเดีย")

           .ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นยึดพม่าได้ อังกฤษได้ถอยไปอยู่ที่อินเดีย มีการจัดตั้งกองทัพแห่งชาติเพื่อทำการขับไล่อังกฤษ โดยมีญี่ปุ่นให้การสนับสนุน ญี่ปุ่นอ้างว่า จะให้เอกราชแก่พม่ากลุ่มตะซิ่นนำดดยอองซาน หาเชื่อไม่ แยกตัวออกมาจัดตัี้งองค์กรต์อต้านญี่ปุ่น โดยร่วมมือกัยอังกฤษ

           เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 อังกฤษเข้ามาปกครองพม่าดังเดิม อังกฤษยอมเจรจากับอองซาน ยอมให้ชาวพม่าเข้ามาปกครองทั่วไป พม่า เครียมร่างรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ. 1947 และมีการเลือกตั้งในปีเดียวกัน่ายที่ชนะการเลือกตั้งคือพรรค ที่นำโดยออกซาน ซึ่งออกซานดูกลอบสังหารพร้อมรัฐมนตรีอีก 8 คน อูนุุ กลายเป็นผู้นำทำการร่างนรัฐธรรมนูญ เจรจากับอังกฤษ จนได้รับเอกตาช และเป็นนายกรัฐมนตรีของพม่ามนวันที 4 มกราคม ค.ศ. 1947..

          (ข้อมูลจาก SILPA-MAG.COM "ศิลปวัฒนธรรม" วันนี้ในอดีต " 19 ก.ค. 1947 นายพลออง ซาน บิดาแห่งเอกราช วีรบุรุษของพม่า ถูกลอบสังหาร)..




วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Extremist

       พุุทธสุดโต่ง คือ...

        เมื่อพูดถึงลัทธิสุดดต่ง คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงการกระทำของขาวมุสลมหรือผู้ที่นับถือศาสนาทีั่มีต่อผู้นับถือศาสนาอื่น แต่ในความเป็นตริงแล้ว ผุึ้ที่นัถือศาสนาพุทธ ก็มีแนวคิดสุดโต่งด้วยเช่นกันดังที่จะเห็นได้จากเหตุการณ์ความรุนแรงที่ชาวพุทธในประเทศศรีลังกาและเมียนมา กระทำต่้อผู้่ที่่นับถือศาสนาอื่น โดยเฉพาะศาสนาอิสลาม แม้กระทั้งในประเทศไทยเอง ก็มีการแสดงออกที่สะท้อนฃัทธิสุดโต่งด้วย เพียงแต่การกระทำเหล่านั้น รับรู้กันในวงแคบ

        มีผู้ให้นิยามความสุดโต่งไว้ว่า "คือกระบวนการที่ปัจเจกบุคคลหรือชุมชลปฏิเสธระบบที่มอยู่ และ หรือหมดหวังกับการเปลี่ยนแลงทางสังคมผ่านทางกฎหมาย และกลุ่มคนเหล่านั้นซึ่งเป็นคึนส่วนน้อย มักคิดอยู่เสมอว่าจะใช้ความรุนแรงต่อต้านพลเรือนคนอื่นๆ เืพ่อแสดงให้เห็นถงความโกรธเคืองของพวกเขา"

         แต่ในกรณีของกลุ่มพุทธุดโต่งนั้น ไม่ใช่เป็นการแสดงออกของคนส่วนน้อยในประเทศ ลัทธิพุทธสุดโต่ง เกิดขึ้นประเทศทีทมีผุ้นับถือศสราพุทธเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั้่น หากจะตั้องให้คำนิยามของคำว่า

          พุทธสุก็คงจะหมายถึง การแสดงออกของพระสงฆ์และพุทืธศาสนิกชนบางกลุ่ม ในการต่อต้าน ไม่ยอมรับ ไม่เห็นด้วยเกลียดชัง ผู้ที่นับถือศาสนาอื่น รวมถึงปฏิเสธที่จะปรับตัวให้เข้ากับผุ้ที่ไม่เห็นด้วยกับค่านิยมและนโยบายของตน   

           (บางส่วนจาก พุทธสุดโต่ง ความหมายและการแสดงออก..ผส. ดร. วราภรณ์ แัตราติชาต คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย)



            ..พุทธสุดโต่งในเมียนม่า ความบาดหมางระหว่างชาติพันธุ์และศาสนา 

            ภาพของกลุ่มพระสงฆ์ในเมียนมาออกมาร่วมประท้องร่วมกับชาวพุท่ธเพื่อเรียกร้องและผลักดันให้ชาวมุสลิมโรฮิงญาออกนอกประเทศการก่อการจราจลและการใช้ความรุนแรงของชาวพุทธในเมียนมาต่อชาวมุสลิมในเมืองเมี่ยนมา ทำให้มีการตั้งคำถามถึงแนวคิดของพุทธศาสนาที่เน้นเรื่องความไม่เบียนยดเบียนไม่ทำร้ายผู้อืิ่้น แต่เหตุใดพระภิกษุสงฆ์ถึคงมาร่วมในการคเคลื่อนไหวครั้งนี้ด้วย

          บทบาทนี้ นำเสนอให้เห็นถึงบทบาทของกลุ่มพระภิกษุที่แนวคิดชาตินิยม ปลุกกระแสความเกลียดกลัวมุสลิมท จนนำไปสู่ความบาดหมางและการใช้ความรุนแรงระหว่างเชื้อชาตและศาสนาในเมียนมา...

          ..... กลุ่มพุทธหัวรุนแรงในเมียมา  

                พระภิกษุถภือเป็นกลุ่มหนึ่ง ที่มีบทบามในความเคลื่อนไหวต่อต้านและขับไล่ชาวมุสลิมโรฮิงญา ซึ่งกลุ่มพระสงฆ์ที่มีบทบาทมากที่สุดคือกลุ่ม มารบาธา หรือ คณะกรรมการเพื่อป้องกันเชืิ้อชาตและศาสนา ซึ่งไม่ทราบต้นกำเนิดที่ชัดเจน

              ในทัศนะของกลุ่มมาบาธา ความจริงเพียงอย่างเดียวคือชาวพุทธเป็นเหยื่อของอิสลาม พระบางรูปในกลุ่ม กล่าวว่า กลุ่มมะยะธาไม่มีปัญหาใดๆ กับพลเมืองชาวมุสลิมที่เคารพกฎหมาย แต่ต้องไม่ลืมมองย้อนกลับไปถภึงสิ่งที่เคยเกิดในอินเดีย ที่กลุ่มอิสลามผุ้รุกรานบังคับให้คนเหลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม ทำให้พระสงห์กลุ่มนี้เห็นว่า การปราบปรามชาวโรฮิญาอย่างเหี้ยมโหดในตอนั้เป็นส่วนหนึ่งของการต่้้อสู้อันยาวนานเพื่อขับไล่ขาวมุสลิมที่มารุกรานดินแดนชาวพุทธ

           นอกจากการ่อต้านและขับไล่ชาวมุสลิมโรฮิงญาแล้ว กลุ่มมาบาธายังประสบความสำเร็จอย่างสูงที่ทำให้ เต็ง เส่ง อดีตประธานาธิบดีเมียนมา ผ่านกฎหมายจำนวน สี่ ฉบับเกี่ยวกัีบเชื้อชาติและศารสนาได้แก่

           กฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนศาสนาโดยต้องของอนุ(ญาตทางการ

           กฎหมายการมีคึู่สมรสเพียงคนเดียว

           กฎหมายการควบคุมประชากรและด้านสุขภาพ

           กฎหมายการแต่งงานข้ามเชื้อชาติของหญิงชาวพุทธ วึ่งกำหนดให้หญิงชาวพุทธที่จะแต่างงานกับชายที่นับถือศาสนาอื่นจะต้องขออนุญาตจากผุ้นำชุมชนก่อน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่ชาวมุสลิมและศาสนาอิสลาม...

          (บางส่วนจาก South Asia Insight พุทธสุดโต่งในเมียนมา ความบาดหมายระหว่างชาติพันธ์และศาสนา)

วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2565

Device And Rule

           หลักแบ่งแยกแล้วปกครอง คือ การทำให้ศัตรูอ่อนแอด้วยการยุยงปลุกปั่น สร้างคึวามแตกแยก บ่อนทำลายคยวามสามัคคีคนในสังคึมขั้ดแย้งกันอย่างรุนแรง ไม่อาจหาทางออกด้วยสันติวิธี เกิดการต่อสู้ทางความคิดจตนถึงขั้นใช้อาวุธสงคราม เพื่อเจ้าของยุทธศาสตร์จะเข้าไปแสวงหาผลประโยชขน์ เช่น เข้าำปมีอิทธิพลครอบงำ ยึดครอง ปกครอง..

          ในทางการเมืองและสังคมวิทยา แบ่งแยกแล้วปกครอง เป็นการรวมยุทธศาสตคร์การเมือง ทางการทหารและเศรษฐกิจในการได้มาซึ่ง และรักษาอำนาจโดยการแยกอำนาจรวมศูนย์ที่ใหญ่กว่าออกเป็นส่วนเล็กๆ ที่แต่ละส่วนมีอำนาจน้อยกว่าผู๔้ที่กำลังใช้ยุทธศาสตร์ดังกล่าว มโนทัศน์นี้ หมายถึง ยุทธศาสตร์ที่แยกโคึรงสร้างอำนาจที่มีอยู่และป้อยกันกลุ่มอำนาจที่เล็กกว่ามิให้รวมกันขึ้น 



           องค์ประกอบของเทืคนิคนี้ 

          การสร้างหรือกระตุ้นให้เกิดการแบงแยกในหมู่คนในบังคับเพื่อป้องกันพันธมิตรซึ่งอาจท้ำทายองค์อธิปัตย์

          การให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนแก่ผู้ที่เจตนาให้ความร่วมมืทอแก่องคึ์อธิปัตย์ฺ

          ส่งเสริมความระแวงและความเป็นปรกปักษ์ระหว่างผู้ปกครองท้องุิ่น

          การกระตุ้นการใช้จ่ายที่ไร้ความหมายซึ่งลดขีดความสามารถในการใช้จ่ายทางการเมืองและทางทหาร

          ในประวัติศาสตร์ ยุทธศาสตร์นี้ได้ถูกใช้ในหลายทางโดยจักรวรรดิทีมุ่งขยายดินแดนออกไป มโนทัศน์ดังกล่าวยังมีการกล่างถึงเป็นยุทธศาสตร์สำหรับการดำเนินการทางตลาดในทางเศรษฐศาสตร์เพื่อนำผู้เล่นส่วนมากออกจากตตลาดำการแข่งขัน..

            กรณีอังกฤษแบ่งแยกอินเดีย  ..อังกฤเร่ิมต้นด้วยการทำสำมะโนประชากรแยกแยะว่ามครอยู่ที่ไหน ชาติพันธํ์ใด นับถือศาสนานิกายใด อังกฤษสอนให้คนอินเดียยึดมั้่นชาติพนธ์ศานานิกายของตน แต่อินเดียเป็นพหุสังคมมีศานานิกายมากมาย แม้มีคึวามขัดแย้งแต่ยังอยู่ร่วมกันได้ กระทั่้งความขัดแย้งทั้งจากชาติพันธ์นิกายศาสนากำลัีงบาดลึกรุนแรง

             การสร้างความขัแย้งในหมู่ชนชั้นปกครองเป็นอีกวิธีที่ใมช้รวมทั้งยุยงให้คนท้องถ่ินเกลียดชังชนชั้นปกครอง..เช่นที่ เบงกอล ประชาชนประท้วงร้องขอให้คนท้องถ่ินมีส่วนปกครองมากขึ้น รัฐบาลอังกฤษสนับสนุนคนท้องถ่ินที่ส่วนใหญ่เป็นมุสลิมผู้ยากไร้ลุกขึ้นต่อต้านผุ้ปกครองที่เป็นคนเชื้อนสายอินเดียที่นับถือ ศาสนาฮินดู รัฐบาลอังกฟษให้เหตุผล คือคนยากจนต่อต้านคนมั่งมี ประชาชนมีอำนาจปกครองตนเองมากขึ้น และประเด็นความแตกต่างทางศาสนา แต่เป้าหมายเบื้องหลงที่อังกฤษต้องการไม่ใช่เรื่องลดความเหลื่อมล้ำ แต่เพื่อให้ประเทศอินเดียวุ่นวานยเพื่อตนจะได้ปกครนองต่อไป

           ผลที่ตามมาคือเกิดพรรคมสลิมที่ต่้อต้านพรรฮินดูในรัฐสภา เกิดขบวนการเคึลื่อนไหวของมุสลิมทั้งประถเทศเรียกร้องสิทธิมุสลิมตามแนวทางของ มุหมัด อารี จินฮาน และเกิดกระแสแบ่งแบกดินแดนอย่างรวดเร็ว..ฝ่ายฮินดูตอโต้ด้วยการจัดต้งกลุ่มเคลื่อนไหวของตน เพื่อรักษาสิทธิของพวกฮินดูบ้าง เมื่อผู้คนในประเทศแตกแยกกัน ประถเทศอ่อนแอ เจ้าอาณานิคนจึงสามารถฉกฉวยผลประโยชน์จากประเทศนั้นๆ ได้ถึง เก้าสิบปี และลงเอยด้วยการแบ่งแยกอินเดียออกไป เกิดเป็นปากีสถานกับบังกลาเทศ ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน..

           ( ข้อมูลบางส่วนจาก "ไทยโพสต์" 18 ส.ค. 25656 "หลักแบงแยกแล้วปกครอง") 




วันพุธที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2565

Military force

            เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2565 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานสถานการณ์การสู้รบระหว่างรัสเซียกับยูเครน ที่เริมเมือ 24 กุมพาพันธ์ ว่ามีผู้เสีย ชีวิต 222  ศพ  เจ็บกว่า 889 คน ขณะที่สำนักงานข้าหลฃวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยสหประชาติ ชี้แจงว่าสงครามส่งผลให้มีผ6.5 ล้านคน อพยพออกจากประเทสกว่า 3,3 ล้านคน

            ในวันเดียวกัน สำนักข่าวต่างประเทศรายงานด้วยว่า กองทัพรัสเซียใช้ขีปนาวุธฑความเร็๋วเหนือเสียง หรืออาวุธไฮเปอร์โซนิค มาใช้ในสงครามยูเครนเป็นครั้งแรกโดยใข้โจตมตีคลังอาวุธใต้ดินของกองทัพยูเครนในภาคะวันตกของยูเครนรร ใแต่ไม่ระบุรายละเอิียดเพ่ิมเติม ขณะที่กองทัพยูเครนยังไม่ยืนยันต่้อรายงานดังกล่าว ทั้งนี้ ขีปนาวุธเร็วเหนือเสนียงเป็นอาวุธรุ่นใหม่ ที่กองทัพทัี่วโลกอยู่ระหว่างการพัฒนา เพราะยากที่จะป้องกันด้วยระบบต่อต้านในปัจจุบัน โดยมีกองทัพรัสเซีย กองทัพจีนพัฒนาล้ำหน้ากว่าใคร..

            . Hyper Sonic missile ไฮเปอร์โซนิคมทิสไซส์ คือขีปนาวุธในอินาคตที่สามารถเคลื่อนที่ด้วยความเร็ซ 5 มัค หรือความเร็วเป็น 5 เท่าของความเร็วเสียง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ

                 ยานที่ยิงนำส่งไปยังระดับความสูงมากๆ โดยจรวดและแล่าลงไปยังเป้าหมาย "ไฮเปอร์ ไกด์  วีฮะเคิล"


                -ยานที่ใช้เคึรื่องยนต์โดยนใข้คึวามเร็วในการอัดอากาศและขับเคลื่อนเครื่องยนต์แบบ "สครีมเจ็ต" เพื่อไต่ความเร็วให้ถึงระดับที่ต้องการและเคลื่อนที่ไปยังเป้าหมายโดยใช้เส้นทางเดียวกันกับเส้นทางการบินของอากาศยาน "ไฮเปอร์ ครูซ มิสไซส์"


                ภาพประกอบ..https://www.channelnewsasia.com/world/russia-uses-advanced-hypersonic-missiles-ukraine-first-time-2574726


                เมื่อเปรียบเทียบกับขีปนาวุธพิสัยไกล ที่มีลักษณะเป็นพาราโบลามากว่า ส่วนไฮเปอร์โซนิคมิสไซส์มีการโคจรที่ต่ำกว่าจึงุกตรวจจับได้วยเรดาร์ภาคพื้นช้เากว่า และมีระยะประชิดเป้าหมายที่ใกล้กว่า ด้วยความสามารถในการเคลื่อนที่ไต่ระดับด้วยความเร็ซสูงและหลบหลีกได้ ทำให้ไฮเปอร์โซนิคมิสไซมีขีดความสามารถในการอ้อมหลบหลีกระบบต่อต้านมิสไซส์ได้มากขึ้น...

               Bar Bayraktar TB2 atkเป็นโดรนซึ่งแระเทศยูเครนได้นำมาใช้ในสงครามครั้งนี้ และถือเป็นโครนเพชรฆาตกองทัพรัสเซีย สร้างความยุ่งยากในการบุกของกองทัพรัสเวียเป็นอย่างมาก 

              โดรนชนิดนี้มีสัญชาติมาจากประเทศตุรกี เป็นโครนกองทัพที่ใช้ปฏิบัติการขั้นสูงในการลอบสังหาร และถเป็นโดรนที่ได้รับการยอมรับจากองทัพหลายประเทศที่เห็นได้จตาากการนำไปใช้ปฏิบัติการในประเทสอิรักและการทำสงครามกลางเมืองของประเทศซีเรีย


                         ภาพจาก..https://www.dw.com/en/how-useful-are-turkish-made-drones-fighting-in-ukraine/a-61035894

              โดรน รุ่นนี้มีการออกแบบเป็นลักษณะฝีเสื้อและมีการใช้เคร่องนต์สันดาปภายในเป็นตัวขับเคลื่อนโดรน มีการใช้เส้นใยคาร์บอนเป็นวัสดุสำคัญ และที่สำคัญก็คือ โดครนชนิดนี้มีระบบควบคุมและสนับสนุนภาคถื้นจากองค์กรนาโต ผุ้ควบคุมโดคนชนิดนี้จะมีอยุ่ 3 คน คือ ฝ่ายนักบัีน ฝ่ายผุ้ส่งข้อมูลและฝ่ายบัญชาการทางด้านภารกิจ ระบบควบคุมเป็นระบบการควบคุถมแบบ 3 วงจรซึ่งเป็นระบบขั้นสูงที่มีเซนเซอร์ตรวจจับเหมือนกับยานพาหนะัแบบไร้คนขบ และมีความสามทารถในการตวจจับแลบบ"เรียลไทม์" ประสิทธิภาพของโดรนโดยทั่วไปนั้น มีระดับความเร็วสูงสุดอยู่ที 220 กิโลเมตรตค่อบั่วดมง มีคึวามเร็วในระดับมาตรฐาน อยู่ที่ 130 กิโลเมตรต่อชั่วดมง และสามารถใช้งานได้นานมากถึง 39 ชั่วโมงด้วยกัน..

             Switchblade 300, Swichblade 600 จากผู้ผลิต Aero Vironment เป็นโดรนยุทโธปกรณ์ขนาดเล็กที่พัฒนาให้เป็น "โดรนกามิกาเซ" เป็ฯอาวุธแบบใช้ครั้งเดียว ซึ่งมีการติดตั้งกล้อง ระบบนำทาง ระเบิดและสามารถตั้งดปรแกรมให้โจมตีเป้าหมายที่อยู่ห่างออกไปเป็นไมล์โดยอัตโนมัติ สามารถบังคับทิศทางรอบๆ เป้าหมายได้จตนกว่าจะถึงเวลาโจมตี โดยสามารถพุ่งชนตและทำลายเป้าหมายด้วยหัวรบระเบิด

             


               


            


           ภาพประกอบจาก..
          "สวิท์ชเบลด" มีขนาดพอที่จะใส่ในกระเป๋าเป้ และสามารถเปิดตัวได้จากทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ซึ่งประกอบได้ด้วย 2 รุ่น คือ "สวิท์ชเบลด -300  และ สวิท์ซเบลด 600" มีพิสัยการทำลาย 10 กิดลเมตร ความเร็วสุงสุดกว่า 100 ไมล์ต่อชั่วโมง  เพดานบิน 15,000 ฟุต รา่คา 6,000 ดอลลาร์ต่อลำ โดยถูกออกแบบสำหรับจู่โจมผู้คน ยาว 2 ฟุต หนัก 6 ปอนด์ มีขนาดเล็กและเบาเพียงพอที่ทหารเพียงนายเดียวจะสามารพกพาได้ ควบคุมไำด้ไกลถึง 6.2 ไมล์ แต่ใชข้งานได้เพียง 10 นาที ซึ่งไม่เหมาะกับการสอดแนมแต่มีประดยชขน์สำหรับการจู่โจมเป้าหมายระยะไกล ดดยหัวรบมีประจุระเบิดเที่ยบเท่ากับระเบิดขนาด 40 มม. ด้วยขนาดที่เล็กและการบินที่เงียบทำให้ยากต่อการตรวจจับหรือสกัดกั้น
            "สวิท์ชเบลด 600" ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่ามีไว้สำหรับทำลายรถถังและยานหุ้มเกราะอื่นๆ ด้วยหัวรบที่แข็งแรง รุ่นร้มีน้ำหนัก 50 ปอนด์ บินได้้นาน 40 นาที สูงสุด 50 ไมล์ และดจมตีด้วยความเร็วถึง 115 ไมล์ต่อชั่วโมง 
              "สวิทซ์เบลด"สามารถยกเลิกภาระกิจได้กลางคันหากสถานการณ์เปลี่ยนไปหลังจากเปิดตัว  หรือสามารถเปลี่ยนไปโจมตีเป้าหมายรองหรือทำลายตัวเองได้โดยไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บล้มตาย..
           Aero Kub โดรนกามิกาเซขนาดเล็กของรัสเซีียได้รับการออกแบบมาเพื่อโจมตีเป้าหมายที่อยุ่นิ่ง เคลื่อนที่ได้ไกลสูงสุด 40 กิโลเมตร ความเร็วสุงสุด 130 กิโลเมตรต่อชั่้วโมง ตรวจจับได้ยาก ติดตั้งกล้องและวัตถุระเบิดหนัก 1 กก. เคยมีรายงานว่ากองทัพรัสเซียประสบความสำเร็จในการใช้โดรนรุ่นนี้โจมตีผุ้ก่อความสงบในเมืองอิดลิบ ประเทศรัสเซ๊ยโดยถูกสร้างขึ้นจากผู้สร้าง ปืนไรเฟิล AK-47 โดยโดรนดังกล่าวเพิ่งเริ่มปฏิบัติการเมืองปีที่แล้ว ดดรนสามารถสอดแนมตำปหน่งได้ โจมตีเป้าหมายที่อยู่น่ิงไดด้วยพลังระเบิดขนาดใหญ่ซึ่งผุ้เชี่ยวชาญกล่าวว่าสามารถทำลายยานหุ้มเกราะได้ โดรนจะถถูกควบคุมผ่านวิดีโอที่ส่งกลับมาแบบเรียลไทม์ ดังนั้นจะขึ้นอยู่กับึความสามารถของผู้ควบคุม และความคึล่องแคล่วของโดรนในการไปถึงเป้าหมายโดยระยะเวลาบินค่อนข้างสั้นคือ 30 นาที กล่าวคือผู้ควบคุมโดรนจะต้องอยู่ใกล้กับเป้าหมาย
                      
 
             
            ข้อมูลจาก..https://www.thairath.co.th/news/auto/news/2346217
                              https://news.trueid.net/detail/w8lzvbrXnkkV
                              https://spoc.rtaf.mi.th/index.php/2019-09-04-02-55-55/2019-isr-spoc-rtaf/29-spoc-main/isr-article-spoc-rtaf/282-hypersonic-missile

     


              


วันอังคารที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2565

Money..( money talk) Part 2..

           สงครามระหว่าง รัสเซียและยูเครนนั้น ในการสู้รบที่สมรภูมิที่เป็นไปอย่างดุเดือด ผู้อพยพออกจากยูเครนไม่เว้นแต่ละวัน ซึ่งควบคู่ไปกับการเจรจาหาทางออกซ฿่งดำเนินควบคู่กันไปกับการตายและการอพยพของชาวยูเครน ซึ่งในแต่ละชั่วโมงไม่มีใครทราบได้ว่าจะเกิดอะไรกับทั้งกับรัสเซ๊ยและยูเครน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ยังหาทาทางออกในวิกฤตการนี้ไม่ได้(ในขฯะนี้) 

            มาตรการทัี่ชาติตะวัีนตกได้ให้ความช่วยเหลือกับชาวยูเครน นอกจากการสงอาวุธเข้าไปช่วยรบ แต่ทั้งนี้ไม่มีการส่งทหารของชาติต่างๆ หรือทหารของนาโต้เข้าาไปช่วยรบเนื่องจากเกรงว่าจะเป็นชนวนเนตุนำไปสู่สงครามโลกครั้งที่  3 จึงทำได้เพียงการ ควำ่บาตรทางเศรษฐกิจของรัสเซีย และหนึ่งในนั้นคือการคว่ำบาตรทางการเงิน

             ชาติตะวันตกตัดเสินใจตัด ธนาคารขนาดใหญ่ของรัสเซียจำนวน 7 แห่ง ออกจากระบบสวิฟต : SWIFT    Society for Worldwide Interbank Financial Telecommunication หรือ สมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก ซึ่งทำหนาที่่เชื่อมโยงระบบการโอนและชำรีะงินระหว่างประเทศ ระบบ "สวิฟท" สร้งขึุ้นตั้งแต่ปี 2516 โดยธนาคารอเมริกาและยุโรป และปัจจุบันเครือข่ายนี้มีะนาคารและสถาบันการเงินมากว่า สองพันแห่งเป้นเจ้าของร่วมกัน ภายใต้การดูแลของธนาคารแห่งชาติเบลเยียม และร่วมมือกับธนาคารกลางโลก เชื่อมโยงระบบการชำระเงินของธนาคารและสถะาบันกว่า หมือนแห่งในกว่า สองร้อยประเทศ 

            "สวิฟ์ท ไม่ใช่ระบบการโอนเงินหรือตัดชำระบัญชีด้วยตัวเองแต่ทำหน้า

ที่แจ้งข้อความคำสั่งการโอนเงินไปยังธนาคารคสมาชิกตค่างๆ ด้วยความรวดเร็วและปลอดภัย เพราะในการโอนเงินระหว่งางประเทศนั้น บางครั้งจะต้องผ่านหลายธนาคารเพื่อส่งเสินจากตเ้นทางไปปลายทาง ข้อควา่ม "สวิฟ์ท"จะทำให้ะนาคารต้นทืางถึงปลายทางทราบว่าเงินจะตค้เองถุกโอนไปอย่างถูกต้เองซึ่งตามปกติจะมีการส่งข้อความประมาณ 40--42 ล้านข้อความต่อวัน เกี่ยวข้องกับวงเงินหลายล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และตัวเลขในปี 2563 ที่ผ่านมาพบว่า 1-2 เปอร์เซ็นต์  ของข้อความเกี่ยวข้องกับการชำระเงินของรัสเซีย 

             การตัดรสเซียอกจะทำให้รัสเซียทำธุรกรรมการเงินได้ล่าช้า และไม่ราบรื่น เพราธนาคารทีรับชรำระเงินจะต้องจัดการกันเองโดยตรนง หรือต้องหาวิธีอื่นระบอื่นมาขช่วยชำระสินค้าบริการ 



                  ภาพประกอบจาก : https://thestandard.co/yuan-digital-new-china-digital-currency/

            "... 17 มีนาคม 2565 รอยเตอร์รายงานความเห็นของนายฮิโรมิยามาโอกะ อดีตหัวหน้าแปนกระบบการชำระเงินและการชำระหนี้ของธนาคารแห่งชาติญี่ปุ่นโดยมองว่ามาตรการที่นานาชาติคว่ำบาตรบังคับใช้กับรัสเซียนั้นเป็นตัวเร่งที่ทำให้ธนาคารกลางของหลายประเทศ พิจารณาใช้เงินสกุลดิจิทัลของธสนาคารกลาง เ็นอีกเครื่องมือในการหลีรกเลี่ยงผลกระทบจากอิทธิพลของเงินสกุลอดอลลาร์..

             นายยามาโอกะยังกล่้าวว่า การควำ่บาตรของตะวันตกจะยิ่งตอกย้อำว่าการเมืองและความมั่นคงของชาติทรงอิทธพลเหนือโลการเงินมากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงโลกของเงินสกุลดิจิทัล ธนาคารกลางหลายชาติกำลังมุ่งพัฒนาเงินดิจิทัลของตัวเอง การควำ่บาตนี้เป็นอีกตัวเร่งหนึ่งที่จะทำให้เงินดิจิทัลแบงก์ชาติสำเร็จเร็วขึ้น เนื่องจากบรรดาธถนาคารกลางต้องการหาทางลดผลกระทบที่อาจได้รับจากการคว่ำบาตรอย่างเช่นที่จีออกเงินหยวนดิจิทัล "มีโอกาสที่ประเทศอย่างจีนสามารถส่งเสริมการใช้หยวนดิจิทัลสำหรับการคทำธุรกรรมข้ามพรมแดนและสร้างสภาพแวดล้อมชำระเงินเฉพาะกลุ่ถมสกุลเงิน เพื่อตอบโต้่การครอบงำของเงินดอบบาร์" ยามโอกะกล่าว"...

            "...บิตคอยน์กลับมายืนเหนือ  สี่หมื่นสองพัน ดอลล่าร์ ยูเอส อีกครั้งหลังสงครามยูเครนสะท้อนภาพการเงินโลก ซึ่งหลังจากนางเจเน็ต เยลเลน รัฐมนตรีคลงังสหรัฐฯ แสดงท่าทีเห็นด้วย และกล่าวชื่นชมทำเนียบขาวที่เตรียมออกคำสั่งฝ่ายบบริหารเพื่อกำหนดให้หน่วยงานของรัฐบาลเร่งทำการศึกษาข้อดีและข้อเสียของการใช้คริปโตเคอร์ฺเรนนซี

            การตัดรัสเซียออกจากระบบ "สวิฟท์" เช่นที่เคยทำกับอีหน่านเมื่อพ.ศ. 2561 อาจส่งผลกระทบทางร้ายมากกว่าดี เพราะธนาคารกลางรัสเซียได้พัฒนาระบบ SPFS สามารถใช้เป็ฌนโคึรงข่ายสำรองได้แม้ว่าอาจไม่สมบูรณืแบบก็ตาม นอกจากนี้ การดำเนินกลยุทธ์ดังกล่าวอาจย้อนกลับมาทำร้ายสหรัฐเอง ในฐานะเจ้าของเงินสกุลดอลลาร์ซึ่งกันอย่างแพร่หลายในตลาดการซื้อขายระหว่างประทศ ระบบชำระราคาที่ใช้ดอลลาร์เป็นหลักอาจถูทดแทนด้วยคู่แข่างอย่างเงินหยวนของจีนที่ทำธุรกกรรมผ่านโครงข่าย CIPS :7j'xy006[yo,u,^]8jkkik; ๅ ใน 8 ของธุรกรรมสกุลดอลลาร์สหรัฐที่ดำเนินการผ่าน "สวิฟท์" การใช้โครงข่ายดัะงกล่าวเพื่อหวังผลทางการเมืองอาจยิ่งสร้างแรงจูงใจให้เหล่าประเทศที่อุดการณ์ทางการเมืองแตกต่างจากสหรัฐอเมริกายิ่งเอนเอียงไปทางจีนซึ่งเปิดกว้างกว่า..

                ข้อมูลบางส่วนจาก : https://mgronline.com/stockmarket/detail/9650000023573

                                                 themomentum.co/econcrunch-russia-ukraine/

                                                  https://www.prachachat.net/world-news/news-889176

                                                  https://www.thairath.co.th/business/finance/2334807

            

วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2565

Money.. (money talk)

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการร่วมมือของประเทสฏซ๋ษ 50 ประเทศเพื่อช่วยกันจะฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศผู้แพ้สงคราม ซึ่งในสงครามโลกคร้งที่ 2 นั้น เยอรมัน และอิตาลีเป็นฝ่ายแพ้สงคราม "ศ.จอห์น เมนาร์ด" เป็นนักเศษรษฐศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายในการทำหน้าที่นี้ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยการเงินของกระทรวงการคลังของสหรัฐฯ ฉฮรี่ ดี ไวท์ และรัฐมนตรีว่าการกรวงการคลัง ขณะนั้น เฮนี่ มอร์เกนธอ ได้เสนอว่า ระบบการเงินโลกควรเน้นการมีเสถียรภาพเป็นหลังเพื่อประโยชน์ในการค้า โดยเห็นว่าระบบการเงินโลกหบังสงครามโลกควรมีความยืดหยุนกวาระบบมาตรฐานทองคำที่ใช่ก่อนสงคราม เพราะการผูกเงินตราไว้กับทองคำจะก่อให้เกิดแรงกดดันไปสู่เยงินฝืด จึได้ถือกำเนิด "ข้อตกลงเบรตตัน วูดส์" ขึ้นมา เพื่อจัดระเบยบการเงินโลกใหม่โดยมี แนวทางดังนี้ 

          .ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 สเปนแผ่อำนาจไปทัี่วโลกและทให้ "สเปน ดอลล่าร์" เป็นสกุลเงินที่สำคัญของโลก  โดยอิงตามเงิน (แร่เงิน) และเป็นเงินสกุลหลักทั่งทวีปเอเชีย ทวีปอเมริก และอนุทวีปไอบีเรีย กว่าสองศตวรรษ

           ต่อมาในคริสต์วรรษที่ 19 เมืองทองเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการเป็นตัวกลางของการซื้อขาย จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า "โกล์ด สแตนดาร์ด" ที่สกุลเงินต่างๆ ต้องมีทองคำสำรองเพื่อออกเป็นเงิืนตราได้ แต่เมือเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งหนึ่ง ดดยเงิน ปอนด์ สเตอริง"ของอังกฤษมาเป็นเงนสกุลหลักของโลกในช่วงสั้นๆ จนกรท่ั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2  


            รูปภาพจาก https://www.dw.com/en/bretton-woods-at-75-has-the-system-reached-its-limits/a-49687599

           - มีองค์กรกำกับหรือบริหารนโยบายแศรษฐกิจระหวางประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศและเป็นที่มาขององค์การระหว่าประเทศด้านการเงินอันประกอบไปด้วย กองทุนการเงินระหว่างประเทศ"ไอเอ็เอฟ", ธนาคราโลก "เวิร์ด แบงค์", องค์การการค้าระหว่างประเทศ "ไอทีโอ" ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นข้อตกลงหรือความตกลฃงทัี่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า "แกต" และต่อมาได้กลางเป็นองค์การการค้าโลกหรือ "เวิร์ด เทรด"หรือ "ดับบริวที่โอ"ในปัจจุบัน

            ข้อตกลงของระบบเบรตตัน วูดส์ และกลไกสำคัญ 

            ระบบอัตราแลกเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลียนภายใต้ตอตกลง เบบรตตัน วูดส์ มีดังนี้ 

            - อัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่ แต่ไม่ใช่ระบบมาตรฐานทองคำดังในอดีตค 

          - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนจะเป้นแบบคงที่ แต่สามารถปรับได้ ในระดับหนึ่ง และหากประเทศสมาชิก "ไดเอ็มเอฟ"ประสพกับปัญหาขาดุลการชำระเงินมหาศาลหรือเรื้อรัง สามารถปรับอัตาแลกเปลี่ยนได้

           - ข้อตกลงข้างต้นกำหนดให้ทองคำและเงนสกุลดอลลาร์ของสหรัฐฯ เป็นทุนสำรองระหว่างประเทศ และกำหนดให้เงินดอลลาร์มีค่าคงที่กับทองคำได้กำหนดให้ทองคำ 1 ออนส์ เท่ากับ 35 ดอลลาร์ และ ดอลลาร์สามารุเปลี่ยนเป็นทองคำด้โดยไม่จำกัด

          -ในฐานะที่ดอลลาร์เป็นเงินตราสกุลหลัก แต่ละประเทศจะต้องประกาศค่าเงินของตนเองโดยอิงกับทอง หรืออิงกับดอลลาร์ หรือที่เรียกว่า "ค่าเสมอราคา" 

          - ประเทศต่างๆ จะเข้าแทรกแซงในตลาดเงินตรนาตค่างประเทศเพื่อให้ค่าเสนมอภาคอยู่ระดับที่ประกาศไว้ โดยผ่านการซื้อขายเงินตราตคค่างประเทศ..

           โรเบิร์ต กิลพิน" ได้ศึกษาว่า กว่างครึ่งหนึ่งของการคึ้าโลกในต้นสหสวรรษเป็นการทำรายการในสกุลเงิน "ยูเอส ดอลล่าร์" และหว่าสองในสามของเงินสำรองของประเทศต่างๆ ทั่วดฃลกเป็นเงิน "ยูเอส ดอลลาร์" เช่นกัน จึงน่าจะหล่าวได้ว่า "ยูเอส ดอลลาร์"เป็นเงินสกุลหลักของโลกตลอดครึ่งศตวรรษนี้ก็ว่าได้


                รูปภาพจาก http://www.acnews.net/view_news_breaking.php?news_id=B256028886

           แต่เมื่อเศรษฐกิจโลกเติบดตอย่างก้าวกระโด และการที่เงินสกุลเดียวเป็นสกุลหลักของโลกย่อมมีความเสี่ยง ประเทศในกลุ่มยุโรปจึงไช้สกุลเงินที่ใช้แลกเปลี่ยนได้ในกลุ่มสมาชิกเรียกว่า  "ยูโร"ในปี 1999 และยูโรใช้เวลาไม่ถึง 20 ปี ก็ขึ้นเป็นเงนสกุลหลักอีกสกุลหนึ่งของโลก

           ปัญหาของเงินสกุลหลักเช่น "ยูเอส ดอลลาร์" คือ ค่าเงินจะสัมพันธ์กัีบพื้นฐานเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ และในระยะสั้นก็จะแปรฝันตามดอกเบี้ยนโยบายของประเทศนั้น อีกด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือเมื่อเกิดวิกฤติการเงินในสหรัฐเมือปี 2008 ได้มีการจัดพิมพ์ธนบัตรจำนวนมากเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง อันจะช่วยประคองเศรษฐกิจในประเทศ แต่ทำให้ภาพความเป็นเงินสกุลหลกและเ็นกลางด้อยไป แปละบางครั้งส่งผลต่อความเชื่อมั่นในสกุลเงิน..

            นักเศรษฐศาสตร์ "จอห์น เมนาร์ด คีย์เนส" ได้กล่าวว่า ดลกควรจะมี "ตัวกลางแลกเปลี่ยน"ดดยไม่ขึ้นกับสภาพเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ ซึ่งจตะทำให้การค้าในโลกคล่องตัวขึ้น และเติบโตมากขึ้น ที้ง "ไอเอ็มเอฟ"และสหประชาชาติก็เคยมีการศึกษาในปี 2009 และให้ความเห็นว่าควรจะมีเงินอีกสกุลหนึ่งที่เป็นกลาง เพื่อทดแทน "ยูเอส ดอลลาร์"แต่การศึกษายังอยู่ในกรอบความคิดเดิมที่ต้องมีหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้เาที่ในการควบคุมการออกธนบัตร การคุมเงินหมุนเวียนต่างๆ เป็นต้น..

          ในปีเดียวกันนั้นเอง มีกลุ่มคนที่ใช้่ชือ "ซาโตชิ นาคาโมเตะ" ได้ออกแบบสิ่งที่เรียกว่า "บล็อกเชน"ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิเตอร์เพื่อบันทึุกบัุญชี และการบันทึกบัญชีดังกบล่าวสามารถตรวจสอบได้ทุกๆ คนทำให้ไม่จำเป็นต้องมีหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้าที่ตรวจนสอบและสั่งจ่าย กล่าวคือในการชะระเงินนั้น สามารถส่งมอลบกันโดยไม่ต้องมี ะนาคารชาติ วึ่งก็ทำให้ความสำคัญของหน่วยงานดังกล่าวหมดไป และ"ซาโตชิ" มีวิสัยทัศน์ที่จะทำให้เทคโนโลยีดังกล่าวสามารถพัฒนาเป็นเงินสกุลหลักของโลก จึงออกแบบ "บล็อกเชน" ให้เป็น "โอเพน ซอร์ซ ซอฟแวร์" เพื่อให้ทุกคนสามารถมาร่วมพัฒนาต่อยอดได้ อย่างไรก็ตาม เงินสกุลที่คนกลุ่มนี้ต้้งขึ้นคือ "บิตคอยด์"มีข้อจำกัดหลายอย่าง ไม่ว่าปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียนอย่างจำกัน และไม่มีสินทรัพย์รองรับทำให้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็งกำไรมกกว่าที่จะเป็นเงินสกุลหลัก เนื่องจากเงินต่างๆ เหล่านี้มีการเข้ารหัสจากเทคโนโลยี"บล็อกเชน" จึงทำให้บางที่เราก็เรียกว่า "คริสโต"ซึ่งยังมี่อีกหลายสกุล..

          ข้อมูลจาก : https://www.bangchak.co.th/en/newsroom/everlasting-economy/523/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81-libra

                        https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom20/03-01.html

วันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2565

Kiev

           เคียฟ ฟรือ กือยิว เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครน และยังเปฌน หนึ่งในสี่เมื่องเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ด้วยโดยมีีสนามกีฆาโอลิมปิกแห่งชาติเคึียฟเป็นสถานที่แข่งขัน ตั้งอยู่ภาคกลางตอนเหนือของประเทศ ริมผั่่งแม่้น้ำนีเปอร์ เป็นเมืองที่มีประชากรเป็นอันดับ 7 ในทวีปยุโรป ในปี 2021 การปกครองเป็นเทศบาลระดับชาติ และเป็นอิสระจากแคว้นเียฟที่ล้อมรอบ เคียฟเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ การศึกษา และวัฒนธรรมจองยุโรปตะวันออก

           เึียฟฉลองการก่อตั้งอย่างเป็นทางการปีที่ 462 เมื่อไม่นานนี้ แต่ประวัติศาสตร์เป็นเอกสาร กล่าวอ้างย้อนไปกว่านั้น กว่า 2000 ปี (โดยสมมติฐานว่าเมื่อนี้ถูกค้นพบโดยชนเผ่า"ขาร์มาเทียนต"ในศตวรรษที่ 1) และมีโบราณสถานที่เก่าแก่ในพื้นที่ย้อนหลังไปถึง 25,000 ปีก่อนคริตกาล..

            ตามตำนานเล่าว่า เมื่อนี้ก่อตั้งโดยสามพี่นน้อง Kyi, Shehek และ Khoryv และ Lybidน้องสาวของพวกเขาร เียฟได้รับการตั้งชื่อตาม Kyi พี่ชายคนโต ซึ่งไม่ทราบศตวรรษที่แน่นอนในการก่อตั้งโดยเชื่อกันว่าเมืองนี้่มีอยู่ตัี้งแต่ศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มแรกเป็นที่ตั้งถ่ินฐานของชาวสลาฟ ค่อยๆ ได้รับชื่อเสียงเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมสลาฟตะวันออก เคึียฟถึงยุคทองเป็นศูนย์กลางของ เคียฟ รุส ในศตวรรษที่ 10 และเสื่อมลงอย่างรวดเร็วในปี 1169 หลังถูกรุกรานโดยเจ้าชายอันไตรโบกอล และชาวมองโกลหลายต่อหลายครั้ง ในศตวรรษต่อมาเป็นเมืองหลงงขบองเมืองเล็กๆ ในเขตชานเมืองของ ราชรัฐลิทัวเนีย ที่ดปแลนด์ลิทัวเนียและซาร์ดอมของรัสเซ๊ย ต่อมาจักวรรดิรัสเซีย นำขนนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนาคริสต์ออรโธดอก เข้าในปลายช่วงการปกครองโดย คาทอลิก โปแลนด์..

         เียฟเจริยอีกครั้งในชข่วงการปวัติอุตสาหกำรรมของรัสเซียในชข่วงปลายศตวรรษที่ 19 ในชช่วงเวลาของการปฏิวัติรัสเซ๊ย เคียฟติดอยู่ตรงกลางของความขัดแย้ง..เคียฟได้กลายเป็นเมืองหลวงในช่วงเวลาสนั้นๆ  เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพดซเวียต ตั้งแต่ปี 1921  เป็นเมืองหลงวงของโซเวียตยูเครน ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมืองถูกทำลายย่อยยับอีกครั้ง และกลับฟื้นคืนมาอย่างรวดเร็วหลังสงคราม "เคียฟ"ได้กลายเป็นเมืองสำคัญ 1 ใน 3 ของสหภาพโซเวียต..

          เคียฟตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนเหนือของประเทศยูเครน เคียฟ  ตั้งอยู่่ทางภาคกลางตอนเหนือของประเทืศยูเครนน เคียฟนอกจากจตะเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครนแล้ว ยังเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ การศึกษา และวัฒนธรรมของยุโรปตะวันออกรวมถึงทงด้านกีฬา ทางด้านเศรษฐกิจนั้น เคึียฟเป็นอีกหนึ่งเมืองสำคัญแห่งยุโรปตะวันออก โดยเมื่อไม่นานนีั้ จีนได้เป็นเส้นทางรถไฟสินค้า จีน ยุโรปสายใหม่ เชื่อมระหว่างนครแางซาเมืองเอกของมณฑลหูหานทางตอนกลางของจีรน กับกรุงเคียฟ ซึุ่งถือเป็นอีกหนึ่งเส้นทางค้าขายสำคัญของจีนกับยุโรปตะวันออก

ภาะจาด

                 ภาพจาก https://www.reuters.com/world/kyiv-city-imposes-curfew-saturday-evening-until-monday-morning-2022-02-26/

           นอกจากนี้กรุงเคียฟยังเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของประเทสยูเครน โดยพรรยากาศของตัวเมืองเคียฟที่ตั้งอยู่ริมผั่งแม่น้ำนีเปอร์นั้นจะอวลไปด้วยอาคารเก่ามรดกทางวัฒนธรรมของยูเครนและสถาหัตยกรรมแบบยุโรปตะวันออกดั้งเดิมที่ดูคลาสสิกสวยงานผสมผสานกับอาคารกลิ่นอายศิลปะโซเวีียต และตึกรามบ้านเรือนร่วมสมัยที่ตั้งเรียงรายอยุ่ด้วยอย่างกลมกลืน ไม่ว่าจะเป็นศาสนสถาน โรงละคร พิพิธภัณฑ์ จัตุรัส โบราณสถานต่างๆ และอาคารร่วมสมัยในยุคปัจจุถบัน

           สถานที่ท่องเที่ยวที่สคัญอาทิ "อารามมหาวิหารหลวงแห่งหมู่ถ้ำพอร์จเชตกาลาฟร่า" หรือ "อารามหลวงแห่งหมู่ถ้ำ"เป็นหนึ่งสัญลักษณ์ของกรุงเคียฟกับสถาปัตยกรรมอารามหลวงสุดคลาสสิก สวยงามโดดเด่นมองเห็นแต่ไกล อารามแห่งนี้สร้างขึ้นตั้งแต่เมืองช่วงศตวรรษที่ 11 และได้รับการขึุ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก พร้อมกับมหาวิหารเซนต์โซเฟีย..

           St.Michael,s Golden3Domed Cathedal โบสถ์หลังงามที่ตั้งอยู่บนเนินเขาเหนือย่านการคึ้าของเมืองซึ่งขึ้นชขื่อสในด้านความสวยงามเป็นเอกลักษณ์ในสไตล์ "ยูเครนบาดร้ค"

          พิพิธภัณ?์สงครามกอบกู้ิตุภูมิ ที่โดดเด่นไปด้วยประติมากรรมมาตุภูมิ ขนาดใหญ๋ตั้งอยู่ด้านบน ซึ่งเป็นจุดที่สามารถขึ้นไปชมทัศนียภาพของตัวเมืองเคียฟได้อย่างสวยงวม

          ถนน Khresshchatyk ย่านถนนที่อวลไปด้วยวิถีสีสันของชาวยูเครน ในวันที่ปิดเป็นนนนคนเดินจะัคึกคักไปด้วยร้านรวง ร้านอาหารการกิน บาร์ ร้านขายของที่ระลุก การแสดงดนตรี และกิจกรรมต่างๆ ท่ามกลางบรรยากาศฯของอาคารเก่าโดยมี "อินดิเพนต์เด้นท์ สแควร์" เป็นแลนมาร์กสำคัญ  พิพิธพันธ์กลางแจ้งที่นำเสนอเรื่องราววิถีชีวิตชนบทของชาวยูเครน...

              ข้อมูลจาก : https://hmong.in.th/wiki/History_of_Kiev

                                 https://mgronline.com/travel/detail/9650000019869

          

           

วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2565

Mercenary..

           ธุรกิจเกี่ยวกับการสงครามและการทหารนอกเหนอจาก บริษัทผู้ค้า ผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ๆของโลก
นั้นก็คือ ธุรกิจทหารรับจ้าง ซึ่งจะกล่าวถึงทหารรับจ้างแล้วอาจจะแยกออกเป็น Hercanacy และ PMC( Private military company) ซึ่งมีความเหมือนในความต่าง..ทั้งสองประเภทนี้ล้วนเป็นธุถรกิจเกี่ยวกับการทหารเหมือนกัน แต่ขอบลเขตการทำงานและการเปิดเผยนัี้นแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง 

           PMC ทำงานอยู่ภายใต้การรับรองของกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการจัดจ้างเป็นในลักษณะบริษัทถูกรองรับโดยประเทศเจ้าของบริษัท บางบริษัทรับเฉพาะงานด้านตอารักขาและที่ปรึกษา และบางบริษัทก็รับงานในลักษณะของกองกำลังทหารด้วย 

            Mercenary ไม่จำเป็นต้องอยู่ภายใต้การรับรองของประเทศแต่เป็นการจัดจ้างในระดับบริษัทกับประเทศผู้ว่าจ้าง

           ทั้งสองกลุุ่มนี้มีรากฐานมาจากที่เดียวกันคือกลุ่มผู้มีความสามารถุทางการทหาร ที่ออกมารับงานนอกระบบกองทัพ หากถามว่าบริษัทผู้ให้บริการ PMC สามารถให้บริการในลักาะของ Mercenacy ได้ไหมคำตอบคือ ทำได้เช่นกัน เพียงแตจ่งานในลัษณะนี้แม้เป็นการเห็นชอบลของประเทศผู้ว่าจ้างที่จัดจ้าง แต่ถ้าประเทศเจ้าของบริษัทไม่เห็นขชอบด้วยบริษัทก็ถูกฟ้องแหลกได้ ถ้าโดยการจำกัดความแล้ว  PMC นั้นคือบริษัที่จดทะเบียนถูกต้อง เสียภาษีถูกต้อง และทำงาน ดดยความเห็นชอลบของปรเทศเจ้าของบริษัท เมอเซนนารี่ ไม่จำเป็นต้องจดทะเบียน ไม่จำเป็นต้องเสียภาษีและทำงานโดยไม่ผ่านความเห็นของประเทศใดๆ นอกจากประเทศผู้จ้าง

           ในการจัดหาคนมาเป็นทหารรับจ้าง รับมาจากอดีตทหาร นักเลงข้างถนน มาเฟียหนีคดี หรือแม้กระทั้งการเข้าไปจัดหาในประเทศทuี่นประเทสที่มีข้อพิพาทต่างๆ บางเจ้าจัดกัดกำลังแบบกองพลได้เลยที่เดียว ส่วนทหารรับจ้างอีกลักษณะหนึ่งนั้นคือ การว่าจ้างโดยรัฐบาลประเทศนตั้นๆ เืพ่อให้มาเป็นทหารในประทเศของตนเอง...

           เมอร์เซนนารี่บ้างกลุ่มไม่มีค่าตอบแทนที่สูงเลยเมื่องเทียบกับ "พเอสซี"บางกลุ่ม ในอดีตที่ผ่านมาในขจ้อพิพาทหลายๆ ครั้งของโลกนั้น รบเื พ่อจะได้มีข้าวกิน สามมื ้อ รบเืพ่อเงินไม่ถึง ยี่สิบเหรียญต่อวันรบเืพ่อให้ได้ยาเสพติดมาเสพ ถ้าอยากได้คึ่าตอบแทนที่สูงขึ้่น ต้องล่าค่าหัว ตัดหัวตัดหูเก็บยศมาแลกค่าตอบแทนที่สูงขคึ้น  ..

          ในบางประเทศหากคู่กรณ๊มีการจ้าง "เมอร์เซนนารี่" คู่พิพาทก็เลือกที่จะจัด "พีเอ์มซี" แทนที่จะใช้กำลังทหารของตนเองโดยความเป็นจริงแล้วทั้งสองกองกำลังเป็นเพียงการสร้้างภาพของกลุ่มธุรกิจสงครามยุคใหม่ ซึ่งต้องมีพระเอิก ผู้ร้าย ซึ่งคนที่รบก็รบกันไปเพื่อค่าตอบแทนหรือความต้องการทางจิตใจของตน.. บางส่วนจาก "มารู้จักทหารรับจ้าง Private Military Company(PMC) - Pantip

          "บริษัทของเรารับดำเนินการต่างๆ เืพ่อความมั่นคงของโลกในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งแก้ปัญหาด้วยการดำเนินการทางยุทธวิธีในหลายรูปแบบ โดยมีประวัติในการรัีบดำเนยินการให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น กระทรวงกลาโหมกระทรวงการต่างประเทศ หน่วยงานบังคับใช้กฎหมามยต่าสงๆ ทัี้งประเทศรวมถึงบริษัทข้ามชาติต่างๆ ทั้งในสหรัฐฯ และมิตรประทเศั่วโลก.."

           Erik Prince ลูกชายของอภิมหาเศษฐี ผุ้ก่อตั้ง "อเมริกา รีเสริซ์ แลป" ได้ขายกิจการทุกอย่างของครอบครัวมูลค่า กว่า หนึ่งพันตสามร้อยล้าน ดอลลาห์ เพื่อก่อตั้งบริษัททหารรับจ้าง.."อีริคเป็นอดีต หน่วยรบพิเศษ นาวี ซีล ตอนนั้น เขจาเพิ่งอายุ 27 ปี แต่ด้วยอำนาตและเส้นสายของครอบครัวที่เป็นผู้สนับสนุนพรรครีพับรีกันรายใหญ่และ อดีตประะานาธิบงดี จอร์ช ดับเบิลยูบุช ทำให้เขาเสนอแนวทางสนงครามยุคใหม่นี้กับทเนียบขาว ได้ไม่ยาก ส่งผลให้แบล็กควอเตอร์ได้รับการว่าจ้างจากรัฐบาลนสหรัฐฯ ให้เป็นผู้รับผิดขอบงานด้านการรักษาความปลอดภัยต่างๆ อย่างมากมาย


          บริษัทแล็ควอเตอร์นับเป็นบริษัทที่อันตราการเจริญเติบโตสูงมากบริษัทหนึ่ง นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นใน 1996 เนื่องจากมีผลกำไรจาการปรกอบการจำนวนมหาศาลทหารรับจ้างส่วนใหญ่ของแล็ควอเตอร์มาจากอดีตคกำลังพลของกองทัพสหรัฐฯ โดยเฉพาะหน่วยเนวี่ ซีล และหน่วยรบพิเศษของนาวิกโยธิน รวมไปถึงหน่วยสวาทของตำรวจสหรัฐฯและทหารรับจ้างจากทัวโลก...บางส่วนจาก "(หนาน กอฟ) จาก NAVY  SEAL สู่ผู้ก่อตั้งบริษัททหารรับจ้าง ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก"..


         Wagner Group เข้าปฏิบัติภารกิจใน "ซีเรีย" ก่อนหน้าที่ ดีมิทรี อูติน จะนำ "นักรบเงา" ของ Wagner Group ดูเหมือนว่า ดลกภายนอกจะไม่เคยระแคะระค่ายมาก่อนเลย กระทั้งกองทัพสหรัฐฯ ไเดเปิดเเผยเหตุการณ์สังหารนักรบแนวร่วมกองทัพซีเรีย อย่างน้อย 100 คน ซึ่งต่อมาได้รับการยืนยันว่าเป็นสมาชิกของ Wagner Groupดลกจึงได้รู้จักกับ "กองทัพเงา"


         นักรบเงา เดินทางเข้าสู่ ซีเรีย ครั้งแรกมนชข่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 2013 ต่อมาในปีรุ่งขึ้น"นักรบเงา" เข้าสู้รบกับกลุ่มกบฎแบ่งแยกดินแดนภาคตคะวันออก "ยูเครน" โดยมีรรัสเซียหนุนหลัง...และนั้นก็คือ ฦ"จุดก่อเกิด"อย่างเป็นทางการ ของ Wagner เroup ที่แม้ทาง "เครมลิน"จะปฏิเสธมาตลอดต่อข้อกล่าวหาของ "ยูเครน ชาติตะวันตก และชาวโลก ว่า รัสเซียส่ง "ทหารรับจ้างไ เข้ารวมรบกับยบฎยูเครน โดยเครมลินได้กล่าวแต่ว่า ไชาวรัสเวียที่กำลัีงต่อสู้อยู่นั้นเป็นเพียงอาสาสมัคร อย่างไรก็ตคามในปีต่อมา  2015 "นักรบเงา" ได้กลับไปปรากฎตัวอีครั้งใน ซีเรีย เมื่อ รัสเซีย เริ่มปฏิบัติการแทรงแซงทางการทหารครั้งใหม่ เพียงสนับสนุนรัฐบาลซีเรีย...


          อย่างไรก็ดี สือตะวัรกหลายสำนักเปิดเผยตรงกันว่า "นักรบเงา" เป็นองค์กรอย่างเป็นทางการของ "เชฟของปูติน" หรือ เยฟกีนี้ ฟริกอฟซิน นักธุรกิจนัดงานเลียงแห่งกรุง"ปีเตอรเบริกซ์" ผู้คว้าสัมปทารางานประมูลใหญ่ๆ ของทั้งกองทัพ รัีสเซียและรัฐบาลรัสเซียทั้งหมด ทั้งนี้ มีรายงานลับที่เผยแพร่ถึงจำนวนของ "นักรบเงา"ซึ่งยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิเคราะห์สงครามระดับโลก..บางส่วนจาก.."เผยโฉม Wagner Group "นักรบเงา" สุดยอด "ทหารรับจ้าง" Russia 3 Salika.co...

           

 

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...