วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555
วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2555
Institution approach
แนววิเคราะห์สภาบัน
สถาบันคือ โครงสร้างและกระบวนการที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่เป็นทางการไม่ว่าจะเป็นกฎหมาย ประเพณี และพิธีกรรมใดๆ ซึ่งสามารถช่วยรักษามาตรฐานค่านิยมทางสงคมและช่วยสร้างกระบวนการเพื่อการควบคุมในสังคม
สถาบันทางสังคมอาจพิจารณาได้หลายลักษณะ ลักษณะแรกเป็นหน่วยงานและสถานที่ สถาบันในลักษณะที่สองคือสถาบันที่มีลักษณะเป็นสัญลักษณ์์แทนสิ่งซึ่งมีความสำคัญในสังคม และสถาบันในลักษณะที่สามคือสถาบันทีเป็นนามธรรมและเป็นการแบ่งแยกสังคมออกจากกัน เพื่อสะด่วกในการศึกษาส่วนประกอบของสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางเศรษฐกิจ และสถาบันการเมืองการปกครอง
การเืมืองเป็นสถาบันหนึ่งของสถาบันทางสังคม ซึ่งหมายถึงสถาบันที่เคลื่อนไหวเป็นกระบวนการอยูในระบบการเมือง ซึ่งสามารถทำหน้าที่สือบเหนื่องกันและเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป
ลักษณะที่สำคัญของสถาบันทางการเมือง
1 มีโครงสร้างแน่นอนหรือค่อนข้างแน่นอนคือศึกษาได้นั้นเอง
2 มีหน้าที่หรือกิจกรรมที่สืบเนื่องต่อกันไปนานพอสมควร
3 เป็นแบบแผนของพฤติกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่งที่คนทั่วไปยอมรับ
4 แสดงถึงการมีความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างมนุษย์ในทางการเมือง
ค.ศ.ที่ 20 การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ในลักษณะที่เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลได้เริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา การค้นคว้านี้ได้เริ่มต้อนด้วยการศึกษารูปแบบต่าง ๆของรัฐบาล โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์สถาบัน และในขณะเดียวกันการค้นคว้านี้ก็ครอบคลุมไปถึง แนวความคิดต่าง ๆ ตลอดจนการคำเนินงานของรัฐบาล แนวความคิดสำคัญ ๆ ที่สนใจกัน ได้แก่ รัฐ กฎหมาย อำนาจอธิปไตย สิทธิความยุติธรรม เป็นต้น นักวิชาการเหล่านี้ได้หเริมให้ความสนใจกับหน้าที ต่าง ขององค์กรทางการเมืองและ กระบวนการทางการเมือง แต่อย่างไรก็ตามนักวิชการเหล่านั้นก็ยังถูกจำกัดอยู่ในกรอบของสถาบันทางกฎหมาย
ปัจจัยหลักที่นักวิเคราะห์แนวสถาบันให้ความสนใจ
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยของปวงชนเป็นเงื่อนไขของระบอบ รัฐบาลจะต้องปกครองโดยได้รับความยินยิมจากประชาชน แต่ในการปกครองนี้ รัฐบาลจะต้องมีอำนาจที่มีขอบเขตจำกัน และต้องมีการวางกรอบกำหนดของเขตของอำนาจอย่างชัดเจน นักรัฐศาสตร์แนวนี้จึงให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญ ทั้งยังรวมถึงให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบของรัฐ ว่าควรเป็นแบบใด..และให้ความสำคัญกับอำนาจอธิปไตยทั้งสาม "นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ"
ปัญหาที่สำคัญคือ ทำอย่างไรจึงจะจำกันอำนาจของรัฐบาลมิให้มีมากจนเป็นผลเสียต่อปัจเจกบุคคล
ปัญหาที่ สอง จะมีวิธีการจัดความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันปกครองของรัฐอยางไรจึงจะก่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุล ระหว่างกันได้
ดังนั้น การวิเคราะห์ระบบจึงในความสำคัญกับ
- กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ
- โครงสร้างทางการเมือง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายแม่บทอื่นไดที่เกี่ยวสถาบันทางการเมือง จะเห็นได้ว่า แนวทางการศึกษาการเมืองเช่นนี้ มีรากฐานความคิดมาจากทฤษฎีประชาธิปไตยซึ่งตระหนักว่า อำนาจ เป็นรากฐานของการเมืองและในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้น การใช้อำนาจจะต้องเป็นไปตามหลักการของความเสมอภาค และความยุติธรรม ซึ่งหลักการนี้ได้แก่ การปกครองโดยกฎหมาย ก่อให้เกิดอำนาจที่ชอบธรรมและประชาชนสามารถเลือกผู้แทนให้ไปเป็นผู้ัออกกฎหมายได้ การเป็นตัวแทนนั้นก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพระบอบอประชาธิปไตยจึงปกป้องเสรีภาพด้านต่าง ๆซึ่งแสดงออกด้วยการประกันสิทธิด้านต่้างๆ
โดยปกติแล้วนักวิเคราะห์เชิงสถาบันจะศึกษาตัวบทกฎหมายเพื่อสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ๆ มีการแบ่งสันปันส่วนการใช้อำนาตอย่างไร การศึกษาการใช้อำนาจทางการเมืองย่อมเท่ากับเป็นการแสวงหาคำตอบเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และความเสนมอภาคของเอกชน ซึ่งเอกชนในที่นี้หมายรวมถึงปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สามารถกระทำการใด ๆ ได้ดังบุคคล
โครงสร้างทางการเมือง แนววิเคราะห์เชิงสถาบันมุ่งสำรวจกลไกต่าง ๆ อันเป็นโครงสร้างสถาบันทางการเมืองที่กอรปกันเข้าเป็นระบบการเมืองในสังคมประชาธิปไตยโครงสร้างเหล่านี้มีความสลับซับซ้อนและเป็นความพยายามของสังคมมนุษย์ชาติที่ต้องการจัดระเบียบในทางการเมืองทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุลในการใช้อำนาจของส่วนต่าง ๆ ในสังคมการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองจึงเป็นแนวทางแรก ๆ ที่เป็นที่ยอมรับในวงการรัฐศาสตร์ ในการมองปัญหาเชิงสถาบันจึงวิเคราะห์ในระดับต่าง ๆ ดังนี้
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครอง
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันเอง
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองระดับชาิติกับการปกครองท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหวางผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครอง
อำนาจของรัฐบาลและสิทธิเสรีภาพของเอกชนเป็นสิ่งที่มักสวนทางกันเสมอการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครองเท่ากับเป็นการสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ได้จัดความสัมพันธ์ระหวางผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้อการปกครองเท่ากับเป็นการสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ได้จัดความสัมพันธ์ดังกล่าวอย่างไร มีความสมดุลหรือไม่ หรือได้ให้น้ำหนักแก่ฝ่ายใดมากกว่ากัน โดยหลักการแล้วสิทธิเสรีภาพของเอกชนเป็นสิ่งที่มีคุณค่าตามคตินิยมในระบบประชาธิปไตย แต่ในขณะเดียวกันอำนาจของรัฐก็เป็นสิ่งที่จำเป็นที่ไม่อาจหลักเลี่ยงได้ ดังนั้นสิทธิเสรีภาพของเอกชนจึงไม่ควรมีมากเสียจนเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของรัฐบาลและในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ไม่ควรมีมากเสียจนเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเอกชนและเสรีภาพของเอกชนด้วย
ในแง่นี้ระบบประชาธิปไตยสร้างหลักประกันที่สำคัญให้แก่ผู้อยู่ใต้ปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเชื่อที่ว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานที่ให้เอกชนเข้ามามีบทบาททางการเมือง โดยทั่วไปแล้วกฎหมายต้องให้หลักประกันแก่เอกชนในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การพูด การเขียน สิ่งตีพิมพ์ และการโฆษณาเป็นต้น
โดยจะให้ความสำคัญกับกลไกต่างๆ ที่ทำให้ผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองสัมพันธ์ใกล้ชิดกันกลไกดังกล่าวคือ
การเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมของประชาชน
การทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐบาล
นักวิเคราะห์ให้ความสำคัญกับสถาบันอันเป็นตัวแทนของประชาชน เพราะเป็นสถาบันที่เชื่อมประชาชนเข้ากับกลไกต่่างๆ ของรัฐ โดยกระบวนการในการเลือกตั้งจะทำหน้าที่ในการกลั่นกรองนโยบายและตัวบุคคลที่จะเข้าสู่ตำแหน่งอำนาจหน้าที่ในการบริหารบ้านเมือง
ในระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองอันเป็นมิติการเมืองในแนวดิ่ง นักวิเคราะห์ให้ความสำคัญแก่องค์กรอันเป็นกลไกของรัฐที่ทำหน้าเชื่อมโยงโครงสร้างสถาบันการเมืองเบื้องบนกับประชากรเบื้องล่างเข้าด้วยกัน มิติเช่นนี้เป็นสิ่งที่เกิดคู่กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและแนวความคิดเช่นนี้เป็นแนวความคิดที่มีอิทธิพลมาโดยตลอด
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันเอง
ระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มี 2 รูปแบบคือรูปแบบประธานาธิปดี และ รูปแบบรัฐสภา รูปแบบประธานาธิปดี จะเป็นการแบ่งอำนาจ ส่วนในระบบรัฐสภาจะเรียกเป็นรูปแบบการหลอมรวมอำนาจ ผู้กุมเสียงข้างมากในรัฐสภา คือผู้กุมอำนาจฝ่ายบริหาร
การจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาบันทางการเมืองหลักๆ เพื่อก้อให้เกิดหลักประกันมิให้ผู้เข้ามาทำหน้าที่รัฐบาลมีอำนาจล้นพ้นอาจเป็นการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของเอกชนรวมตลอดทั้งเป็นการระดมความคิดจากฝ่ายต่าง ๆ ที่อยู่ต่างสถาบันเืพื่อทำหน้าที่ในการบริหารบ้านเมืองให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันแล้ว นักวิเคราะห์เลิงสถาบันยังให้ความสนใจแก่การจัดโครงสร้างถายในมัเกเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดองค์กรภาพใการแบ่งงานและอำนาจหน้าที่และการวางขั้นตอนในการปฏิบัติหน้าที่สิ่งเหล่านี้จะเป็นที่สนใจของนักรัฐศาสตร์แนวสถาบัน เพราะจะเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความพร้อมในด้านองค์กรในการตอบสนองปัญหาและความต่องการเฉพาะด้าน
ในระบบการเมืองการปกครองในปัจจุบันนอกจากสถาบันทางการเมืองที่อยู่เบื้องบนในโครงสร้างสามเหลี่ยมพีระมิดแล้ว ก็มีองค์การหนึ่งที่จะขาดเสียมิได้ คือ ระบบราชการ ถ้าสังคมมีความซับซ้อนมากเท่าใด ระบบราชการจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น เพราะวาระบบราชการจะเป็นแหล่งรวมของผู้ชำนนาญการ หรือมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเฉพาะสาขา ดังนั้น ระบบราชการในเกือบทุกประเทศจะมีแนวโน้มในการแยกตัวเป็ฯอิสระจากองค์กรอื่น ซึ่งจะมีแนวโน้มในการขัดแย้งกบสถาบันทางการเมืองอยู่เสมอที่สำคัญ คือ มักขัดแย้งกับฝ่ายบริหารเพราะจำต้องอาศัยระบบราชการในฐานะกลไกของรัฐเพื่อการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย เพราะนักการเมืองทีเป้าหมายในการสะท้อนให้เห็นถึงผลประโยชน์ของประชาชน ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามบรรทัดฐานในทางวิชาชีัพของข้าราชการดังนั้นดลาวได้ว่านักการเมืองเป็นผู้มีความรอบรู้กล่าง เพื่อสะท้อนให้เห็นภาพระบบเศรษฐกิจและสังคมในขณะที่ข้าราชการจะมีความชำนาญเฉพาะด้านของตนเอง ลักษณะความขัดแย้งนี้ได้เกิดขึ้นตลอดมาในระบบประชาธิปไตยเพื่อควบคุมระบบราชการ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล
ในทัศนะของนักวิเคราะห์เชิงสถาบันนอกจากสถาบันทางการเมืองตาง ๆ หน่วนงานราชการและประชาชนทั่วไปแล้ว อีกมิติหนึ่งที่ควรแก่การสนใจคือ ความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล สิ่งสำคัญที่ท้าทายความอยู่รอดของระบอบประชธิปไตยคือผลประโยชน์ของภาคเอกชนที่มีแนวโน้มในการรวมกลุ่มกันเพื่อผลักดันให้รัฐบาลมีนโยลบายหรือกระทำการอันใดที่อาจเอื้ประโยชน์ให้แก่กลุ่มของตนเอง เพราะผลประโยชน์ในทางธุรกิจของภาคเอกชนในระบบทุนนิยมนั้นมีปริมาณมูลค่าที่มหาศาลแบะมีแนวโน้มที่จะเพิ่มพูนรายได้ให้แก่รัฐ โดยการขยายฐารนตัวเลขกับภาษีอากรให้แก่รัฐ ดังนั้นพฤติกรรมของรัฐบาลมักเอื้อประโยชน์ให้แก่ภาคเอกชนอยู่เสมอ
ผลประโยชน์ของภาคเอกชนนั้นต้องแสวงหาอำนาจในทางการเมืองเพื่อผลักดันให้นโยบายของรัฐเอื้ประโยชน์ให้แก่ตน ซึ่งเห็นว่ามแ้ระบบประชาธิปไตยแบบอเมริกาจะมีกลไกต่า ๆ ในการกลั่นกรองไม่ให้ผลประโยชน์ภาคเอกชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเข้าครอบงำนโยบายของรํบเอื้อประโยชน์ภาคเอกชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเข้าครอบงำใโยบายของรัฐก็ตา แต่กลไกเหล่านี้ไม่มีประสิทธิภาพในการสกัดกั้นอิทธิพลของกลุ่มเอกชนบางกลุ่มไม่ ซึ่งในความเห็นของนักรฐศาสตร์ตะวันตกที่ต้องการสำควจความสัมพันธ์ระหวางภาคเอกชนกับภาครัฐบาลของระบบการเมืองอเมริกายอมรับกลไก ลอบบี้ เท่ากับเป็ฯการสะท้อนให้เห็นว่านักการเมืองกับกลุ่มผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มจะต้องแยกจากกัน ในทางทฤษฏีนักการเมืองจะต้องฟังความคิดเห็นของ ทุก ๆ กลุ่มหาามีส่วนพัวพันโดยตรงกับกลุ่มผลประโยชน์ใดโดยเฉพาะนักการเมืองผู้นั้นย่อมล่อแหลมต่อสถานะทางการเมืองของตน ซึ่งลักษณะเช่นนี้ตรงกันข้ามกับสภาพในอังกฤษ
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับชาติกับระดับท้องถ่ิน
เป็นสิ่งหนึ่งท่นักวิเคราะห์เชิงสถาบันให้ความสนใจในแง่นี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองการปกครองในระดับชาติกับการเมืองการปกครองในระดับท้องถ่ิน ซึ่งมี 2 รูปแบบ
การจัดความสัมพันธ์แบบรัฐเดี่ยว เน้นการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางเช่นประเทศฝรั่งเศส ประเทศไทย ในรูปแบบนี้มุ่งก่อให้เกิดเอกภาพในการปกครอง ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของอินโดนีเซีย เมือได้รับเอกราชไม่เพียงกี่เดือนก็ปฏิเสธรูปแบบของสหพันธรัฐที่ฮอลันดาได้ทิ้งไวให้ โดยหันไปยึดเอาแบบรัฐเดี่ยวเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะนำไปสู่ความแตกแยกระหว่างภูมิภาคหรือเกาะต่าง ๆ ได้
การจัดความสัมพันธ์แบบสหพันธรัฐ ซึ่งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของรัฐแบบนี้ ตคือขนาดของดินแดนหรืออาณาบริเวณของประเทศและความแตกต่างในภาษาและวัฒนธรรมของท้องถ่ินการจัดรูปแบบของรัฐเช่นนี้มัีกให้อำนาจแก่ท้องถ่ินในการปกครองตัวเองค่อนข้างมาก ดังนี้นประเทศที่มีอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่จึงมักใช้รูปแบบของแบบสหพันธรัฐ ทั้งนี้เพื่อเป็ฯการแบ่งเบาภาระของรัฐบาลกลาง เช่น สหรัฐอเมริก รัฐเซีย อินเดีย บราซิล ..
สถาบันทางการเมืองกับการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
โดยปกติแล้วสถาบันทางการเมืองจะดำรงอยู่ในสังคมในฐานะสุญญากาศไม่ได้สถาบันจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่น ๆ ของสังคมอยู่เสมอ ทั้งนี้เป็นเพราะสถาบันเป็นตัวแทนของประชาชนในการสร้างกลไกต่าง ๆ ภายในระบบการเมืองให้เป็นไปยอ่างปกติสุขฉะนั้นการมีส่วนร่วมทากการเมืองจึงเป็นสิ่งสำคัญ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นเป็นตัวกำหนดด้วย
ปัจจัยเรื่องความเป็นสถาบันทางการเมืองมีสองระดับ คือ ระดับสูง และระดับต่ำ
ปัจจัยด้านการมีส่วนรวมทางการเมืองมี 3 ระดับ คือ
-ระดับต่ำคือ สังคมหรือระบบการเมืองที่ยินยอมให้เฉพาะชนชั้นขุนนางฯ หรือผู้นำเก่าๆเท่านั้นเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
-ระดับกลาง คือ ระบบที่การเมืองที่เริ่มให้ชนชั้นกลางเข้ามีส่วนรวมทางการเมือง
-ระดับสูง คือ ระบบการเมืองที่ให้ชนทุกชั้นในสังคมเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
ระบบการเมือง
1 ระบบการเมืองแบบ civic polities หมายถึงที่ี่มีระดับของความเป็นสถาบันสูงเมื่องเทียบกับอัตราเพิ่มของระบบการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในสังคม
2 ระบบการเมืองแบบ praetorian หมายถึง ระบบการเมืองที่มีระดับของความเป็นสถาบันต่ำเมืองเทียบกับระดับของการเช้ามีส่วนร่วมทางการเมืองที่สูง สังคมนี้ผู้คนจะเข้าไปมีส่วนร่วมโดยใช้พลังหรือวิธีการของตนเอง ไม่ยอมรับในกระบวนการทางการเมืองที่เป็นอยู่ ความชอบธรรมของสถาบันทางการเมืองที่มีอยู่ต่ำมาก
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมีความสำคัญยิ่งเพราะนั่นคือการที่ประชาชนมีอิทธิพลต่อสภาบันการเมืองต่าง ๆ และทำให้อำนาจไม่ตกอยู่ในสถาบันใดสถาบันหนึ่ง
สถาบันคือ โครงสร้างและกระบวนการที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่เป็นทางการไม่ว่าจะเป็นกฎหมาย ประเพณี และพิธีกรรมใดๆ ซึ่งสามารถช่วยรักษามาตรฐานค่านิยมทางสงคมและช่วยสร้างกระบวนการเพื่อการควบคุมในสังคม
สถาบันทางสังคมอาจพิจารณาได้หลายลักษณะ ลักษณะแรกเป็นหน่วยงานและสถานที่ สถาบันในลักษณะที่สองคือสถาบันที่มีลักษณะเป็นสัญลักษณ์์แทนสิ่งซึ่งมีความสำคัญในสังคม และสถาบันในลักษณะที่สามคือสถาบันทีเป็นนามธรรมและเป็นการแบ่งแยกสังคมออกจากกัน เพื่อสะด่วกในการศึกษาส่วนประกอบของสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางเศรษฐกิจ และสถาบันการเมืองการปกครอง
การเืมืองเป็นสถาบันหนึ่งของสถาบันทางสังคม ซึ่งหมายถึงสถาบันที่เคลื่อนไหวเป็นกระบวนการอยูในระบบการเมือง ซึ่งสามารถทำหน้าที่สือบเหนื่องกันและเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป
ลักษณะที่สำคัญของสถาบันทางการเมือง
1 มีโครงสร้างแน่นอนหรือค่อนข้างแน่นอนคือศึกษาได้นั้นเอง
2 มีหน้าที่หรือกิจกรรมที่สืบเนื่องต่อกันไปนานพอสมควร
3 เป็นแบบแผนของพฤติกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่งที่คนทั่วไปยอมรับ
4 แสดงถึงการมีความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างมนุษย์ในทางการเมือง
ค.ศ.ที่ 20 การศึกษาวิชารัฐศาสตร์ในลักษณะที่เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลได้เริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา การค้นคว้านี้ได้เริ่มต้อนด้วยการศึกษารูปแบบต่าง ๆของรัฐบาล โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์สถาบัน และในขณะเดียวกันการค้นคว้านี้ก็ครอบคลุมไปถึง แนวความคิดต่าง ๆ ตลอดจนการคำเนินงานของรัฐบาล แนวความคิดสำคัญ ๆ ที่สนใจกัน ได้แก่ รัฐ กฎหมาย อำนาจอธิปไตย สิทธิความยุติธรรม เป็นต้น นักวิชาการเหล่านี้ได้หเริมให้ความสนใจกับหน้าที ต่าง ขององค์กรทางการเมืองและ กระบวนการทางการเมือง แต่อย่างไรก็ตามนักวิชการเหล่านั้นก็ยังถูกจำกัดอยู่ในกรอบของสถาบันทางกฎหมาย
ปัจจัยหลักที่นักวิเคราะห์แนวสถาบันให้ความสนใจ
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยของปวงชนเป็นเงื่อนไขของระบอบ รัฐบาลจะต้องปกครองโดยได้รับความยินยิมจากประชาชน แต่ในการปกครองนี้ รัฐบาลจะต้องมีอำนาจที่มีขอบเขตจำกัน และต้องมีการวางกรอบกำหนดของเขตของอำนาจอย่างชัดเจน นักรัฐศาสตร์แนวนี้จึงให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญ ทั้งยังรวมถึงให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบของรัฐ ว่าควรเป็นแบบใด..และให้ความสำคัญกับอำนาจอธิปไตยทั้งสาม "นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ"
ปัญหาที่สำคัญคือ ทำอย่างไรจึงจะจำกันอำนาจของรัฐบาลมิให้มีมากจนเป็นผลเสียต่อปัจเจกบุคคล
ปัญหาที่ สอง จะมีวิธีการจัดความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันปกครองของรัฐอยางไรจึงจะก่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุล ระหว่างกันได้
ดังนั้น การวิเคราะห์ระบบจึงในความสำคัญกับ
- กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ
- โครงสร้างทางการเมือง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายแม่บทอื่นไดที่เกี่ยวสถาบันทางการเมือง จะเห็นได้ว่า แนวทางการศึกษาการเมืองเช่นนี้ มีรากฐานความคิดมาจากทฤษฎีประชาธิปไตยซึ่งตระหนักว่า อำนาจ เป็นรากฐานของการเมืองและในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้น การใช้อำนาจจะต้องเป็นไปตามหลักการของความเสมอภาค และความยุติธรรม ซึ่งหลักการนี้ได้แก่ การปกครองโดยกฎหมาย ก่อให้เกิดอำนาจที่ชอบธรรมและประชาชนสามารถเลือกผู้แทนให้ไปเป็นผู้ัออกกฎหมายได้ การเป็นตัวแทนนั้นก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานของเสรีภาพระบอบอประชาธิปไตยจึงปกป้องเสรีภาพด้านต่าง ๆซึ่งแสดงออกด้วยการประกันสิทธิด้านต่้างๆ
โดยปกติแล้วนักวิเคราะห์เชิงสถาบันจะศึกษาตัวบทกฎหมายเพื่อสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ๆ มีการแบ่งสันปันส่วนการใช้อำนาตอย่างไร การศึกษาการใช้อำนาจทางการเมืองย่อมเท่ากับเป็นการแสวงหาคำตอบเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และความเสนมอภาคของเอกชน ซึ่งเอกชนในที่นี้หมายรวมถึงปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สามารถกระทำการใด ๆ ได้ดังบุคคล
โครงสร้างทางการเมือง แนววิเคราะห์เชิงสถาบันมุ่งสำรวจกลไกต่าง ๆ อันเป็นโครงสร้างสถาบันทางการเมืองที่กอรปกันเข้าเป็นระบบการเมืองในสังคมประชาธิปไตยโครงสร้างเหล่านี้มีความสลับซับซ้อนและเป็นความพยายามของสังคมมนุษย์ชาติที่ต้องการจัดระเบียบในทางการเมืองทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุลในการใช้อำนาจของส่วนต่าง ๆ ในสังคมการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองจึงเป็นแนวทางแรก ๆ ที่เป็นที่ยอมรับในวงการรัฐศาสตร์ ในการมองปัญหาเชิงสถาบันจึงวิเคราะห์ในระดับต่าง ๆ ดังนี้
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครอง
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันเอง
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล
- ระดับความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองระดับชาิติกับการปกครองท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหวางผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครอง
อำนาจของรัฐบาลและสิทธิเสรีภาพของเอกชนเป็นสิ่งที่มักสวนทางกันเสมอการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครองเท่ากับเป็นการสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ได้จัดความสัมพันธ์ระหวางผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้อการปกครองเท่ากับเป็นการสำรวจดูว่าในสังคมนั้น ได้จัดความสัมพันธ์ดังกล่าวอย่างไร มีความสมดุลหรือไม่ หรือได้ให้น้ำหนักแก่ฝ่ายใดมากกว่ากัน โดยหลักการแล้วสิทธิเสรีภาพของเอกชนเป็นสิ่งที่มีคุณค่าตามคตินิยมในระบบประชาธิปไตย แต่ในขณะเดียวกันอำนาจของรัฐก็เป็นสิ่งที่จำเป็นที่ไม่อาจหลักเลี่ยงได้ ดังนั้นสิทธิเสรีภาพของเอกชนจึงไม่ควรมีมากเสียจนเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของรัฐบาลและในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ไม่ควรมีมากเสียจนเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของเอกชนและเสรีภาพของเอกชนด้วย
ในแง่นี้ระบบประชาธิปไตยสร้างหลักประกันที่สำคัญให้แก่ผู้อยู่ใต้ปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเชื่อที่ว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานที่ให้เอกชนเข้ามามีบทบาททางการเมือง โดยทั่วไปแล้วกฎหมายต้องให้หลักประกันแก่เอกชนในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การพูด การเขียน สิ่งตีพิมพ์ และการโฆษณาเป็นต้น
โดยจะให้ความสำคัญกับกลไกต่างๆ ที่ทำให้ผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองสัมพันธ์ใกล้ชิดกันกลไกดังกล่าวคือ
การเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมของประชาชน
การทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐบาล
นักวิเคราะห์ให้ความสำคัญกับสถาบันอันเป็นตัวแทนของประชาชน เพราะเป็นสถาบันที่เชื่อมประชาชนเข้ากับกลไกต่่างๆ ของรัฐ โดยกระบวนการในการเลือกตั้งจะทำหน้าที่ในการกลั่นกรองนโยบายและตัวบุคคลที่จะเข้าสู่ตำแหน่งอำนาจหน้าที่ในการบริหารบ้านเมือง
ในระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองอันเป็นมิติการเมืองในแนวดิ่ง นักวิเคราะห์ให้ความสำคัญแก่องค์กรอันเป็นกลไกของรัฐที่ทำหน้าเชื่อมโยงโครงสร้างสถาบันการเมืองเบื้องบนกับประชากรเบื้องล่างเข้าด้วยกัน มิติเช่นนี้เป็นสิ่งที่เกิดคู่กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและแนวความคิดเช่นนี้เป็นแนวความคิดที่มีอิทธิพลมาโดยตลอด
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันเอง
ระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มี 2 รูปแบบคือรูปแบบประธานาธิปดี และ รูปแบบรัฐสภา รูปแบบประธานาธิปดี จะเป็นการแบ่งอำนาจ ส่วนในระบบรัฐสภาจะเรียกเป็นรูปแบบการหลอมรวมอำนาจ ผู้กุมเสียงข้างมากในรัฐสภา คือผู้กุมอำนาจฝ่ายบริหาร
การจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาบันทางการเมืองหลักๆ เพื่อก้อให้เกิดหลักประกันมิให้ผู้เข้ามาทำหน้าที่รัฐบาลมีอำนาจล้นพ้นอาจเป็นการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของเอกชนรวมตลอดทั้งเป็นการระดมความคิดจากฝ่ายต่าง ๆ ที่อยู่ต่างสถาบันเืพื่อทำหน้าที่ในการบริหารบ้านเมืองให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันแล้ว นักวิเคราะห์เลิงสถาบันยังให้ความสนใจแก่การจัดโครงสร้างถายในมัเกเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดองค์กรภาพใการแบ่งงานและอำนาจหน้าที่และการวางขั้นตอนในการปฏิบัติหน้าที่สิ่งเหล่านี้จะเป็นที่สนใจของนักรัฐศาสตร์แนวสถาบัน เพราะจะเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความพร้อมในด้านองค์กรในการตอบสนองปัญหาและความต่องการเฉพาะด้าน
ในระบบการเมืองการปกครองในปัจจุบันนอกจากสถาบันทางการเมืองที่อยู่เบื้องบนในโครงสร้างสามเหลี่ยมพีระมิดแล้ว ก็มีองค์การหนึ่งที่จะขาดเสียมิได้ คือ ระบบราชการ ถ้าสังคมมีความซับซ้อนมากเท่าใด ระบบราชการจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น เพราะวาระบบราชการจะเป็นแหล่งรวมของผู้ชำนนาญการ หรือมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเฉพาะสาขา ดังนั้น ระบบราชการในเกือบทุกประเทศจะมีแนวโน้มในการแยกตัวเป็ฯอิสระจากองค์กรอื่น ซึ่งจะมีแนวโน้มในการขัดแย้งกบสถาบันทางการเมืองอยู่เสมอที่สำคัญ คือ มักขัดแย้งกับฝ่ายบริหารเพราะจำต้องอาศัยระบบราชการในฐานะกลไกของรัฐเพื่อการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย เพราะนักการเมืองทีเป้าหมายในการสะท้อนให้เห็นถึงผลประโยชน์ของประชาชน ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามบรรทัดฐานในทางวิชาชีัพของข้าราชการดังนั้นดลาวได้ว่านักการเมืองเป็นผู้มีความรอบรู้กล่าง เพื่อสะท้อนให้เห็นภาพระบบเศรษฐกิจและสังคมในขณะที่ข้าราชการจะมีความชำนาญเฉพาะด้านของตนเอง ลักษณะความขัดแย้งนี้ได้เกิดขึ้นตลอดมาในระบบประชาธิปไตยเพื่อควบคุมระบบราชการ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล
ในทัศนะของนักวิเคราะห์เชิงสถาบันนอกจากสถาบันทางการเมืองตาง ๆ หน่วนงานราชการและประชาชนทั่วไปแล้ว อีกมิติหนึ่งที่ควรแก่การสนใจคือ ความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล สิ่งสำคัญที่ท้าทายความอยู่รอดของระบอบประชธิปไตยคือผลประโยชน์ของภาคเอกชนที่มีแนวโน้มในการรวมกลุ่มกันเพื่อผลักดันให้รัฐบาลมีนโยลบายหรือกระทำการอันใดที่อาจเอื้ประโยชน์ให้แก่กลุ่มของตนเอง เพราะผลประโยชน์ในทางธุรกิจของภาคเอกชนในระบบทุนนิยมนั้นมีปริมาณมูลค่าที่มหาศาลแบะมีแนวโน้มที่จะเพิ่มพูนรายได้ให้แก่รัฐ โดยการขยายฐารนตัวเลขกับภาษีอากรให้แก่รัฐ ดังนั้นพฤติกรรมของรัฐบาลมักเอื้อประโยชน์ให้แก่ภาคเอกชนอยู่เสมอ
ผลประโยชน์ของภาคเอกชนนั้นต้องแสวงหาอำนาจในทางการเมืองเพื่อผลักดันให้นโยบายของรัฐเอื้ประโยชน์ให้แก่ตน ซึ่งเห็นว่ามแ้ระบบประชาธิปไตยแบบอเมริกาจะมีกลไกต่า ๆ ในการกลั่นกรองไม่ให้ผลประโยชน์ภาคเอกชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเข้าครอบงำนโยบายของรํบเอื้อประโยชน์ภาคเอกชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเข้าครอบงำใโยบายของรัฐก็ตา แต่กลไกเหล่านี้ไม่มีประสิทธิภาพในการสกัดกั้นอิทธิพลของกลุ่มเอกชนบางกลุ่มไม่ ซึ่งในความเห็นของนักรฐศาสตร์ตะวันตกที่ต้องการสำควจความสัมพันธ์ระหวางภาคเอกชนกับภาครัฐบาลของระบบการเมืองอเมริกายอมรับกลไก ลอบบี้ เท่ากับเป็ฯการสะท้อนให้เห็นว่านักการเมืองกับกลุ่มผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มจะต้องแยกจากกัน ในทางทฤษฏีนักการเมืองจะต้องฟังความคิดเห็นของ ทุก ๆ กลุ่มหาามีส่วนพัวพันโดยตรงกับกลุ่มผลประโยชน์ใดโดยเฉพาะนักการเมืองผู้นั้นย่อมล่อแหลมต่อสถานะทางการเมืองของตน ซึ่งลักษณะเช่นนี้ตรงกันข้ามกับสภาพในอังกฤษ
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับชาติกับระดับท้องถ่ิน
เป็นสิ่งหนึ่งท่นักวิเคราะห์เชิงสถาบันให้ความสนใจในแง่นี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองการปกครองในระดับชาติกับการเมืองการปกครองในระดับท้องถ่ิน ซึ่งมี 2 รูปแบบ
การจัดความสัมพันธ์แบบรัฐเดี่ยว เน้นการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางเช่นประเทศฝรั่งเศส ประเทศไทย ในรูปแบบนี้มุ่งก่อให้เกิดเอกภาพในการปกครอง ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของอินโดนีเซีย เมือได้รับเอกราชไม่เพียงกี่เดือนก็ปฏิเสธรูปแบบของสหพันธรัฐที่ฮอลันดาได้ทิ้งไวให้ โดยหันไปยึดเอาแบบรัฐเดี่ยวเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะนำไปสู่ความแตกแยกระหว่างภูมิภาคหรือเกาะต่าง ๆ ได้
การจัดความสัมพันธ์แบบสหพันธรัฐ ซึ่งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของรัฐแบบนี้ ตคือขนาดของดินแดนหรืออาณาบริเวณของประเทศและความแตกต่างในภาษาและวัฒนธรรมของท้องถ่ินการจัดรูปแบบของรัฐเช่นนี้มัีกให้อำนาจแก่ท้องถ่ินในการปกครองตัวเองค่อนข้างมาก ดังนี้นประเทศที่มีอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่จึงมักใช้รูปแบบของแบบสหพันธรัฐ ทั้งนี้เพื่อเป็ฯการแบ่งเบาภาระของรัฐบาลกลาง เช่น สหรัฐอเมริก รัฐเซีย อินเดีย บราซิล ..
สถาบันทางการเมืองกับการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
โดยปกติแล้วสถาบันทางการเมืองจะดำรงอยู่ในสังคมในฐานะสุญญากาศไม่ได้สถาบันจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่น ๆ ของสังคมอยู่เสมอ ทั้งนี้เป็นเพราะสถาบันเป็นตัวแทนของประชาชนในการสร้างกลไกต่าง ๆ ภายในระบบการเมืองให้เป็นไปยอ่างปกติสุขฉะนั้นการมีส่วนร่วมทากการเมืองจึงเป็นสิ่งสำคัญ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นเป็นตัวกำหนดด้วย
ปัจจัยเรื่องความเป็นสถาบันทางการเมืองมีสองระดับ คือ ระดับสูง และระดับต่ำ
ปัจจัยด้านการมีส่วนรวมทางการเมืองมี 3 ระดับ คือ
-ระดับต่ำคือ สังคมหรือระบบการเมืองที่ยินยอมให้เฉพาะชนชั้นขุนนางฯ หรือผู้นำเก่าๆเท่านั้นเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
-ระดับกลาง คือ ระบบที่การเมืองที่เริ่มให้ชนชั้นกลางเข้ามีส่วนรวมทางการเมือง
-ระดับสูง คือ ระบบการเมืองที่ให้ชนทุกชั้นในสังคมเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง
ระบบการเมือง
1 ระบบการเมืองแบบ civic polities หมายถึงที่ี่มีระดับของความเป็นสถาบันสูงเมื่องเทียบกับอัตราเพิ่มของระบบการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองในสังคม
2 ระบบการเมืองแบบ praetorian หมายถึง ระบบการเมืองที่มีระดับของความเป็นสถาบันต่ำเมืองเทียบกับระดับของการเช้ามีส่วนร่วมทางการเมืองที่สูง สังคมนี้ผู้คนจะเข้าไปมีส่วนร่วมโดยใช้พลังหรือวิธีการของตนเอง ไม่ยอมรับในกระบวนการทางการเมืองที่เป็นอยู่ ความชอบธรรมของสถาบันทางการเมืองที่มีอยู่ต่ำมาก
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมีความสำคัญยิ่งเพราะนั่นคือการที่ประชาชนมีอิทธิพลต่อสภาบันการเมืองต่าง ๆ และทำให้อำนาจไม่ตกอยู่ในสถาบันใดสถาบันหนึ่ง
วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2555
31 ภพภูมิ :
ในความเชื่อทางพุทธศาสนามีความเชื่อที่ว่าเกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิดเวียนว่ายตายเกิดอยู่อย่างนี
และสถานที่สิ่งมีชีวิตทุกรูปนามเวียนว่ายตายเกิดนั้นเรียกว่า"วัฎสงสาร หรือ สังสารวัฎ"
ด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก
อันประกอบด้วย อรูปพรหม 4 รูปพรหม 16 เทวดา 6 โลกมนุษย์ 1 สัตว์เดรัจฉาน 1 เปรต 1 อสุรกาย 1 และนรก 1
แบ่งเป็น โลกเบื้องต่ำได้แก่ นรกภูมิ อสุรกายภูม เปรตภูม เดรัจฉานภูมิ
โลกเบื้องกลาง ได้แก่เทวภูมิ 6 และมนุษย์ภูมิ 1
โลกเบื้องสูงได้แก่ อรูปพรหม 4 รูปพรหม 16
โลกเบื้องต่ำ
นรกภูมิ ประกอบด้วยมหานรกหลัก มี 8 ขุม อยู่ห่างกัน โดยมียมโลก320 ขุมล้อมรอบทั้งสี่ทิศของทั้ง 8 ขุม นรกขุมที่ลึกที่สุดเรียกว่า "โลกันตนรก" มืดมนไม่มีแสง เต็มไปด้วยทะเลน้ำกรดเย็น
นรกทั้ง8 ขุมนี้ผู้ำกระผิดศีล 5 เป็นอาจิณ ผู้มัวเมาในอบายมุข รวมทั้งผู้ทำกรรมหนัก หรือ อนันตริยกรรม มีฆ่าบิดา มารดา ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น ย่อมมีนรกเป็นอำนาจแห่งกรรมที่จะส่งผลให้ไปเกิดในแดนนรก
เดรัจฉานภูมิ โลกของสัตว์ที่มีความยินดีในเหตุ 3 ประการ คือ กิน นอน และสืบพันธ์บุพกรรมที่นำให้มาสู่ภพภูมินี้คือ เมื่อเป็นมนุษย์จิตไม่บริสทธิ์ ประพฤติอกุศลหยาบช้าลามกทั้งหลาย หรือเพราะอำนาจเศษบาปอกุศลกรรทที่ทำไว้ให้ผล หรือ เพราะเมื่อใกล้ตายจิตประกอบด้วยโมหะ หลงผิด ขาดสติ ไม่มีสรณะเป็นที่พึงจะยึดให้มั่นคง คตินิมิตชี้บอกถึงโลกเดรัจฉานจิตยึดเหนียวเมื่อดับจิตตายขฯะนั้นต้องเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
เปรตภูมิ โลกที่อยู่ของสัตว์ที่ห่างไกลความสุข เปรตเป็นผีตามความเชื่อไทย มีรูปร่างสูงเท่าต้นตาล ผมยาว คอยาว ผอมโซ ผิวดำ ท้องโต มือเท่าใบตาล ปากเท่ารูเข็ม และจะหิวอยู่ตลอดเวลา ชอบมาขอส่วนบุญในงานบุญตาง ๆ ประเภทของเปรตนั้น ในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็นหลายแบบในแต่ละคัมภีร์ กรรมที่ส่งผลให้มาเกิดในภพภูมินี้คือ ประพฤติอกุศลกรรมบท 10 ประการ เมื่อขาดใจตายจากโลกมนุษย์ หากอกุศลกรรมนั้นนำไปสู่นิรยภูมิได้ต้องไปเสวยทุกข์โทษในนรกก่อน พอสิ้นกรรมพ้นจากนรกแล้ว เศษปาปยังมีก็ไปเสวยผลกรรมเป็นเปรตต่อภายหลัง หรือมีอกุศลกรรมที่เกิดจากโลภะนำมาเกิด คตินิมิต บ่งยอกถึงโลกเปรต เช่น เห็นหุบเขา ถ้ำอันมือมิดทีวังเวงและปลอดเปลี่ยว หรือเป็นเป็นแกลบและข้าวรีบมากมาย แล้วรู้สึกนิวโหยและกรหายน้ำบ้าง ..แล้วจิตยึดหน่วงเป็นอารมณ์ เมื่อดับจิตตายขฯะนั้น ต้องบังเกิดเป็นเปรตเสวยทุกขเวทนาตามสมควรแก่กรรม
อสุรกายภูมิ ภูมิอันเป็นอยู่ของสัตว์อันปราศจากความเป็นอิสระและสนุกรื่นเริง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
- เทวอสุรา มี 6 จำพวก ห้าจำพวกแรกเป็นปฏิปักษ์ต่อเทวดาชั้นตาวติงสา สงเคราะห์เข้าในพวกเทวดาชัวติงสา ส่วนอีกจำพวกมีรูปร่างเล็กกว่าและอำนาจน้อยกว่าเทวดาชั้นตาวติงสา อาศัยอยู่ในโลกมนุษย์สงเคราะห์เข้าเทวดาชั้นจาตุมมหาราชิกา
-เปตติิสุรา มี 3 จำพวก เป็นเปรตที่ประหัตประหารกันด้วยอาวุธต่าง ๆ
- นิรยอสุรา เป็นเปตจำพวกหนึ่งที่เสวยทุกขเวนาอยู่ในนรกขุมที่ 8
โลกเบื้องกลาง เทวภูม 6 โลกมนุษย์ 1
โลกมนุษย์ เป็นที่อาศัยของสัตว์ผู้มีใจสูงในเชิงกล้าหาญที่จะประกอบกรรมต่าง ๆ ทั้งที่เป็นกุศลและอกุศล แบ่งเป็น 4 จำพวก
- ผู้มืดมาแล้วมืดไป ผู้เกิดในตระกูลต่ำต้อยและกลับประพฤติทุจริตในกาย วาจาและใจเมื่อตายไปย่อมเข้าสู่ทุคติอบาย
- ผู้มืดมาสว่างไป ผู้เกิดในตระกูลต่ำต้อยแต่เป็นผู้มีศรัทธา ไม่ตระหนี่เป็นคนมีความดำริประเสริฐ มีใจไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะชีพราหมณ์ ...เมื่อตายไปย่อมถึงสคติภูมิ
- ผู้สว่างมาแล้วมืดไป ผู้เกิดในตระกูลสูง เป็นคนมั่งคั่งมั่งมี แต่กลับเป็นไม่มีศรัทธา ตระหนี ไม่มีความเอื้อเฟื้อ... เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงทุคติอบาย
- ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป เป็นผู้เกิดในตระกูลสูงและเขาย่อมประพฤติสุจริตกาย วาจ และใจ ตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
กรรมของมนุษย์ที่ทำในกาลก่อน ส่งผลให้มีปฏิปทาต่างกัน เช่น บางคนเป็นคนดี บางคนบ้า ยางคนรวย บางคนจน นั้นล้วนมีเหตุปัจจัยต่างๆ กัน
เทวภูมิ 6
- จาตุมมหาราชิกาภูมิ(สวรรค์ชั้นที่ 1 ) เมื่อเป็นมนุษย์ ชอบทำความดี สันโดษ ยินดีแต่ของๆ ตน ชักชวนให้ผู้อื่นประกอบการกุศล ชอบให้ทาน เป็นผู้มีความวหังในทาน มีจิตผู้กพันแห่งทานแล้วให้ทาส มุ่งการสั่งสมให้ทานให้ทานด้วยความคิว่า "เราตายแล้วจักได้เสวยผลแห่งทานนี้"และเป็นผู้มีศีลญ
- ตาวติงสาภูมิ หรือ ดาวดึงส์(สวรรค์ชั้นที่ 2) เมื่อเป็นมนุษย์มีจิตบริสทฺุธิ์ ยินดีในการให้ทาน มให้ทานด้วยความคิดว่า"การให้ทานเป็นการกระทำดี" งดงามด้วยพยายามรักษาศีล ไม่ดูหมิ่นผู้ใหญ่ในตระกูลฯ
- ยามาภูมิ(สวรรค์ชั้นที่ 3) เป็นที่อยู่ของเทพยาดาผู้มีแต่ความสุขอันเป็นทิพย์ เมื่อเป็นมนุษย์มีจิตบริสุทธิ์ พยายามสร่้างเสบียง ไม่หวั่นไหวในการบำเพ็ญบุญกุศล ให้ทานด้วยความคิดที่ว่า"เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษกระทำม่เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี" รักษาศีล มีจิตขวนขวายในธรรม ทำความดีด้วยใจจริง
-ตุสิตาภูมิ(สวรรค์ชั้น 4) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าผู้มีความยินดีแช่มชื่นเป็นนิจ เมื่อเป็นมนุษย์มีจิบรุสุทธิ์ ยินดีมากในการบริจาคทาน ให้ทานด้วยความคิดที่ว่า"เราหุงหากิน แต่สมณะหรือพราหมณ์ทั้งหลายไม่ได้หุงหากิน เราหุงหากินได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ผู้ไม่หุงหากิน ย่อมเป็นการไม่สมควร " ทรงศีล ทรงธรรม ชอบฟังพระธรรมเทศนา หรือเป็นพระโพธิสัตว์รู้ธรรมมาก
-นิมมานรตีภูมิ(สวรรค์ชั้น5) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าผู้ยินดีในกามคุณอารมณ์ ซึ่งเนรมิตขึ้สมาตามความพอใจ เมื่อเป็นมนุษย์ให้ทานด้วยความคิดว่า"เราจักจำแนกท่านเช่นเดียวกับฤาษีทั้งหลายในกาลก่อน
" ประพฤติธรรมสมำ่เสมอ พยายามรักษาศีลไม่ให้ขาด มีใจสมบูรณ์ด้วยศีล และมีวิริยะอุตสาหะในการบริจาคทานเป็นอันมาก
- ปรนิมมิตวสวัตีภูมิ(สวรรค์ชั้น 6 ) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าซึ่งเสวยกามคุณอารมณ์ เมื่อเป็นมนุษย์อุตส่าห์ก่อสร้างกองการกุศลให้ยิ่งใหญ่เป็นอุกกฤษฏ์ อบรมจิตใจสูงส่งไปด้วยคุณธรรม เมื่อจะให้ทานรักษาศึลก็ต้องบำเพ็ญกันอย่างจริงๆ มากไปด้วยความศรัทธาปสาทะอย่างยิ่งยวด ให้ทานด้วยคิดว่า "เมื่อเราให้ทานอย่างนี้ จิตของเราจะเลื่อมใส จะเกิดความปลื้มใจและโสมนัส"เพราะวิบากแห่งทาน และศีลอันสูงส่งยิ่งเท่านั้น จึงอุบัติในสวรรค์ชั้นนี้
โลกเบื้องสูง
ปฐมฌานภูมิ 3 ทุติยฌารภูมิ 3 ตติยฌารภูมิ3 และ พรหมภูมิตั้งแต่ชั้นที่ 1-20
โสดาบันโลกุตรภูมิ ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อว่าพระอริยบุคคลโสดาบัน แบ่งเป็น
- เอกพีชีโสดาบัน เกิดอีกชาติเดียว และ้วก็บรรลุพระอรหัตผล ปรินิพพาน
- โกลังโกละโสดาบัน เกิดอีก 2-6 ชาติ เป็นอย่างมากแล้ก็บรรลุพระอรหัจผล ปรินิพพาน
- สัตตักขัตตุปรมะโสดาบัน จะเกิดอีกอย่างมากไม่เกิด 7 ชาติ
สกทาคามีโลกุตรภูมิ
ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อว่าพระอริยบุคคลสกทาคามี ซึ่งจะเกิดอีกพียงชาติเดียว....
อนาคามีโลกุตตรภูมิ
ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อวาพระอนาคามี จะไม่กลับมาเกิดในกามภูมิอีก....
อรหัตโลกุตรภูมิ
มี 2 ประเภท คือ เจโตวิมุตติ และปัญญาวิมุตติ ผู้ถึงภูมินี้ เป็นผู้ที่สมควรแก่การบูชาของเหล่าเทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะสิ้นกิิเลสโดยตัดสังโยชน์ 10 ประการได้ สามารถเข้าอรหัตผลสมัติ เสวยอารมณ์พระนิพพานได้ตามปรารถนา และไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกในวัฏสังสาร เมื่อถึงอายุขัยก็ดับขันธ์ปรินิพพาน
และสถานที่สิ่งมีชีวิตทุกรูปนามเวียนว่ายตายเกิดนั้นเรียกว่า"วัฎสงสาร หรือ สังสารวัฎ"
ด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก
อันประกอบด้วย อรูปพรหม 4 รูปพรหม 16 เทวดา 6 โลกมนุษย์ 1 สัตว์เดรัจฉาน 1 เปรต 1 อสุรกาย 1 และนรก 1
แบ่งเป็น โลกเบื้องต่ำได้แก่ นรกภูมิ อสุรกายภูม เปรตภูม เดรัจฉานภูมิ
โลกเบื้องกลาง ได้แก่เทวภูมิ 6 และมนุษย์ภูมิ 1
โลกเบื้องสูงได้แก่ อรูปพรหม 4 รูปพรหม 16
โลกเบื้องต่ำ
นรกภูมิ ประกอบด้วยมหานรกหลัก มี 8 ขุม อยู่ห่างกัน โดยมียมโลก320 ขุมล้อมรอบทั้งสี่ทิศของทั้ง 8 ขุม นรกขุมที่ลึกที่สุดเรียกว่า "โลกันตนรก" มืดมนไม่มีแสง เต็มไปด้วยทะเลน้ำกรดเย็น
นรกทั้ง8 ขุมนี้ผู้ำกระผิดศีล 5 เป็นอาจิณ ผู้มัวเมาในอบายมุข รวมทั้งผู้ทำกรรมหนัก หรือ อนันตริยกรรม มีฆ่าบิดา มารดา ฆ่าพระอรหันต์ เป็นต้น ย่อมมีนรกเป็นอำนาจแห่งกรรมที่จะส่งผลให้ไปเกิดในแดนนรก
เดรัจฉานภูมิ โลกของสัตว์ที่มีความยินดีในเหตุ 3 ประการ คือ กิน นอน และสืบพันธ์บุพกรรมที่นำให้มาสู่ภพภูมินี้คือ เมื่อเป็นมนุษย์จิตไม่บริสทธิ์ ประพฤติอกุศลหยาบช้าลามกทั้งหลาย หรือเพราะอำนาจเศษบาปอกุศลกรรทที่ทำไว้ให้ผล หรือ เพราะเมื่อใกล้ตายจิตประกอบด้วยโมหะ หลงผิด ขาดสติ ไม่มีสรณะเป็นที่พึงจะยึดให้มั่นคง คตินิมิตชี้บอกถึงโลกเดรัจฉานจิตยึดเหนียวเมื่อดับจิตตายขฯะนั้นต้องเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
เปรตภูมิ โลกที่อยู่ของสัตว์ที่ห่างไกลความสุข เปรตเป็นผีตามความเชื่อไทย มีรูปร่างสูงเท่าต้นตาล ผมยาว คอยาว ผอมโซ ผิวดำ ท้องโต มือเท่าใบตาล ปากเท่ารูเข็ม และจะหิวอยู่ตลอดเวลา ชอบมาขอส่วนบุญในงานบุญตาง ๆ ประเภทของเปรตนั้น ในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็นหลายแบบในแต่ละคัมภีร์ กรรมที่ส่งผลให้มาเกิดในภพภูมินี้คือ ประพฤติอกุศลกรรมบท 10 ประการ เมื่อขาดใจตายจากโลกมนุษย์ หากอกุศลกรรมนั้นนำไปสู่นิรยภูมิได้ต้องไปเสวยทุกข์โทษในนรกก่อน พอสิ้นกรรมพ้นจากนรกแล้ว เศษปาปยังมีก็ไปเสวยผลกรรมเป็นเปรตต่อภายหลัง หรือมีอกุศลกรรมที่เกิดจากโลภะนำมาเกิด คตินิมิต บ่งยอกถึงโลกเปรต เช่น เห็นหุบเขา ถ้ำอันมือมิดทีวังเวงและปลอดเปลี่ยว หรือเป็นเป็นแกลบและข้าวรีบมากมาย แล้วรู้สึกนิวโหยและกรหายน้ำบ้าง ..แล้วจิตยึดหน่วงเป็นอารมณ์ เมื่อดับจิตตายขฯะนั้น ต้องบังเกิดเป็นเปรตเสวยทุกขเวทนาตามสมควรแก่กรรม
อสุรกายภูมิ ภูมิอันเป็นอยู่ของสัตว์อันปราศจากความเป็นอิสระและสนุกรื่นเริง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
- เทวอสุรา มี 6 จำพวก ห้าจำพวกแรกเป็นปฏิปักษ์ต่อเทวดาชั้นตาวติงสา สงเคราะห์เข้าในพวกเทวดาชัวติงสา ส่วนอีกจำพวกมีรูปร่างเล็กกว่าและอำนาจน้อยกว่าเทวดาชั้นตาวติงสา อาศัยอยู่ในโลกมนุษย์สงเคราะห์เข้าเทวดาชั้นจาตุมมหาราชิกา
-เปตติิสุรา มี 3 จำพวก เป็นเปรตที่ประหัตประหารกันด้วยอาวุธต่าง ๆ
- นิรยอสุรา เป็นเปตจำพวกหนึ่งที่เสวยทุกขเวนาอยู่ในนรกขุมที่ 8
โลกเบื้องกลาง เทวภูม 6 โลกมนุษย์ 1
โลกมนุษย์ เป็นที่อาศัยของสัตว์ผู้มีใจสูงในเชิงกล้าหาญที่จะประกอบกรรมต่าง ๆ ทั้งที่เป็นกุศลและอกุศล แบ่งเป็น 4 จำพวก
- ผู้มืดมาแล้วมืดไป ผู้เกิดในตระกูลต่ำต้อยและกลับประพฤติทุจริตในกาย วาจาและใจเมื่อตายไปย่อมเข้าสู่ทุคติอบาย
- ผู้มืดมาสว่างไป ผู้เกิดในตระกูลต่ำต้อยแต่เป็นผู้มีศรัทธา ไม่ตระหนี่เป็นคนมีความดำริประเสริฐ มีใจไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะชีพราหมณ์ ...เมื่อตายไปย่อมถึงสคติภูมิ
- ผู้สว่างมาแล้วมืดไป ผู้เกิดในตระกูลสูง เป็นคนมั่งคั่งมั่งมี แต่กลับเป็นไม่มีศรัทธา ตระหนี ไม่มีความเอื้อเฟื้อ... เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงทุคติอบาย
- ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป เป็นผู้เกิดในตระกูลสูงและเขาย่อมประพฤติสุจริตกาย วาจ และใจ ตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
กรรมของมนุษย์ที่ทำในกาลก่อน ส่งผลให้มีปฏิปทาต่างกัน เช่น บางคนเป็นคนดี บางคนบ้า ยางคนรวย บางคนจน นั้นล้วนมีเหตุปัจจัยต่างๆ กัน
เทวภูมิ 6
- จาตุมมหาราชิกาภูมิ(สวรรค์ชั้นที่ 1 ) เมื่อเป็นมนุษย์ ชอบทำความดี สันโดษ ยินดีแต่ของๆ ตน ชักชวนให้ผู้อื่นประกอบการกุศล ชอบให้ทาน เป็นผู้มีความวหังในทาน มีจิตผู้กพันแห่งทานแล้วให้ทาส มุ่งการสั่งสมให้ทานให้ทานด้วยความคิว่า "เราตายแล้วจักได้เสวยผลแห่งทานนี้"และเป็นผู้มีศีลญ
- ตาวติงสาภูมิ หรือ ดาวดึงส์(สวรรค์ชั้นที่ 2) เมื่อเป็นมนุษย์มีจิตบริสทฺุธิ์ ยินดีในการให้ทาน มให้ทานด้วยความคิดว่า"การให้ทานเป็นการกระทำดี" งดงามด้วยพยายามรักษาศีล ไม่ดูหมิ่นผู้ใหญ่ในตระกูลฯ
- ยามาภูมิ(สวรรค์ชั้นที่ 3) เป็นที่อยู่ของเทพยาดาผู้มีแต่ความสุขอันเป็นทิพย์ เมื่อเป็นมนุษย์มีจิตบริสุทธิ์ พยายามสร่้างเสบียง ไม่หวั่นไหวในการบำเพ็ญบุญกุศล ให้ทานด้วยความคิดที่ว่า"เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษกระทำม่เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี" รักษาศีล มีจิตขวนขวายในธรรม ทำความดีด้วยใจจริง
-ตุสิตาภูมิ(สวรรค์ชั้น 4) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าผู้มีความยินดีแช่มชื่นเป็นนิจ เมื่อเป็นมนุษย์มีจิบรุสุทธิ์ ยินดีมากในการบริจาคทาน ให้ทานด้วยความคิดที่ว่า"เราหุงหากิน แต่สมณะหรือพราหมณ์ทั้งหลายไม่ได้หุงหากิน เราหุงหากินได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ผู้ไม่หุงหากิน ย่อมเป็นการไม่สมควร " ทรงศีล ทรงธรรม ชอบฟังพระธรรมเทศนา หรือเป็นพระโพธิสัตว์รู้ธรรมมาก
-นิมมานรตีภูมิ(สวรรค์ชั้น5) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าผู้ยินดีในกามคุณอารมณ์ ซึ่งเนรมิตขึ้สมาตามความพอใจ เมื่อเป็นมนุษย์ให้ทานด้วยความคิดว่า"เราจักจำแนกท่านเช่นเดียวกับฤาษีทั้งหลายในกาลก่อน
" ประพฤติธรรมสมำ่เสมอ พยายามรักษาศีลไม่ให้ขาด มีใจสมบูรณ์ด้วยศีล และมีวิริยะอุตสาหะในการบริจาคทานเป็นอันมาก
- ปรนิมมิตวสวัตีภูมิ(สวรรค์ชั้น 6 ) เป็นที่อยู่ของเทพเจ้าซึ่งเสวยกามคุณอารมณ์ เมื่อเป็นมนุษย์อุตส่าห์ก่อสร้างกองการกุศลให้ยิ่งใหญ่เป็นอุกกฤษฏ์ อบรมจิตใจสูงส่งไปด้วยคุณธรรม เมื่อจะให้ทานรักษาศึลก็ต้องบำเพ็ญกันอย่างจริงๆ มากไปด้วยความศรัทธาปสาทะอย่างยิ่งยวด ให้ทานด้วยคิดว่า "เมื่อเราให้ทานอย่างนี้ จิตของเราจะเลื่อมใส จะเกิดความปลื้มใจและโสมนัส"เพราะวิบากแห่งทาน และศีลอันสูงส่งยิ่งเท่านั้น จึงอุบัติในสวรรค์ชั้นนี้
โลกเบื้องสูง
ปฐมฌานภูมิ 3 ทุติยฌารภูมิ 3 ตติยฌารภูมิ3 และ พรหมภูมิตั้งแต่ชั้นที่ 1-20
โสดาบันโลกุตรภูมิ ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อว่าพระอริยบุคคลโสดาบัน แบ่งเป็น
- เอกพีชีโสดาบัน เกิดอีกชาติเดียว และ้วก็บรรลุพระอรหัตผล ปรินิพพาน
- โกลังโกละโสดาบัน เกิดอีก 2-6 ชาติ เป็นอย่างมากแล้ก็บรรลุพระอรหัจผล ปรินิพพาน
- สัตตักขัตตุปรมะโสดาบัน จะเกิดอีกอย่างมากไม่เกิด 7 ชาติ
สกทาคามีโลกุตรภูมิ
ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อว่าพระอริยบุคคลสกทาคามี ซึ่งจะเกิดอีกพียงชาติเดียว....
อนาคามีโลกุตตรภูมิ
ผู้ถึงภูมินี้ได้ชื่อวาพระอนาคามี จะไม่กลับมาเกิดในกามภูมิอีก....
อรหัตโลกุตรภูมิ
มี 2 ประเภท คือ เจโตวิมุตติ และปัญญาวิมุตติ ผู้ถึงภูมินี้ เป็นผู้ที่สมควรแก่การบูชาของเหล่าเทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะสิ้นกิิเลสโดยตัดสังโยชน์ 10 ประการได้ สามารถเข้าอรหัตผลสมัติ เสวยอารมณ์พระนิพพานได้ตามปรารถนา และไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกในวัฏสังสาร เมื่อถึงอายุขัยก็ดับขันธ์ปรินิพพาน
วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
Power Approach
แนววิเคราะห์เชิงอำนาจ
ความหมายของอำนาจ "คือ สมรรถภาพในความสัมพันธ์ของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นจากการตัดสิน และมีผลต่อความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์"
มิติ ของ อำนาจ
พิสัยอำนาจ คือ ชนิดของประเด็นปัญหาที่การตัดสินใจส่งผลไปถึง
ทรัพยากรอำนาจ แหล่ง สิ่งใดๆ ที่บุคคลหรือปัจเจกบุคคลนำมาใช้เพื่อให้เกิดอำนาจ
ความสามรถในการแผ่อำนาจ อำนาจสามารถขยายตัว หรือหดตัวได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพสังคมและ
และระบบการเมือง
การกระจายอำนาจ คือ การจัดให้อำนาจแพร่ออกไปสู่มวลสมาชิกของสังคม
ลักษณะ ของ อำนาจ
อำนาจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อบุคคลมีความสัมพันธ์กันทางสังคมเท่านั้น
อำนาจทำให้เกิดการต้านทาน ลักษณะเช่นเราเรียกว่าการควบคุม
การใช้อำนาจไม่เกิดผลเสมอไป การใช้อำนาจแต่ละครั้งจะเป็นเพียงความน่าจะเป็นเท่านั้น
เป็นทั้งความจริง และจินตนาการ
การบังคับ
ภาวะครอบงำ
ความต้องตาต้องใจ ความผูกพันทางจิตใจ
การใช้อำนาจในทางการเมือง
มี ผู้กล่าวว่าอำนาจคือหัวใจของการเมือง การเมืองเป็นเรื่องการต่อสู้และแข่งขันชนิดหนึ่งเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ หรือ เืพื่ออุดมการณ์ อย่่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพร้อมกัน
วิธีทางการเมือง มีลักษณะสำคัญ อยู่สองอย่าง คือ เป็นกระบวนการที่ต้องตัดสินใจเลือกและเป็นกระบวนการของการขับเคี่ยวและต่อสู้
"การตัดสินใจที่ทำให้ทุกคนในระบบการเมืองนั้นพอใจนั้นมีอยู่น้อย ทั้งการคากการณ์การล่วงหน้าว่าจะเกิดผลใดตามมานั้นเป็นเรื่องยาก นักการเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำให้ผู้ไม่เห็นด้วย หรือผู้ไม่ปฏิบัติตามมติการตัดสินใจนั้นยอมรับให้มากที่สุด การพยายามใช้อิทธิพลกับผู้อื่นทำในสิ่งที่ตนอยากให้ทำนี้ คือการใช้อำนาจ จึงมีผู้กล่าวว่าอำนาจคือหัวใจของการเืมือง"
ผู้นำและอำนาจ
แนว คิดเรื่องผู้นำ-ผู้ตาม จะอิงอยู่กับอำนาจ อำนาจของผู้นำคือการกระทำที่ตอบสนองความต้องการของผู้ครองอำนาจ โดยการกระทำไม่ใช่ความปรารถนาของตนเอง แต่มาเห็นชอบในภายหลัง
การใช้อำนาจบังคับในรูปแบบใช้กำลัง เป็นเครื่องชี้ถึงสภาพที่ ประชาชนในระบบการเมืองไม่มีความสอดคล้องต้องกันในเป้าหมายขั้นพืั้นฐาน
การใช้กำลังบังคับแสดงถึงการไม่ปรารถนาจะปฏิบัติตามผู้ครองอำนาจดังนั้นการวิเคราะห์ในเชิงอำนาจส่วนหนึ่งจึงมักมุ่งไปที่"อิทธิพล"
อำนาจที่ชอบธรรม คือ อำนาจหน้าที่ ซึ่งตรงข้ามกับอำนาจบังคับ ในการใช้อำนาจในทางการเมืองนักการเมืองจึงมุ่งที่สร้างความชอบธรรมในการใช้ อำนาจให้มากทีุ่สุด หรือกล่าวอีกนัยคือ นักการเมืองจะต้องทำอำนาจให้เป็นอำนาจหน้าที่ โดย
ทำให้เป็นขนบธรรมเนียมประเพณี คือให้ปฏิบัติตามจนเป็นความเคยชิน เช่น อำนาจของพระสงฆ์ อำนาจผู้สูงอายุ
ทำให้เป็นกฎหมาย เป็นวิธีที่ระบอบยอมรับ
ทำให้มีลักษณะชอบด้วยเหตุผล
การโน้มน้าวโดยบุคลิกลักษณะพิเศษ เช่น ฮิตเลอร์ เหมาเจ๋อตุง คานธี
อำนาจหน้าที่จึงประกอบด้วย
บทบาทและตำแหน่ง
จุด อ่อนของการวิเคราะห์เชิงอำนาจนั้น คือ การวัดอำนาจว่าใครมีมากกว่าใคร และ การจำกัดความ คำว่าอำนาจ ซึ่งมีคำจำกัดความใกล้เคียงกับอิทธิพล และข้อจำกัด คือ ปัจจัยอันหลากหลายในสังคม และข้อสังเกตอิทธิพลซ้อนเร้นและอิทธิพลชัดแจ้ง
อำนาจ และ อิทธิพล
อำนาจอันเกิดจากแหล่งอำนาจ ดังนี้
-อำนาจหน้าที่ เป็นอำนาจเกิดจาก กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ขนบประเพณี กฎหมาย ฯ ซึ่งบุคคลส่วนใหญ๋ในการยอมรับ
- อำนาจบังคับ เกิดจากใช้กำลัง ทั้งจากร่างกายและอาวุธ
- อำนาจในการให้รางวัลหรือลงโทษ ต้นกำเนิดอำนาจชนิดนี้อยู่ที่ทรัีพยากร หรือสิ่งมีค่าในสายตาของผู้ถูกใช้อำนาจ อำนาจในการลงโทษคือสิ่งที่ตรงข้าม
- อำนาจอ้างอิง อำนาจชนิดนี้เกิดจากผู้ถูกใช้อำนาจ ชอบและเกิดความศรัทธาในตัวผู้ใช้อำนาจ
- อำนาจในฐานะผู้เชี่ยวชาญ อำนาจชนิดนี้เกิดจากความรู้ คุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ
อิทธิพล
หมายถึงสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในลักษณะทีฝ่ายหนึ่งได้กระทำการลงไปอันมีผล เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้เป็นไปตามความมุ่งหมายของตน
โดยปกติอิทธิพลจะเกิดขึ้นโดยมีอำนาจหนุนหลัง ไม่ว่าจะมีอำนาจจริงหรือผู้ถูกใช้อิทธิพลเชื่อว่ามีจริง อิทธิพลจะเกิดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือทัศนคติของเป้าหมาย
ลักษณะของอิทธิพล
ไม่มีอิทธิพล เช่น นายอำเภอสั่งให้ชาวบ้านรื้อเขื่อนที่ชาวบ้านสร้างขึ้นมา ชาวบ้านได้ยินแต่ไม่ทำตาม
อิทธิพลเบี่ยงเบน เช่น ลูกจ้างเรียกร้องให้ขึ้นเงินเดือนแต่นายจ้างกลับเพิ่มสวัสดิการให้
อิทธิพลทางบวก เช่น ลุกจ้างนัดหยุดงาน นายจาก สั่งให้ทำงานถ้าไม่ทำจะไล่ออก ลุกจ้างปฏิบัติตาม
อทิธิพลทางลบ เช่น ถ้าบอกลูกชายให้อยู่บ้านอ่านหนังสือในวันหยุด ลุกจะออกไปเที่ยวเล่นกับเพื่อนใน กรณีนี้มีอิทธิพลทางลบ
วิธีการใช้อิทธิพล
การใช้อิทธิพลในแง่อำนาจ
อำนาจ หน้าที่ การสร้างอิทธิพลโดยอาศัยอำนาจหน้าที่ มีลักษณะไม่ขึ้นกับตัวบุคคล มักไม่มีผลกระทบเป้าหมายโดยส่วนตัว เว้นแต่ ผู้ใช้อำนาจจะเลือกปฏิบัติ
อิทธิพลจากอำนาจหน้าที่นั้นมีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ สิ่งสำคัญสองประการ คือ การยอมรับของบุคคลหรือเป้าหมายมีต่อกฎเกณฑN ประเพณี และหลักกาีรที่นำมาอ้าง
การใช้อำนาจในการให้รางวัล และลงโทษ การสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้โดยอาศัยสิ่งที่มีคุณค่าในสายตาเป้าหมายมาเป็น แรงกระตุ้นให้เป้าหมายกระทำไปตามเจตนารมณ์ของผู้ใช้อำนาจ หรือ จะในรูปแบบภัยคุกคาม เช่นการ จะตัดเงินเดือน ฯ
ถึงแม้ว่าการสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้จะมีผลต่อเป้าหมายอย่างมาก แต่ก็มีผลสะท้อนด้วย กล่าวคือ การให้รางวัลหรือลงโทษนั้นยอ่มขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของเป้าหมาย ซึ่งควรจะให้ร่างวัล หรือลงโทษ แต่ตราบใดที่ยังไม่มีมาตรวัดทางวัตถุ การสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับผู้ใช้อำนาจและเป้าหมายโดยตรง คือ เกิดจากการชอบพอเป็นการส่วนตัว หรือ เกิดจากการเกลียดชัง เป็นต้น
การใช้กำลัง เป็นวิธีการสร้างอิทธิพลด้วยวิธีรุนแรง หรือ คุกคามว่าจะใช้วิธีรุนแรง จะใช้วิธีนี้เมือไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่า
การใช้อำนาจอ้างอิง วิธีการสร้างอิทธิพลรูปแบบนี้ เป็นในแบบชักชวนมากกว่าคุกคาม จุดสำคัญอยู่ที่เป้าหมายและสิ่งอ้างอิง อาจเป็นผู้ใช้อำนาจ หรือผู้อื่นก็ได้ เป็นเรื่องที่อาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัว
โครงสร้างอำนาจ
โครงสร้างอำนาจแบบชนชั้นนำนิยม
แนวคิดพื้นฐานทีว่า ในแต่ละสังคมประกอบด้วย ชนชั้นนำ และปวงชน ชนชั้นนำนั้นมีอำนาจมีน้อย ปวงชนเป็นคนส่วนใหญ่ในสังคมแต่ไม่มีอำนาจ คำกล่าวของนักสังคมชาวอิตาลี "ทุกๆคนล้วนถูกปกครองโดยชนชั้นนำ ที่ประชาชนเลื่อกขึ้นมา" ทรรศนะแนวคิดของชนชั้นนำนิยม เชื่อว่าจะต้องมีคนหรือกลุ่มคนที่เป็นผู้ตัดสินใจแทนคนหมู่มาก ซึ่งเป็นมาแต่โบราณ ชนชั้นนำเป็นผู้ตัดสินใจแทนคนหมู่มากเสมอ การที่จะอธิบายระบบสังคมในเป็นที่เข้าใจอาจทำได้โดย พิจารณาว่าบุคคลในสังคมมีความแตกต่างกัน ในด้าน สถานภาพ เกียรติภูม และอิทธิพลที่มีต่อบุคคลอื่นในสังคม
แนวคิดแบบชนชั้นนำนิยม ถือว่าโครงสร้างด้านสถานภาพเป็นกลุ่มของชั้นทางสังคม ในกรอบแนวคิดเช่นนี้จึงถือว่าปัจจัยต่างๆ ที่มาเป็นตัวกำหนดสถานภาพอย่างหนึ่งสูง อย่างอื่นก็จะสูงไปด้วยและมองว่าสังคมต่างๆ แบ่งเป็นชนชั้น อันประกอบด้วย ชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนชั้นตำ่
โครงสร้างอำนาจแบบพหุนิยม
แนวคิดแบบพหุนิยม ถือว่าอำนาจเกิดขึ้นจากการเข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บุคคลจะมีอำนาจก็ต่อเมืองเขาได้เข้ามีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจอย่างใดอย่าง หนึ่งเท่านั้น การครองตำแหน่งในสถาบันสังคมถือว่าเป็น"ศักยภาพ"ที่จะมีอำนาจเท่านั้น แต่อำนาจจะไม่เกิดขึ้นจริง จนกว่าเขาจะตัดสินใจ...
ความหมายของอำนาจ "คือ สมรรถภาพในความสัมพันธ์ของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นจากการตัดสิน และมีผลต่อความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์"
มิติ ของ อำนาจ
พิสัยอำนาจ คือ ชนิดของประเด็นปัญหาที่การตัดสินใจส่งผลไปถึง
ทรัพยากรอำนาจ แหล่ง สิ่งใดๆ ที่บุคคลหรือปัจเจกบุคคลนำมาใช้เพื่อให้เกิดอำนาจ
ความสามรถในการแผ่อำนาจ อำนาจสามารถขยายตัว หรือหดตัวได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพสังคมและ
และระบบการเมือง
การกระจายอำนาจ คือ การจัดให้อำนาจแพร่ออกไปสู่มวลสมาชิกของสังคม
ลักษณะ ของ อำนาจ
อำนาจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อบุคคลมีความสัมพันธ์กันทางสังคมเท่านั้น
อำนาจทำให้เกิดการต้านทาน ลักษณะเช่นเราเรียกว่าการควบคุม
การใช้อำนาจไม่เกิดผลเสมอไป การใช้อำนาจแต่ละครั้งจะเป็นเพียงความน่าจะเป็นเท่านั้น
เป็นทั้งความจริง และจินตนาการ
การบังคับ
ภาวะครอบงำ
ความต้องตาต้องใจ ความผูกพันทางจิตใจ
การใช้อำนาจในทางการเมือง
มี ผู้กล่าวว่าอำนาจคือหัวใจของการเมือง การเมืองเป็นเรื่องการต่อสู้และแข่งขันชนิดหนึ่งเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ หรือ เืพื่ออุดมการณ์ อย่่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพร้อมกัน
วิธีทางการเมือง มีลักษณะสำคัญ อยู่สองอย่าง คือ เป็นกระบวนการที่ต้องตัดสินใจเลือกและเป็นกระบวนการของการขับเคี่ยวและต่อสู้
"การตัดสินใจที่ทำให้ทุกคนในระบบการเมืองนั้นพอใจนั้นมีอยู่น้อย ทั้งการคากการณ์การล่วงหน้าว่าจะเกิดผลใดตามมานั้นเป็นเรื่องยาก นักการเมืองจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำให้ผู้ไม่เห็นด้วย หรือผู้ไม่ปฏิบัติตามมติการตัดสินใจนั้นยอมรับให้มากที่สุด การพยายามใช้อิทธิพลกับผู้อื่นทำในสิ่งที่ตนอยากให้ทำนี้ คือการใช้อำนาจ จึงมีผู้กล่าวว่าอำนาจคือหัวใจของการเืมือง"
ผู้นำและอำนาจ
แนว คิดเรื่องผู้นำ-ผู้ตาม จะอิงอยู่กับอำนาจ อำนาจของผู้นำคือการกระทำที่ตอบสนองความต้องการของผู้ครองอำนาจ โดยการกระทำไม่ใช่ความปรารถนาของตนเอง แต่มาเห็นชอบในภายหลัง
การใช้อำนาจบังคับในรูปแบบใช้กำลัง เป็นเครื่องชี้ถึงสภาพที่ ประชาชนในระบบการเมืองไม่มีความสอดคล้องต้องกันในเป้าหมายขั้นพืั้นฐาน
การใช้กำลังบังคับแสดงถึงการไม่ปรารถนาจะปฏิบัติตามผู้ครองอำนาจดังนั้นการวิเคราะห์ในเชิงอำนาจส่วนหนึ่งจึงมักมุ่งไปที่"อิทธิพล"
อำนาจที่ชอบธรรม คือ อำนาจหน้าที่ ซึ่งตรงข้ามกับอำนาจบังคับ ในการใช้อำนาจในทางการเมืองนักการเมืองจึงมุ่งที่สร้างความชอบธรรมในการใช้ อำนาจให้มากทีุ่สุด หรือกล่าวอีกนัยคือ นักการเมืองจะต้องทำอำนาจให้เป็นอำนาจหน้าที่ โดย
ทำให้เป็นขนบธรรมเนียมประเพณี คือให้ปฏิบัติตามจนเป็นความเคยชิน เช่น อำนาจของพระสงฆ์ อำนาจผู้สูงอายุ
ทำให้เป็นกฎหมาย เป็นวิธีที่ระบอบยอมรับ
ทำให้มีลักษณะชอบด้วยเหตุผล
การโน้มน้าวโดยบุคลิกลักษณะพิเศษ เช่น ฮิตเลอร์ เหมาเจ๋อตุง คานธี
อำนาจหน้าที่จึงประกอบด้วย
บทบาทและตำแหน่ง
จุด อ่อนของการวิเคราะห์เชิงอำนาจนั้น คือ การวัดอำนาจว่าใครมีมากกว่าใคร และ การจำกัดความ คำว่าอำนาจ ซึ่งมีคำจำกัดความใกล้เคียงกับอิทธิพล และข้อจำกัด คือ ปัจจัยอันหลากหลายในสังคม และข้อสังเกตอิทธิพลซ้อนเร้นและอิทธิพลชัดแจ้ง
อำนาจ และ อิทธิพล
อำนาจอันเกิดจากแหล่งอำนาจ ดังนี้
-อำนาจหน้าที่ เป็นอำนาจเกิดจาก กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ขนบประเพณี กฎหมาย ฯ ซึ่งบุคคลส่วนใหญ๋ในการยอมรับ
- อำนาจบังคับ เกิดจากใช้กำลัง ทั้งจากร่างกายและอาวุธ
- อำนาจในการให้รางวัลหรือลงโทษ ต้นกำเนิดอำนาจชนิดนี้อยู่ที่ทรัีพยากร หรือสิ่งมีค่าในสายตาของผู้ถูกใช้อำนาจ อำนาจในการลงโทษคือสิ่งที่ตรงข้าม
- อำนาจอ้างอิง อำนาจชนิดนี้เกิดจากผู้ถูกใช้อำนาจ ชอบและเกิดความศรัทธาในตัวผู้ใช้อำนาจ
- อำนาจในฐานะผู้เชี่ยวชาญ อำนาจชนิดนี้เกิดจากความรู้ คุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญ
อิทธิพล
หมายถึงสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในลักษณะทีฝ่ายหนึ่งได้กระทำการลงไปอันมีผล เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้เป็นไปตามความมุ่งหมายของตน
โดยปกติอิทธิพลจะเกิดขึ้นโดยมีอำนาจหนุนหลัง ไม่ว่าจะมีอำนาจจริงหรือผู้ถูกใช้อิทธิพลเชื่อว่ามีจริง อิทธิพลจะเกิดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือทัศนคติของเป้าหมาย
ลักษณะของอิทธิพล
ไม่มีอิทธิพล เช่น นายอำเภอสั่งให้ชาวบ้านรื้อเขื่อนที่ชาวบ้านสร้างขึ้นมา ชาวบ้านได้ยินแต่ไม่ทำตาม
อิทธิพลเบี่ยงเบน เช่น ลูกจ้างเรียกร้องให้ขึ้นเงินเดือนแต่นายจ้างกลับเพิ่มสวัสดิการให้
อิทธิพลทางบวก เช่น ลุกจ้างนัดหยุดงาน นายจาก สั่งให้ทำงานถ้าไม่ทำจะไล่ออก ลุกจ้างปฏิบัติตาม
อทิธิพลทางลบ เช่น ถ้าบอกลูกชายให้อยู่บ้านอ่านหนังสือในวันหยุด ลุกจะออกไปเที่ยวเล่นกับเพื่อนใน กรณีนี้มีอิทธิพลทางลบ
วิธีการใช้อิทธิพล
การใช้อิทธิพลในแง่อำนาจ
อำนาจ หน้าที่ การสร้างอิทธิพลโดยอาศัยอำนาจหน้าที่ มีลักษณะไม่ขึ้นกับตัวบุคคล มักไม่มีผลกระทบเป้าหมายโดยส่วนตัว เว้นแต่ ผู้ใช้อำนาจจะเลือกปฏิบัติ
อิทธิพลจากอำนาจหน้าที่นั้นมีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ สิ่งสำคัญสองประการ คือ การยอมรับของบุคคลหรือเป้าหมายมีต่อกฎเกณฑN ประเพณี และหลักกาีรที่นำมาอ้าง
การใช้อำนาจในการให้รางวัล และลงโทษ การสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้โดยอาศัยสิ่งที่มีคุณค่าในสายตาเป้าหมายมาเป็น แรงกระตุ้นให้เป้าหมายกระทำไปตามเจตนารมณ์ของผู้ใช้อำนาจ หรือ จะในรูปแบบภัยคุกคาม เช่นการ จะตัดเงินเดือน ฯ
ถึงแม้ว่าการสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้จะมีผลต่อเป้าหมายอย่างมาก แต่ก็มีผลสะท้อนด้วย กล่าวคือ การให้รางวัลหรือลงโทษนั้นยอ่มขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานของเป้าหมาย ซึ่งควรจะให้ร่างวัล หรือลงโทษ แต่ตราบใดที่ยังไม่มีมาตรวัดทางวัตถุ การสร้างอิทธิพลในรูปแบบนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับผู้ใช้อำนาจและเป้าหมายโดยตรง คือ เกิดจากการชอบพอเป็นการส่วนตัว หรือ เกิดจากการเกลียดชัง เป็นต้น
การใช้กำลัง เป็นวิธีการสร้างอิทธิพลด้วยวิธีรุนแรง หรือ คุกคามว่าจะใช้วิธีรุนแรง จะใช้วิธีนี้เมือไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่า
การใช้อำนาจอ้างอิง วิธีการสร้างอิทธิพลรูปแบบนี้ เป็นในแบบชักชวนมากกว่าคุกคาม จุดสำคัญอยู่ที่เป้าหมายและสิ่งอ้างอิง อาจเป็นผู้ใช้อำนาจ หรือผู้อื่นก็ได้ เป็นเรื่องที่อาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัว
โครงสร้างอำนาจ
โครงสร้างอำนาจแบบชนชั้นนำนิยม
แนวคิดพื้นฐานทีว่า ในแต่ละสังคมประกอบด้วย ชนชั้นนำ และปวงชน ชนชั้นนำนั้นมีอำนาจมีน้อย ปวงชนเป็นคนส่วนใหญ่ในสังคมแต่ไม่มีอำนาจ คำกล่าวของนักสังคมชาวอิตาลี "ทุกๆคนล้วนถูกปกครองโดยชนชั้นนำ ที่ประชาชนเลื่อกขึ้นมา" ทรรศนะแนวคิดของชนชั้นนำนิยม เชื่อว่าจะต้องมีคนหรือกลุ่มคนที่เป็นผู้ตัดสินใจแทนคนหมู่มาก ซึ่งเป็นมาแต่โบราณ ชนชั้นนำเป็นผู้ตัดสินใจแทนคนหมู่มากเสมอ การที่จะอธิบายระบบสังคมในเป็นที่เข้าใจอาจทำได้โดย พิจารณาว่าบุคคลในสังคมมีความแตกต่างกัน ในด้าน สถานภาพ เกียรติภูม และอิทธิพลที่มีต่อบุคคลอื่นในสังคม
แนวคิดแบบชนชั้นนำนิยม ถือว่าโครงสร้างด้านสถานภาพเป็นกลุ่มของชั้นทางสังคม ในกรอบแนวคิดเช่นนี้จึงถือว่าปัจจัยต่างๆ ที่มาเป็นตัวกำหนดสถานภาพอย่างหนึ่งสูง อย่างอื่นก็จะสูงไปด้วยและมองว่าสังคมต่างๆ แบ่งเป็นชนชั้น อันประกอบด้วย ชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนชั้นตำ่
โครงสร้างอำนาจแบบพหุนิยม
แนวคิดแบบพหุนิยม ถือว่าอำนาจเกิดขึ้นจากการเข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บุคคลจะมีอำนาจก็ต่อเมืองเขาได้เข้ามีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจอย่างใดอย่าง หนึ่งเท่านั้น การครองตำแหน่งในสถาบันสังคมถือว่าเป็น"ศักยภาพ"ที่จะมีอำนาจเท่านั้น แต่อำนาจจะไม่เกิดขึ้นจริง จนกว่าเขาจะตัดสินใจ...
Public policy
นโบายสาธารณะ คือ สิ่งที่รัฐบาลเลือกที่จะทำ และไม่ทำ นโยบายสาธารณะและการตัดสินใจจึงแยกกันไม่ออก
- เป็นการปฏิบัติการที่มีเป้าหมาย
- มิใช่การตัดสินใจแต่อย่างเดียวแต่เป็นการปฏิบัติตามนโยบายด้วย เพื่อให้บรรลุผลของนโยบายนั้น โดยเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- เป็นสิ่งที่รัฐบาลปฏิบัติอยู่ในขณะนั้น มิใช้เพียงสิ่งที่ตั้งใจว่าจะทำ
- เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจว่าจะทำ
- การใช้อำนาจบังคับ ตามนโยบายที่รัฐออกมา โดยการออกกฎหมาย ่หรือระเบียบ หรือคำสั่ง
กระบวนการนโยบายเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกทั้งตัวบุคคล แลุ่มผลประโยชน์และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม กระบวนการนโยบายสาธารณะเป็นหระบวนการทางจริยธรรมเกี่ยวข้องกับปัจจัยและกระบวนการสำคัญโดยเรื่อตั้งแต่การกำหนดนโยบาย การบริหารนโยบายแารประเมินผลนโยบายและการเลิล้มนโยบาย
องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะจะประกอบด้วยปัจจัยสำคัญคือ ตัวนโยบาย สภาพแวดล้อม
ของนโยบายและผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบาย
สภาพแวดล้อม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม โลกาภิวัฒน์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน นักการเมือง ข้าราชการ นักธุรกิจ กลุ่มผลประโยชน์
นโยบายสาธารณะ
การก่อรูปของนโยบายสาธารณะ
ปัญหา - ปัญหาเฉพาะบุคคล
- ปัญหาเฉพาะกลุ่ม
- ปัญหามหาชน
ประเด็นปัญหาสังคม
- ปัญหาความขัดแย้ง
- หาทางแก้ปัญหา
ระเบียบวาระสังคม
- คนรับรู้และเกี่ยวข้อง
- รัฐควรเข้าแก้ไข
ระเบียบวาระรัฐบาล
นโยบาย
ในสังคมไทยขั้นตอนในการกำหนดนโยบายที่่จัดเป็นขั้นตอนของการนำเข้ามีความสำคัญน้อย เพราะส่วนใหญ่ข้าราชการและคณะผู้บริหารจะเป็นผู้กำหนดนโยบายและตัดสินนโยบาย ข้อเสนอของรัฐส่วนใหญ่จึงมาจากข้าราชการและตัดสินนโยบายโดยข้าราชการ การนำนโยบายไปกฏิบัติและการประเมินผลการปฏิบัติงานจึงดำเนินการโดยข้าราขการและระบบราชการเป็นสำคัญ
ปัญหาที่ตามมาคือปัญหาในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัญหาประสิทธิผลคือการแก้ปัญหาไม่ตรงตามเป็าหมายที่ประชาชนต้องการเพราะประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย ส่วนปัญหาประสทิธิภาพคือขาดตัวชี้วัดจากประชาชนเพราะไม่มีหน่วยงานติดตามควบคุมการปฏิบัติงานของข้าราชการ เมื่อไม่สามารถประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงานในกิจกรรมของรัฐบาลได้ ต้นทุนการบริหารจัดการจึงสูง งบประมาณทั้งหมดมาจากภาษีของประชาชนแต่ประชาชนไม่สามารถตรวจสอบการดำเนินงานได้ ...
ความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับภาครัฐและภาคเอกชนในโครงการของภาครัฐ
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นหายโครงการมีสาเหตุจากปัญหาหลายประการ ที่สำคัญประการหนึ่งคือประชาชนไม่สนับสนุนโครงการหรือนโยบายอันเนื่องมาจากขาดการประชาสัมพันธ์โครงการหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการเป็นต้ัน กรณีตัวอย่างอาทิ กรณีโครงการเขื่อนน้ำโจน จ.กาญจนบุรี กรณีเขื่อนปากมูบ จ.อุบลราชธานี ชี้ให้เห็นว่าการวางแผนจัดทำโครงการที่ไม่คำนึงถึงความต้องการของประชาชน ความคิดเห็นของประชาชนหรือของชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใในโครงการของรัฐ เมื่อโครงการเกิดขึ้นประชาชนจึงได้รับรู้ถึงผลกระทบและมัสร้างความสับสน และความไม่เข้าใจรวมทั้งไม่พอใจ ไม่สนับสนุนโครงการและนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างภาคประชาชกับภาครัฐ หรือภาคเอกชนผู้รับผิดชอบโครงการ
กระบวนการนโยบายสาธารณะจากการมีส่วนร่วม Participatory Public Policy Process
รูปแบบแรก คือ กระบวนการนโยลายสาธารณะที่กำหนดขึ้นจากแกนนำที่เป็นตัวแทนประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายแทนภาคประชาชน
รูปแบบสองคือกระบวนการนโยบานสาธารณะจำกภาคประชาชนที่รวมตัวกันในรูปของประชาคมร่วมกำหนดปัญหา ประเด็นนโยบายที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง ๆ ในสังคมวัฒนธรรมของแต่ละชุมชนเนื่องมาจากกระบวนการนโยบายจากแกนนำภาครัฐไม่สามารถตอบสนองการแก้ปัญหาเหล่านั้นได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมเป็นกระบวงนการกำหนดนโยบายจากรากแก้วจากความรู้และกระบวนการเรียนรู้ในภาคปฏิบัติ
- เป็นการปฏิบัติการที่มีเป้าหมาย
- มิใช่การตัดสินใจแต่อย่างเดียวแต่เป็นการปฏิบัติตามนโยบายด้วย เพื่อให้บรรลุผลของนโยบายนั้น โดยเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- เป็นสิ่งที่รัฐบาลปฏิบัติอยู่ในขณะนั้น มิใช้เพียงสิ่งที่ตั้งใจว่าจะทำ
- เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจว่าจะทำ
- การใช้อำนาจบังคับ ตามนโยบายที่รัฐออกมา โดยการออกกฎหมาย ่หรือระเบียบ หรือคำสั่ง
กระบวนการนโยบายเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกทั้งตัวบุคคล แลุ่มผลประโยชน์และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม กระบวนการนโยบายสาธารณะเป็นหระบวนการทางจริยธรรมเกี่ยวข้องกับปัจจัยและกระบวนการสำคัญโดยเรื่อตั้งแต่การกำหนดนโยบาย การบริหารนโยบายแารประเมินผลนโยบายและการเลิล้มนโยบาย
องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะจะประกอบด้วยปัจจัยสำคัญคือ ตัวนโยบาย สภาพแวดล้อม
ของนโยบายและผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบาย
สภาพแวดล้อม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม โลกาภิวัฒน์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาชน นักการเมือง ข้าราชการ นักธุรกิจ กลุ่มผลประโยชน์
นโยบายสาธารณะ
การก่อรูปของนโยบายสาธารณะ
ปัญหา - ปัญหาเฉพาะบุคคล
- ปัญหาเฉพาะกลุ่ม
- ปัญหามหาชน
ประเด็นปัญหาสังคม
- ปัญหาความขัดแย้ง
- หาทางแก้ปัญหา
ระเบียบวาระสังคม
- คนรับรู้และเกี่ยวข้อง
- รัฐควรเข้าแก้ไข
ระเบียบวาระรัฐบาล
นโยบาย
ในสังคมไทยขั้นตอนในการกำหนดนโยบายที่่จัดเป็นขั้นตอนของการนำเข้ามีความสำคัญน้อย เพราะส่วนใหญ่ข้าราชการและคณะผู้บริหารจะเป็นผู้กำหนดนโยบายและตัดสินนโยบาย ข้อเสนอของรัฐส่วนใหญ่จึงมาจากข้าราชการและตัดสินนโยบายโดยข้าราชการ การนำนโยบายไปกฏิบัติและการประเมินผลการปฏิบัติงานจึงดำเนินการโดยข้าราขการและระบบราชการเป็นสำคัญ
ปัญหาที่ตามมาคือปัญหาในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัญหาประสิทธิผลคือการแก้ปัญหาไม่ตรงตามเป็าหมายที่ประชาชนต้องการเพราะประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย ส่วนปัญหาประสทิธิภาพคือขาดตัวชี้วัดจากประชาชนเพราะไม่มีหน่วยงานติดตามควบคุมการปฏิบัติงานของข้าราชการ เมื่อไม่สามารถประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงานในกิจกรรมของรัฐบาลได้ ต้นทุนการบริหารจัดการจึงสูง งบประมาณทั้งหมดมาจากภาษีของประชาชนแต่ประชาชนไม่สามารถตรวจสอบการดำเนินงานได้ ...
ความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับภาครัฐและภาคเอกชนในโครงการของภาครัฐ
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นหายโครงการมีสาเหตุจากปัญหาหลายประการ ที่สำคัญประการหนึ่งคือประชาชนไม่สนับสนุนโครงการหรือนโยบายอันเนื่องมาจากขาดการประชาสัมพันธ์โครงการหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการเป็นต้ัน กรณีตัวอย่างอาทิ กรณีโครงการเขื่อนน้ำโจน จ.กาญจนบุรี กรณีเขื่อนปากมูบ จ.อุบลราชธานี ชี้ให้เห็นว่าการวางแผนจัดทำโครงการที่ไม่คำนึงถึงความต้องการของประชาชน ความคิดเห็นของประชาชนหรือของชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใในโครงการของรัฐ เมื่อโครงการเกิดขึ้นประชาชนจึงได้รับรู้ถึงผลกระทบและมัสร้างความสับสน และความไม่เข้าใจรวมทั้งไม่พอใจ ไม่สนับสนุนโครงการและนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างภาคประชาชกับภาครัฐ หรือภาคเอกชนผู้รับผิดชอบโครงการ
กระบวนการนโยบายสาธารณะจากการมีส่วนร่วม Participatory Public Policy Process
รูปแบบแรก คือ กระบวนการนโยลายสาธารณะที่กำหนดขึ้นจากแกนนำที่เป็นตัวแทนประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายแทนภาคประชาชน
รูปแบบสองคือกระบวนการนโยบานสาธารณะจำกภาคประชาชนที่รวมตัวกันในรูปของประชาคมร่วมกำหนดปัญหา ประเด็นนโยบายที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง ๆ ในสังคมวัฒนธรรมของแต่ละชุมชนเนื่องมาจากกระบวนการนโยบายจากแกนนำภาครัฐไม่สามารถตอบสนองการแก้ปัญหาเหล่านั้นได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมเป็นกระบวงนการกำหนดนโยบายจากรากแก้วจากความรู้และกระบวนการเรียนรู้ในภาคปฏิบัติ
วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
Vinaya
เมื่อกล่าวถึงผู้หญิงหรือสตรีนั้นเมื่อจะทำ หรือกระทำสิ่งใดๆ อย่างที่บุรุษกระทำและปฏิบัตินั้น ย่อมมีพิธี กฎระเบียบที่เคร่งครัดและ รัดกุม มากกว่า บุรุษ จะด้วยเหตุผลกลใดก็แล้วแต่ การที่จะให้ผู้หญิงหรือสตรีเพศกระทำและปฏิบัติได้เฉกเช่นชายนั้น กระบวนการและวิธีการจำต้องมีวิธีการที่มากกว่าและยุ่งยากกว่าชาย
เมืืือครั้งสตรีขอบวชในบวรพุทธศาสนานั้น พระสัมมาสัมพุทธในครั้งแรกทรงไม่อนุญาค แม้จะปลงผมห่มผ้าไตร พระพุทธองค์ก้ไม่ทรงอนุญาต
กระทั้งพระอานนท์เห็นเหตุการณ์ดังกล่าวและไถ่ถามเมืองทราบเหตุการณ์ตั้งแต่ต้นจึงเข้าเฝ้าพระศาสดา ทูลขอให้ผู้หญิงบวชในพระธรรมวินัยหลายครั้ง หลายหน พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงอนุญาติจนในที่สุดพระอานนท์จึงทูลถามว่า
พระอานนท์: พระองค์ผู้เจริญ ผู้หญิงถ้าได้บวชในพระธรรมวินัยแล้ว ควรจะทำมรรคผลให้แจ้งได้หรือไม่?
พระสัมมาสัมพุทธะ: ควร อานนท์
พระอานนท์ : ถ้าควร พระนางมหาปชาบดีโครมีซึ่งเป็นน้านางของพระองค์ มีอุปการะมาก เมื่อพระชนนีของพระองค์สวรรคตแล้ว ได้เป็นผู้เลี้ยงและถวายนมมา ของผู้หญิงพึงได้บวชในพระธรรมวินัยนี้เถิด
พระสัมมาสัมพทธ : หากยอมรับครุธรรม 8 ประการ ข้อนั้นจงเป็นอุปสัมปทาของนางเถิด
พระศาสดา : อานนท์ ถ้าผู้หญิงจักไม่ได้บวชในพระธรรมวินัยนี้แล้ว พรหมจรรย์จักตั้งอยู่ได้นาน เพราะผู้หญิงได้บวชแล้ว พรหมจรรย์จักไม่ตั้งอยู่นาน เหมือนตระกูลอันใดอันหนึ่งที่มีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ตระกูลน้นโจรกำจัดได้ง่าย อีกย่างอหนึ่งเหมือนขยอก (หนอนชนิดหนึงกินต้นข้าว)ที่ลงในนาข้าวสาลีที่บริบูรณ์ แฃะเพลี้ยที่ลงในไรอ้อย ทำให้ข้เาวสาลีในนาแฃอ้อยในไร่เสียไปไม่ตั้งอยู่นานได้ เราบัญญัติครุธรรม 8 ประการนี้ ไม่ให้ภิกษุณีก้าวล่วงตลอดชีวิต เหมือนดังบุรุษกั้นทำนบแห่งสระกั้นนั้ำไม่ให้ไหลออกฉันนั้น
ครุธรรม 8 ประการ
ภิกษุณีแม้บวชนานกว่า จะต้องกราบไหว้ ทำสามีจิกกรรมแม้ภิกษุผู้บวชในวันนั้น
ภิกษุณีอย่าพึงอยู่จำพรรษาในอาวาสที่ไม่มีภิกษุ
ภิกษุณีต้องหวังธรรม 2 ประการ ถามวันอุโบสถ (วันพระ) และ สอง เข้าไปฟังคำสังสอนของภิกษุทุกกึ่ง
เดือน
ภิกษณีอยู่พรรษาแล้วต้องปาวรณาด้วยสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีเมือต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัติในสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีต้องแสดงอุปสัมปทาในสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีอย่าพึงด่า อย่งพึงเพิดเพ้ยต่องภิกษุด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปห้ามภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุให้ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีฝ่ายเดียว
จะเห็นว่าเป็นกรรมที่หนักหนาสาหัสมากสำหรับผู้หญิงที่จะเข้ามาบวชในพุทธศาสนา และแม้บวชแล้วศีลต่างๆ ของภิกษุณีนั้นไม่ใช่เรีือ่งง่ายๆ เลยที่เดียว ศีลภิกษุณีมีมากกว่าของภิกษุ คือ ถือศีลในฝ่ายภิกษุด้วย คือ 227 ข้อ และถือของฝ่ายภิกษุณีรวมเป็น 311 ข้อ
ตัวอย่างศีลฝ่ายภิกษุณี ที่เป็นศึลที่ทำใ้ห้ขาดจากความเป็นภิกษุณีหาทำการล่วงละเมิด อาทิ ห้ามภิกษุณียินดีการจับต้องของชายที่บริเวณใต้รากขวัญ(ไหปลาร้า)ลงมาเหนือเข่าขึ้นไป หากล่วงละเมิดต้องอาบัติปาริก
ห้ามภิกษุณีปกปิดโทษของภิกษุณีผู้ต้องอาบัติปาราชิก....
ห้ามภิกษุณีประพฤติตามภิกษุที่ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม....
ห้ามภิกษุณียินดีกรณี 8 อย่าง เช่น ยินดีการที่ชายจับต้องมือ เป็นต้น หายินดีครบทั้ง 8 กรณี ต้องอาบัติปาราชิก ....
จะเห็นได้จากเหตุการณ์ตั้งแต่การเข้าทูลขอบวชสตรีในพระธรรมวินัยนั้นแล้วใช้ว่าผู้หญิงไม่สามารถบรรลุธรรมอันสูงสุดในพระพุทธศาสนา แต่การบรรลุของสตรีจะต้องอยู่ในกรอบอันเคร่งครัดหากมองตามครุธรรม แปดนั้นคือจะต้องอยู่ในความดูแลของภิกษุ..
นั้นเป็นเรื่องราวเมื่อสมัยพุทธกาลขยับเข้าใกล้หน่อยในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นความเป็นหวงเป็นใยในสตรีเพศโดยการอบรมสั่งสอนโดยบุรุษมีให้เห็นอาทิสุภาษิตสอนหญิง ซึ่งจะมองเป็นในด้านประเพณีวัฒนธรรม หรือระบบจารีต ก็แล้วแต่ ล้วนเป็นกฎเกณฑ์ที่จะต้องระมัดระวังรวมถึงปฎิบัติตาม ตัวอย่าง
ขอเจริญเรื่องตำรับฉบับสอน ชาวประชาราษฎรสิ้นทั้งหลาย
อันความชั่วอย่าให้มัวมีระคาย จะสืบสายสุริยวงศ์เป็นมงคล
ผู้ใดเกิดเป็นสตรีอันมีศักติ์ บำรุงกายไว้ให้เป็นผล
สงวนงามตารระบอบให้ชอบกล จึงจะพ้นภัยพาลการนินทา
เป็นสาวแซ่แร่รวยสวยสะอาด ก็หมายมาดเหมือนมณีอันมีค่า
แม้นแตกร้าวรานร่อยถอยราคา จะพลอยพาหอมหายจากกายนาง
อันตัวตำ่แล้วอย่าาทำให้กายสูง ดูเยี่ยงยูงแววยังมีที่หวงหาง
ค่อยเสงี่ยมเจียมใจจะไว้วาง ให้ต้องอย่างกริยาเป็นนารี
จะนุ่งห่มดูพอสมศักดิ์สงวน ให้สมควรรับพักตร์ตามศักดิ์ศรี
จะผัดหน้าทาแป้งแต่างอินทรีย์ ดูฉวีผิวเนื้ออย่าเหลือเกิน
จะเก็บไรไว้ผมให้สมพักตร์ บำรุงศักดิ์ตามศรีมิให้เขิน
เป็นสภาพราบเรียบแลเจริญ คงมีผู้สรรเสริญอนงค์ทรง
ใครเห็นน้องต้องนิยมชมไม่ขาด ว่าฉลาดแต่งร่างเหมือนอย่างหงส์
ถึงรูปงามทรามสงวนนวลอนงค์ ไม่รู้จักแต่งองค์ก็เสียงาม.....
อันที่จริงหญิงชายย่อมหมายรัก มิใช่จักตัดทางที่สร้างสม
แม้จักรักรักไว้ในอารมณ์ อย่ารักชมนอกหน้าเป็นราคี
ดังพฤกษาต้องวายุพัดโบก เขยื้อนโยกก็แต่กิ่งไม่ทิ้งที่
จงยับยั้งช่างใจเสียให้ดี เหมือนจามรีรู้จักรักษากาย
อันตัวนางเปรียบอย่างปทุเมส พึงประเวศผุดพ้นชลสาย
หมอผกาเกศรขจรขจาย มิได้วายภุมรินถวิลปอง
ครั้นได้ชมสมจิตพิศวาส ก็นิราศแรมจรัลผันผยอง
ไม่อยู่เฝ้าเคล้รสเที่ยวจดลอง ดูทำนาองใจชายก็คล้ายกัน
แม้นชายใดหมายประสงค์มาหลงรัก ให้รู้จักเชิงชายที่หมายมั่น
อันความรักของชายนี้หลายชั้น เขาว่ารักรักนั้นประการใด
จงพินิจพิศดูให้รู้แน่ อย่าทำแต่ใจเร็วจะเหลวไหล
เปรียบเหมือนคิดปริศนาอย่าไว้ใจ มันมักไพล่แพลงขุมเป็นหลุมพราง
อันแม่สื่ออย่าได้ถือเป็นพรรทัด สารพัดเขาจะพูดนี้สุดอย่าง
แต่ล้วนดีมีบุญลูกขุนนาง มาอวดอ้างให้อนงค์หลงอาลัย
................
เป็นสตรีสุดีแต่เพียงผัว จะดีชั่วก็ยังกำลังสาว
ลงจนสองสามจือไม่ยือยาว จะกลับหลังอย่างสาวสิเต็มตรอง
ถ้าคนดีมิได้ช้ำระยำยับ ถึงขัดสนจนทรัพย์ไม่เศร้าหมอง
คงมีผู้ชูช่วยประคับประคอง เปรียบเหมือนทองธรรดาราคามี
ถ้าแม้นตัวชั่วช้ำระยำแล้ว จะปัดแผ้วถางฝืนไม่คืนที่
เหมือนทองแดงแฝงเฝ้าเป็นราคี ยากจะมีผู้ประสค์จำนงใน
จงรักตัวอยาให้มัวราคีหมอง ถือทำนองแบบโบราณ ท่านขานไข
อย่าเอาผิดมาเป็นชอบประกอบใจ จงอยู่ในโอวาทญาติวงศ์
........................
จงรักนวลสงวนนามห้ามใจไว้ อย่าหลงไหลจำคำที่ร่ำสอน
คิดถึงหน้าบิดาและมารดร อย่ารีบร้อนเร็วนักมักไม่ดี
เมื่อสุกงอมหอมหวานจึงควรหล่น อยู่กับต้นอย่าให้พรากไปจากที่
อย่าชิงสุกก่อนห่มไม่งามดี เมื่อบุญมีคงจะมาอย่าปรารมภ์
อย่าคิดเลยถูเชยคงหาได้ อุตส่าห์ทำลำไพ่เก็บประสม
อย่าเกียจคร้านงานสตรีจงนิยม จะอุดมสินทรัพย์ไม่อับจน.....
เมืืือครั้งสตรีขอบวชในบวรพุทธศาสนานั้น พระสัมมาสัมพุทธในครั้งแรกทรงไม่อนุญาค แม้จะปลงผมห่มผ้าไตร พระพุทธองค์ก้ไม่ทรงอนุญาต
กระทั้งพระอานนท์เห็นเหตุการณ์ดังกล่าวและไถ่ถามเมืองทราบเหตุการณ์ตั้งแต่ต้นจึงเข้าเฝ้าพระศาสดา ทูลขอให้ผู้หญิงบวชในพระธรรมวินัยหลายครั้ง หลายหน พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงอนุญาติจนในที่สุดพระอานนท์จึงทูลถามว่า
พระอานนท์: พระองค์ผู้เจริญ ผู้หญิงถ้าได้บวชในพระธรรมวินัยแล้ว ควรจะทำมรรคผลให้แจ้งได้หรือไม่?
พระสัมมาสัมพุทธะ: ควร อานนท์
พระอานนท์ : ถ้าควร พระนางมหาปชาบดีโครมีซึ่งเป็นน้านางของพระองค์ มีอุปการะมาก เมื่อพระชนนีของพระองค์สวรรคตแล้ว ได้เป็นผู้เลี้ยงและถวายนมมา ของผู้หญิงพึงได้บวชในพระธรรมวินัยนี้เถิด
พระสัมมาสัมพทธ : หากยอมรับครุธรรม 8 ประการ ข้อนั้นจงเป็นอุปสัมปทาของนางเถิด
พระศาสดา : อานนท์ ถ้าผู้หญิงจักไม่ได้บวชในพระธรรมวินัยนี้แล้ว พรหมจรรย์จักตั้งอยู่ได้นาน เพราะผู้หญิงได้บวชแล้ว พรหมจรรย์จักไม่ตั้งอยู่นาน เหมือนตระกูลอันใดอันหนึ่งที่มีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ตระกูลน้นโจรกำจัดได้ง่าย อีกย่างอหนึ่งเหมือนขยอก (หนอนชนิดหนึงกินต้นข้าว)ที่ลงในนาข้าวสาลีที่บริบูรณ์ แฃะเพลี้ยที่ลงในไรอ้อย ทำให้ข้เาวสาลีในนาแฃอ้อยในไร่เสียไปไม่ตั้งอยู่นานได้ เราบัญญัติครุธรรม 8 ประการนี้ ไม่ให้ภิกษุณีก้าวล่วงตลอดชีวิต เหมือนดังบุรุษกั้นทำนบแห่งสระกั้นนั้ำไม่ให้ไหลออกฉันนั้น
ครุธรรม 8 ประการ
ภิกษุณีแม้บวชนานกว่า จะต้องกราบไหว้ ทำสามีจิกกรรมแม้ภิกษุผู้บวชในวันนั้น
ภิกษุณีอย่าพึงอยู่จำพรรษาในอาวาสที่ไม่มีภิกษุ
ภิกษุณีต้องหวังธรรม 2 ประการ ถามวันอุโบสถ (วันพระ) และ สอง เข้าไปฟังคำสังสอนของภิกษุทุกกึ่ง
เดือน
ภิกษณีอยู่พรรษาแล้วต้องปาวรณาด้วยสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีเมือต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัติในสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีต้องแสดงอุปสัมปทาในสงฆ์ทั้งสองฝ่าย
ภิกษุณีอย่าพึงด่า อย่งพึงเพิดเพ้ยต่องภิกษุด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปห้ามภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุให้ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีฝ่ายเดียว
จะเห็นว่าเป็นกรรมที่หนักหนาสาหัสมากสำหรับผู้หญิงที่จะเข้ามาบวชในพุทธศาสนา และแม้บวชแล้วศีลต่างๆ ของภิกษุณีนั้นไม่ใช่เรีือ่งง่ายๆ เลยที่เดียว ศีลภิกษุณีมีมากกว่าของภิกษุ คือ ถือศีลในฝ่ายภิกษุด้วย คือ 227 ข้อ และถือของฝ่ายภิกษุณีรวมเป็น 311 ข้อ
ตัวอย่างศีลฝ่ายภิกษุณี ที่เป็นศึลที่ทำใ้ห้ขาดจากความเป็นภิกษุณีหาทำการล่วงละเมิด อาทิ ห้ามภิกษุณียินดีการจับต้องของชายที่บริเวณใต้รากขวัญ(ไหปลาร้า)ลงมาเหนือเข่าขึ้นไป หากล่วงละเมิดต้องอาบัติปาริก
ห้ามภิกษุณีปกปิดโทษของภิกษุณีผู้ต้องอาบัติปาราชิก....
ห้ามภิกษุณีประพฤติตามภิกษุที่ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม....
ห้ามภิกษุณียินดีกรณี 8 อย่าง เช่น ยินดีการที่ชายจับต้องมือ เป็นต้น หายินดีครบทั้ง 8 กรณี ต้องอาบัติปาราชิก ....
จะเห็นได้จากเหตุการณ์ตั้งแต่การเข้าทูลขอบวชสตรีในพระธรรมวินัยนั้นแล้วใช้ว่าผู้หญิงไม่สามารถบรรลุธรรมอันสูงสุดในพระพุทธศาสนา แต่การบรรลุของสตรีจะต้องอยู่ในกรอบอันเคร่งครัดหากมองตามครุธรรม แปดนั้นคือจะต้องอยู่ในความดูแลของภิกษุ..
นั้นเป็นเรื่องราวเมื่อสมัยพุทธกาลขยับเข้าใกล้หน่อยในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นความเป็นหวงเป็นใยในสตรีเพศโดยการอบรมสั่งสอนโดยบุรุษมีให้เห็นอาทิสุภาษิตสอนหญิง ซึ่งจะมองเป็นในด้านประเพณีวัฒนธรรม หรือระบบจารีต ก็แล้วแต่ ล้วนเป็นกฎเกณฑ์ที่จะต้องระมัดระวังรวมถึงปฎิบัติตาม ตัวอย่าง
ขอเจริญเรื่องตำรับฉบับสอน ชาวประชาราษฎรสิ้นทั้งหลาย
อันความชั่วอย่าให้มัวมีระคาย จะสืบสายสุริยวงศ์เป็นมงคล
ผู้ใดเกิดเป็นสตรีอันมีศักติ์ บำรุงกายไว้ให้เป็นผล
สงวนงามตารระบอบให้ชอบกล จึงจะพ้นภัยพาลการนินทา
เป็นสาวแซ่แร่รวยสวยสะอาด ก็หมายมาดเหมือนมณีอันมีค่า
แม้นแตกร้าวรานร่อยถอยราคา จะพลอยพาหอมหายจากกายนาง
อันตัวตำ่แล้วอย่าาทำให้กายสูง ดูเยี่ยงยูงแววยังมีที่หวงหาง
ค่อยเสงี่ยมเจียมใจจะไว้วาง ให้ต้องอย่างกริยาเป็นนารี
จะนุ่งห่มดูพอสมศักดิ์สงวน ให้สมควรรับพักตร์ตามศักดิ์ศรี
จะผัดหน้าทาแป้งแต่างอินทรีย์ ดูฉวีผิวเนื้ออย่าเหลือเกิน
จะเก็บไรไว้ผมให้สมพักตร์ บำรุงศักดิ์ตามศรีมิให้เขิน
เป็นสภาพราบเรียบแลเจริญ คงมีผู้สรรเสริญอนงค์ทรง
ใครเห็นน้องต้องนิยมชมไม่ขาด ว่าฉลาดแต่งร่างเหมือนอย่างหงส์
ถึงรูปงามทรามสงวนนวลอนงค์ ไม่รู้จักแต่งองค์ก็เสียงาม.....
อันที่จริงหญิงชายย่อมหมายรัก มิใช่จักตัดทางที่สร้างสม
แม้จักรักรักไว้ในอารมณ์ อย่ารักชมนอกหน้าเป็นราคี
ดังพฤกษาต้องวายุพัดโบก เขยื้อนโยกก็แต่กิ่งไม่ทิ้งที่
จงยับยั้งช่างใจเสียให้ดี เหมือนจามรีรู้จักรักษากาย
อันตัวนางเปรียบอย่างปทุเมส พึงประเวศผุดพ้นชลสาย
หมอผกาเกศรขจรขจาย มิได้วายภุมรินถวิลปอง
ครั้นได้ชมสมจิตพิศวาส ก็นิราศแรมจรัลผันผยอง
ไม่อยู่เฝ้าเคล้รสเที่ยวจดลอง ดูทำนาองใจชายก็คล้ายกัน
แม้นชายใดหมายประสงค์มาหลงรัก ให้รู้จักเชิงชายที่หมายมั่น
อันความรักของชายนี้หลายชั้น เขาว่ารักรักนั้นประการใด
จงพินิจพิศดูให้รู้แน่ อย่าทำแต่ใจเร็วจะเหลวไหล
เปรียบเหมือนคิดปริศนาอย่าไว้ใจ มันมักไพล่แพลงขุมเป็นหลุมพราง
อันแม่สื่ออย่าได้ถือเป็นพรรทัด สารพัดเขาจะพูดนี้สุดอย่าง
แต่ล้วนดีมีบุญลูกขุนนาง มาอวดอ้างให้อนงค์หลงอาลัย
................
เป็นสตรีสุดีแต่เพียงผัว จะดีชั่วก็ยังกำลังสาว
ลงจนสองสามจือไม่ยือยาว จะกลับหลังอย่างสาวสิเต็มตรอง
ถ้าคนดีมิได้ช้ำระยำยับ ถึงขัดสนจนทรัพย์ไม่เศร้าหมอง
คงมีผู้ชูช่วยประคับประคอง เปรียบเหมือนทองธรรดาราคามี
ถ้าแม้นตัวชั่วช้ำระยำแล้ว จะปัดแผ้วถางฝืนไม่คืนที่
เหมือนทองแดงแฝงเฝ้าเป็นราคี ยากจะมีผู้ประสค์จำนงใน
จงรักตัวอยาให้มัวราคีหมอง ถือทำนองแบบโบราณ ท่านขานไข
อย่าเอาผิดมาเป็นชอบประกอบใจ จงอยู่ในโอวาทญาติวงศ์
........................
จงรักนวลสงวนนามห้ามใจไว้ อย่าหลงไหลจำคำที่ร่ำสอน
คิดถึงหน้าบิดาและมารดร อย่ารีบร้อนเร็วนักมักไม่ดี
เมื่อสุกงอมหอมหวานจึงควรหล่น อยู่กับต้นอย่าให้พรากไปจากที่
อย่าชิงสุกก่อนห่มไม่งามดี เมื่อบุญมีคงจะมาอย่าปรารมภ์
อย่าคิดเลยถูเชยคงหาได้ อุตส่าห์ทำลำไพ่เก็บประสม
อย่าเกียจคร้านงานสตรีจงนิยม จะอุดมสินทรัพย์ไม่อับจน.....
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
Structural-Functional Approach
แนวการวิเคราะห์โครงสร้าง-หน้าที่
เป็นการวิเคราะห์ระบบโดยอาศัยกิจกรรมหน้าที่และระบบเป็นเกณฑ์ โดยสนใจปัญหาที่ว่า โครงสร้างใด ทำหน้าที่อะไร และภายใต้อะไรในระบบหนึ่งๆ กล่าวคือ เป็นการอธิบายและทำนายความจริงในสังคม จากการศึกษาโครงสร้างหน้าที่ขบวนการและกลไกในสังคมนั้นๆ โดยจุดหมายหลักคือการค้นหากฎเกณฑ์ของหน้าที่ทางสังคม โดยเฉพาะในแง่ที่ว่า โครงสร้างรูปธรรมทั้งหลายในสังคมปฏิบัิติหน้าที่อย่างไร รูปแบบของโครงสร้างต่างๆ บำรุงรักษาให้คงอยู่ได้อย่างไร โครงสร้างและหน้าที่ในหน่วยต่างๆ ช่วยบำรุงรักษาระบบอย่างไร โดยมีสมมติฐานมีดังนี้คือ
- พิจารณาว่าสังคมเป็นส่วนเดียว
- พิจารณาว่าสังคมมีส่วนประกอบหลายหน่วย
- ในสังคมย่อยมีเป้าหมายกว้างๆ และสมาชิกในสังคมยอมรับว่าเป็นสิ่งที่พึงประสงค์
แนววิเคาะห์แบบโครงสร้างหน้าที่สะท้อนให้เห็นลักษณะกิจกรรมทางการเมืองทั้งระบบว่ามีโครงสร้างและหน้าที่อย่างไร และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ทั้งนี้ผู้ที่ทำการศึกษาอาจเน้นตามแนววิเคราะห์นี้ที่มีนักทฤษฎีมากมายได้ทำการศึกษา ซึ่งผู้ศึกษาอาจให้ความสำคัญแตกต่างกัน
งานเขียนที่มีอิทธิพลต่อนักรัฐศาสตร์โดยเฉพาะ สาขาการเมืองเปรีียบเทียบ คือ ผลงานของแกเบียล อัลมอนด์ เนื่องจากพื้อฐานการมองระบบการเมืองโดยพิจารณาโครงสร้าง หน้าที่ประกอบกันไปและนำเอาวัฒนธรรมทางการเมืองมาเกี่ยวข้องรวมอยู่ด้วย ทำให้สามาถเปรรยบเทียบการเมืองหนึ่ง ๆ กับการเมืองอื่นๆ ได้อย่างเห็นข้องแตกต่าง โดยอาศัยกรอบการวิเคราะห์เดียวกัน
การวิเคราะห์หน้าที่ของระบบการเมืองนี้ก็เป็นวิธีการศึกษาโดยอาศัยกจิกรรมหน้าทที่ของระบบเป็นเกำณฑ์ ระบบการเมืองแต่ละระบบจะประกอบด้วย หน้าที่ ของระบบการเมืองระบบการเทืองทุกระบบมีหน้าที่อะไรบ้างที่ต้องทำและแจกแจงว่ามีหน้าที่ใดเป็ฯหน้าที่ท้างด้าน input และปัจจัยใดเป็ฯปัจจัยทางด้าน output เท่ากับเป็นการเน้นว่าหน้าที่ต่าง เป็ฯหน้าท่ีซึ่งระบบการเมืองจะต้องกระทำ แต่โครงสร้างใดสถาบันใดจะเป็นผู้กระทำหน้าที่นั้น ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่แตกต่างกันไปในแต่ละสังคม คือ หน้าที่เป็นตัวยืน ส่วนโครงสร้างนั้นเป็นตัวแปรผันไปตามลักาณะของแต่ละสังคม โครงสร้างที่กระทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใดอาจแตกต่างไปจากสังคมอื่นก็ได้ โดยมิได้แสดงว่าระบบสังคมหรือระบบการเมืองของสังคมนั้นมีข้อด้อยในตัวของมันเองแต่อยางใด
หน้าที่ในการนำเข้าสู่ระบบการเมือง input ได้แก่
- การกล่อมเกลาและเลือกสรรทางการเมือง
- การเรียกร้องผลประโยชน์
- การรวบรวมจัดระบบผลประโยชน์
- การสื่อสารทางการเมือง
หน้าที่ในการนำออกจากระบบการเมือง
- การสร้างกฏระเบียบ
- การนำกฏระเบียบไปใ้ช้
- การตีความ /ตัดสินใจความในกรณีต่าง ๆ
ความสามารถของระบบ
- ความสามารถในการ ควบคุมสมาชิกในสังคม
- ความสามารถในการดึงทรัพยากรมาใช้
- ความสามารถในกาตจัดสรรทรัพยากร หรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม
- ความสามารถในการสร้างผลผลิตเชิงสัญลักษณ์
- ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของระบบ
หน้าที่ในการนำเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง (input)
1 การกล่อมเกลาหรือการให้การเรียนรู้ทางการเมืองและการสรรหาคนเข้าระบบ คือการที่สภาบันต่อง ๆ ของสังคม ร่วมกันปลูกอบรมสั่งสอนให้สมาชิกของชุมชนการเมืองมีค่านิยม ทัศนคติ ความจงรักภักดีต่อระบบสังคม การเมือง และเศรษฐกิจที่ตนเป็ฯสมาชิกอยู่ ซึ่งกระบวนการนี้เป็นหลักประกันที่สำคัญที่จะให้สมาชิกของชุมชนการเมืองมีความจงรักภักดี มีความรู้สึกนึกคิดใกล้เคียงกัน ทั้งนี้เืพ่อให้สังคมและระบบการเมืองนั้นมีความาั่นคง มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาและความขัดแย้งหรือความระสำ่ระสาย ซึ่งอาจถึงขั้นทำลายระบบการเมืองทั้งหมด
- กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองมี 3 ขั้นตอน
การให้การเรียนรู้ที่เจตนาให้สมาชิกชุมชนได้เข้าใจว่าตนเป็นใคร
การให้เรียนรู้ที่มุ่งจะสร้างความรู้ึสึกผูกพันทางอารมณ์ต่อวัตถุทางการเมือง เช่น ผูกพันต่อธงชาติฯ
การประเมินและการมีพฤติกรรม เช่น เมื่อเกิดสึกสงครามก็อาสาเข้าเป็นทหารฯ
- กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง คือระบบราชการนั้นยึดหลักใหญ่ๆ คือ
หลักความสามรถ และ หลักชาติกำเนิด ซึ่งมีความสัมพันกันที่ว่า แม้จะมีความสามารถแค่ไหน แต่จะต้องเข้าระบบได้ ซึ่งระบบส่วนใหญ่ต้องการรับคนที่มีค่านิยม แนวคิดความภักดีแบบที่ระบบตอ้งการ
2 การแสดงออกซึ่งผลประโยชน์หรือการเรียกร้องผลประโยชน์ คือ การแสดงออกต่อระบบการเมืองว่า ต้องการให้ระบบการเมืองตอบสนอง เช่น การยื่นคำร้องทุกข์ การเรียกร้องผ่านสื่อ การเรียกร้องโดยการแสดงออกในทางลบ เช่น การประท้วง ในทุกระบบการเมืองจะต้องมีการแสดงออกซึ่งผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดรูแบบหนึ่งก็ตาม แต่ในสังคมที่เจริญแล้ว การแสดงออกมักจะออกมาในรูปการจับกลุ่ม หรือที่เรียกว่า "กลุ่มผลประโยชน์"
กลุ่มผลประโยชน์นั้นถ้ามองในแง่โครงสร้างจะมี 4 กลุ่มคือ
-กลุ่มผลประโยชน์ในสถาบัน
- กลุ่มผลประโยชน์ที่ไม่ได้อยู่ในรูปสมาคม
- กลุ่มผลประโยชน์ที่รวมตัวกันชั่วคราว
- กลุ่มผลประโยชน์ที่ตั้งเป็นสมาคม
3 การรวบรวมผลประโยชน์ ได้แก่การที่นำเอาการเรียกร้องประเด็นที่ชัดเจนนำมาเป็นนโยบายเพื่อเพิ่มน้ำหนักในการเรียกร้อง กลุ่มที่ทำหน้ารวบรวมผลประโยชน์ทีเห็นได้ชัด คือ พรรคการเมือง
การผนวกการเรียกร้อง ในมุมหนึ่งเท่ากับทำหน้าที่รักษาประตู (gate keeper) เพื่อไม่ให้การข้ามจจากนอกระบบการเมืองไปสู่ระบบการเมืองตามแนวทางระบบมีมากเกินกว่าเหตุ
4 การสื่อสารทางการเมือง ในระบบการเมืองหรือในแนวทางระบบนั้น ข้อมูลย้อมกลับก็มาจากการสื่อสารซึ่งแบบแนวโครงสร้างปน้าที่ก็จำเป็นต้องมีข้อมูลย้อนกลับเช่นเดียวกัน การสื่อสารในแนวทางโครงสร้างหน้าที่คือการแสดงหน้าที่คือการแสดงออกซึ่งผลประโยชน์ หรือการเรียกร้องผลประโยชน์ วิธีการสื่อสารทางการเมือง
- การสื่อสารโดยผ่านสภาบันทางการเมือง เช่น ระบบราชการ
- การสือสารโดยผ่านสื่อสารมวลชน
- การสื่อสารโดยผ่านกลุ่มผลประโยชน์หรือพรรคกการเมือง
- การสื่อสารโดยการเรียกร้องโดยตรง
- การเรียกร้องโดยสัญลักษณ์ เช่น การประท้วง
การสื่อสารทางการเมืองมีผลโดยตรงต่อประสิทธภาพของการปฏิบัตินโยบายของระบบการเมืองเพราะการเมืองที่มีข่าวสารข้อมูลจากการสื่อสารครบถ้วย การแก้ปัญหาหรือการตอบสนองต่อการเมืองขาดตกบกพร่องหรือได้รับข่าวสารที่บิดเบื่อน จะทำให้เกิดนโยบายที่ผิดพลาด ซึ่งมีผลทำให้ระบบสามารถตอบสนองความต้องการหรือการเรียกร้องผลประโยชน์สำฤทธิ์ผลไ้ด้
เป็นการวิเคราะห์ระบบโดยอาศัยกิจกรรมหน้าที่และระบบเป็นเกณฑ์ โดยสนใจปัญหาที่ว่า โครงสร้างใด ทำหน้าที่อะไร และภายใต้อะไรในระบบหนึ่งๆ กล่าวคือ เป็นการอธิบายและทำนายความจริงในสังคม จากการศึกษาโครงสร้างหน้าที่ขบวนการและกลไกในสังคมนั้นๆ โดยจุดหมายหลักคือการค้นหากฎเกณฑ์ของหน้าที่ทางสังคม โดยเฉพาะในแง่ที่ว่า โครงสร้างรูปธรรมทั้งหลายในสังคมปฏิบัิติหน้าที่อย่างไร รูปแบบของโครงสร้างต่างๆ บำรุงรักษาให้คงอยู่ได้อย่างไร โครงสร้างและหน้าที่ในหน่วยต่างๆ ช่วยบำรุงรักษาระบบอย่างไร โดยมีสมมติฐานมีดังนี้คือ
- พิจารณาว่าสังคมเป็นส่วนเดียว
- พิจารณาว่าสังคมมีส่วนประกอบหลายหน่วย
- ในสังคมย่อยมีเป้าหมายกว้างๆ และสมาชิกในสังคมยอมรับว่าเป็นสิ่งที่พึงประสงค์
แนววิเคาะห์แบบโครงสร้างหน้าที่สะท้อนให้เห็นลักษณะกิจกรรมทางการเมืองทั้งระบบว่ามีโครงสร้างและหน้าที่อย่างไร และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ทั้งนี้ผู้ที่ทำการศึกษาอาจเน้นตามแนววิเคราะห์นี้ที่มีนักทฤษฎีมากมายได้ทำการศึกษา ซึ่งผู้ศึกษาอาจให้ความสำคัญแตกต่างกัน
งานเขียนที่มีอิทธิพลต่อนักรัฐศาสตร์โดยเฉพาะ สาขาการเมืองเปรีียบเทียบ คือ ผลงานของแกเบียล อัลมอนด์ เนื่องจากพื้อฐานการมองระบบการเมืองโดยพิจารณาโครงสร้าง หน้าที่ประกอบกันไปและนำเอาวัฒนธรรมทางการเมืองมาเกี่ยวข้องรวมอยู่ด้วย ทำให้สามาถเปรรยบเทียบการเมืองหนึ่ง ๆ กับการเมืองอื่นๆ ได้อย่างเห็นข้องแตกต่าง โดยอาศัยกรอบการวิเคราะห์เดียวกัน
การวิเคราะห์หน้าที่ของระบบการเมืองนี้ก็เป็นวิธีการศึกษาโดยอาศัยกจิกรรมหน้าทที่ของระบบเป็นเกำณฑ์ ระบบการเมืองแต่ละระบบจะประกอบด้วย หน้าที่ ของระบบการเมืองระบบการเทืองทุกระบบมีหน้าที่อะไรบ้างที่ต้องทำและแจกแจงว่ามีหน้าที่ใดเป็ฯหน้าที่ท้างด้าน input และปัจจัยใดเป็ฯปัจจัยทางด้าน output เท่ากับเป็นการเน้นว่าหน้าที่ต่าง เป็ฯหน้าท่ีซึ่งระบบการเมืองจะต้องกระทำ แต่โครงสร้างใดสถาบันใดจะเป็นผู้กระทำหน้าที่นั้น ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่แตกต่างกันไปในแต่ละสังคม คือ หน้าที่เป็นตัวยืน ส่วนโครงสร้างนั้นเป็นตัวแปรผันไปตามลักาณะของแต่ละสังคม โครงสร้างที่กระทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใดอาจแตกต่างไปจากสังคมอื่นก็ได้ โดยมิได้แสดงว่าระบบสังคมหรือระบบการเมืองของสังคมนั้นมีข้อด้อยในตัวของมันเองแต่อยางใด
หน้าที่ในการนำเข้าสู่ระบบการเมือง input ได้แก่
- การกล่อมเกลาและเลือกสรรทางการเมือง
- การเรียกร้องผลประโยชน์
- การรวบรวมจัดระบบผลประโยชน์
- การสื่อสารทางการเมือง
หน้าที่ในการนำออกจากระบบการเมือง
- การสร้างกฏระเบียบ
- การนำกฏระเบียบไปใ้ช้
- การตีความ /ตัดสินใจความในกรณีต่าง ๆ
ความสามารถของระบบ
- ความสามารถในการ ควบคุมสมาชิกในสังคม
- ความสามารถในการดึงทรัพยากรมาใช้
- ความสามารถในกาตจัดสรรทรัพยากร หรือสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม
- ความสามารถในการสร้างผลผลิตเชิงสัญลักษณ์
- ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของระบบ
หน้าที่ในการนำเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง (input)
1 การกล่อมเกลาหรือการให้การเรียนรู้ทางการเมืองและการสรรหาคนเข้าระบบ คือการที่สภาบันต่อง ๆ ของสังคม ร่วมกันปลูกอบรมสั่งสอนให้สมาชิกของชุมชนการเมืองมีค่านิยม ทัศนคติ ความจงรักภักดีต่อระบบสังคม การเมือง และเศรษฐกิจที่ตนเป็ฯสมาชิกอยู่ ซึ่งกระบวนการนี้เป็นหลักประกันที่สำคัญที่จะให้สมาชิกของชุมชนการเมืองมีความจงรักภักดี มีความรู้สึกนึกคิดใกล้เคียงกัน ทั้งนี้เืพ่อให้สังคมและระบบการเมืองนั้นมีความาั่นคง มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาและความขัดแย้งหรือความระสำ่ระสาย ซึ่งอาจถึงขั้นทำลายระบบการเมืองทั้งหมด
- กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองมี 3 ขั้นตอน
การให้การเรียนรู้ที่เจตนาให้สมาชิกชุมชนได้เข้าใจว่าตนเป็นใคร
การให้เรียนรู้ที่มุ่งจะสร้างความรู้ึสึกผูกพันทางอารมณ์ต่อวัตถุทางการเมือง เช่น ผูกพันต่อธงชาติฯ
การประเมินและการมีพฤติกรรม เช่น เมื่อเกิดสึกสงครามก็อาสาเข้าเป็นทหารฯ
- กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง คือระบบราชการนั้นยึดหลักใหญ่ๆ คือ
หลักความสามรถ และ หลักชาติกำเนิด ซึ่งมีความสัมพันกันที่ว่า แม้จะมีความสามารถแค่ไหน แต่จะต้องเข้าระบบได้ ซึ่งระบบส่วนใหญ่ต้องการรับคนที่มีค่านิยม แนวคิดความภักดีแบบที่ระบบตอ้งการ
2 การแสดงออกซึ่งผลประโยชน์หรือการเรียกร้องผลประโยชน์ คือ การแสดงออกต่อระบบการเมืองว่า ต้องการให้ระบบการเมืองตอบสนอง เช่น การยื่นคำร้องทุกข์ การเรียกร้องผ่านสื่อ การเรียกร้องโดยการแสดงออกในทางลบ เช่น การประท้วง ในทุกระบบการเมืองจะต้องมีการแสดงออกซึ่งผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดรูแบบหนึ่งก็ตาม แต่ในสังคมที่เจริญแล้ว การแสดงออกมักจะออกมาในรูปการจับกลุ่ม หรือที่เรียกว่า "กลุ่มผลประโยชน์"
กลุ่มผลประโยชน์นั้นถ้ามองในแง่โครงสร้างจะมี 4 กลุ่มคือ
-กลุ่มผลประโยชน์ในสถาบัน
- กลุ่มผลประโยชน์ที่ไม่ได้อยู่ในรูปสมาคม
- กลุ่มผลประโยชน์ที่รวมตัวกันชั่วคราว
- กลุ่มผลประโยชน์ที่ตั้งเป็นสมาคม
3 การรวบรวมผลประโยชน์ ได้แก่การที่นำเอาการเรียกร้องประเด็นที่ชัดเจนนำมาเป็นนโยบายเพื่อเพิ่มน้ำหนักในการเรียกร้อง กลุ่มที่ทำหน้ารวบรวมผลประโยชน์ทีเห็นได้ชัด คือ พรรคการเมือง
การผนวกการเรียกร้อง ในมุมหนึ่งเท่ากับทำหน้าที่รักษาประตู (gate keeper) เพื่อไม่ให้การข้ามจจากนอกระบบการเมืองไปสู่ระบบการเมืองตามแนวทางระบบมีมากเกินกว่าเหตุ
4 การสื่อสารทางการเมือง ในระบบการเมืองหรือในแนวทางระบบนั้น ข้อมูลย้อมกลับก็มาจากการสื่อสารซึ่งแบบแนวโครงสร้างปน้าที่ก็จำเป็นต้องมีข้อมูลย้อนกลับเช่นเดียวกัน การสื่อสารในแนวทางโครงสร้างหน้าที่คือการแสดงหน้าที่คือการแสดงออกซึ่งผลประโยชน์ หรือการเรียกร้องผลประโยชน์ วิธีการสื่อสารทางการเมือง
- การสื่อสารโดยผ่านสภาบันทางการเมือง เช่น ระบบราชการ
- การสือสารโดยผ่านสื่อสารมวลชน
- การสื่อสารโดยผ่านกลุ่มผลประโยชน์หรือพรรคกการเมือง
- การสื่อสารโดยการเรียกร้องโดยตรง
- การเรียกร้องโดยสัญลักษณ์ เช่น การประท้วง
การสื่อสารทางการเมืองมีผลโดยตรงต่อประสิทธภาพของการปฏิบัตินโยบายของระบบการเมืองเพราะการเมืองที่มีข่าวสารข้อมูลจากการสื่อสารครบถ้วย การแก้ปัญหาหรือการตอบสนองต่อการเมืองขาดตกบกพร่องหรือได้รับข่าวสารที่บิดเบื่อน จะทำให้เกิดนโยบายที่ผิดพลาด ซึ่งมีผลทำให้ระบบสามารถตอบสนองความต้องการหรือการเรียกร้องผลประโยชน์สำฤทธิ์ผลไ้ด้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Renewed Trump era ( Again )
ไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้า โดนัลด์ ทรัปม์ จะหลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอีกครั้ง โดยเขาจะเข้าพิธีสาบานตนเืพ่...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...