ในสงครามไม่ว่าเป็นสงครามที่เกิดผลกระทบต่อโลกมากหรือน้อยย่อมมีผู้ที่เป็นวีรบุรุษและผู้ที่เป็นผู้ที่ถูกประนาม หรือหวาดกลัว ต่างๆ นาๆ แล้วแต่ว่าอำนาจการทำลายล้างของสงครามจะมีผลกว้างขว้างและลึกซึ้งเพียงใด ยิ่งผลกระทบมาก ผู้คนย่อมเกลียดชังมาก ยิ่งเป็นผลที่ผลกระทบที่ลึกซึ้งมากเท่าใดผู้คนย่อมเกลียดนานเท่านั้น
ในประวัติศาสตร์มีผู้ที่ได้ชื่อว่าจอมคนแต่ก็ต้องเป็นทรราชในสายตาหลายคน หรือเป็นผู้ที่โหดร้ายผิดมนุษย์ เป็นต้น การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ การเผาทำลายบ้านเมือง การเข่นฆ่าผู้คนเป็นผักปลา แต่ถึงอย่างไร สงครามก็คือสงคราม
ประเด็นที่นักประวัติศาสตร์โจมตีชนเผ่าองโกลในสมัยเจงกิสข่านและลูกหลานอย่างถึงที่สุดคือ การทำลายล้างประชากรในคินแดนศัตรูอย่างโหดเหี้ยม
ในครั้งรวบรวมดินแดนมองโกล การต่อสู้ระหว่างเผ่าบนดินแดนมองโกลเลียเมืองครั้งอดีต เต็มไปด้วยเลือด การเผาทำลาย ซากศพ ความพลัิดพราก และคราบน้ำตา การจะรวบรวมชาวเผ่าต่างๆ ซึ่งมีกว่า ยี่สิบเผ่านั้นเป็นเรื่องอุดมการณ์ และเป้าหมายของบรรพบุรุษ โดยไม่มีใครคิดว่าจะเป็นจริงได้ ไม่เพียงเท่านั้น ไม่เพียงแต่รวบรวมดินแดนในเขตทะเลทรายโกบี และทุ่งหญ้าสเตปป์ไว้ได้เท่านั้น หากแต่ยังทำได้ดีกว่านั้นมากมายนัก… การรวบรวมดินแดนใช้ทั้งการทหารและการทูตหากพิจารณาตามประวัติศาสตร์แล้วคล้ายกับว่า ใช้การทูตร่วมมือกันกับเผ่าพันธมิตร ร่วมกันทำสงครามกับเผ่าต่างๆ ทีมีอยู่นับสิบเผ่ากระทั้งในที่สุดเมือเหลือเพียงไม่กี่เผ่าที่จะยืนหยัดได้...แดนดินถิ่นนี้ย่อมมีได้เพียงหนึ่งเดียวเท่านั้นและก็เป็นแบบฉบับของชนเผ่าที่เมื่อมีชัยชนะเหนือเผ่าใดแล้วย่อมกลืนหรือรวมเผ่าที่แพ้เข้าเป็นเผ่าเดียวกันกับเผ่าที่ชนะ หรือไม่ก็ฆ่าทั้งหมด ซึ่งนำมาสู่การรวมกันหรือผสมผสานระหว่างเผ่า และเมื่อที่สุดแล้วชนชาติในแต่ละชนเผ่าจึงรวมกันเป็นเผ่าชนเดียวในอาณาจักรเดียวกันก่อเกิดเป็นเผ่านักรับผู้มีความชำนาญและเชียวชาญเกรียงไกรและแข็งแกร่งในการสงคราม...มองโกล
วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555
Mongol
ชาวมองโกล
“เอเซียกลาง” ซึ่งเข้าใจว่าเป็นอาณาบริเวณซึ่งเป็นที่ตั้งของ 5 ประเทศที่แตกออกมาจากอดีตสาธารณรัฐเอเซียกลางของสหภาพโซเวตในอดีต ซึ่งนอกจากห้าประเทศดังกล่าวแล้วยังมีดินแดในส่วนที่เป็นอัฟกานิสถาน เปอร์เซียและอาณาจักรเตอร์กิสถานตะวันออกหรือดินแดนส่วนที่เป็นมณฑลตะวันตกของจีนในปัจจุบันด้วย
ผู้คนทีอาศัยอยู่ในอาณาเขตเตอร์กิสถานนี้เป็นชนเผ่าเร่รอ่นชาวเติร์กและชาวตาตาร์ในปัจจุบันซึ่งชาวจีนในสมัยนั้นเรียกว่า ชาวฮวนหรือพวกฮวน-นั้ง คือพวกเร่ร่อนไม่สร้างอาณาจักรเป็นหลักแหล่ง ดำรงชีวติด้วยการเลี้ยงสัตว์
ชาวฮวนในเอเชียกลางมีรากเหง้าจากชาวซินเธียนส์ ซึ่งเป็นเชื่อชาติอารยันเร่ร่อนในดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลจากที่ราบลุ่มแม่น้ำดานูบมาถึงทุ่งหญ้าเสตปป์ในรัสเวียและเอเซียกลาง ต่อมาผสมผสามกับชาวฮวนหรือฮวน-นั้งที่ถูกขับมาจากดินแดนตอนเหนือของจีน ในสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ส่วนหนึ่งเข้ายึดครองอาณาจักรบักเครียและเมือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชเข้ายึดครองเอเชียกลาง ผุ้คนในเอเซียกลางจึงมีบรรพบุรุษที่มีที่มาจากการปสมปสามระหวางซินเธียส์จากยุโรปกับพวกฮวน-นั้งจากตะวันออกซึ่งต่อมาเรียกพวกนี้ว่าอินโด-ซินเธียนส์ หรืออินโด-อารยัน
ตามตำนานเล่าขานกันว่าบรรพบุรุษมองโกลนั้นคือ เจ้าชายหมาป่าสีนำเงิน และได้ครองคู่กับนางกวางสีขาว ซึ่งเอาจป็นการกล่าวเชิงเปรียบเทียบถึงชาติพันธุ์ โดยหมาป่าสีนำเงินนั้นอาจเปรียบคือชาวยุโรปที่อาศัยอยู่ในทุ่งราบสเตปป์ของไซบีเรีย ส่วนนางกวางสีขาวคือ ชาวเอเซียหรือพวกมองโกลลอยด์จึงทำให้เกิดต้นตระกูลมองโกล โดยมีหลักฐานทางชาติพันธ์ยืนยันว่าชาวมองโกลต่างจากชาวจีน..และเกาหลีตรงที่พวกเขามีผมสีโทนอ่อนเช่นนำตาลหรือแดง นัยน์ตาเป็นสีน้ำตาบอ่อนไปจนถึงสีเทา สีเขียน แม้แต่สีน้ำเงิน
ชนเผ่ามองโกล ในคริสตศตวรรษที่ 11 ยังเป็นเพียงเผ่าเล็กๆ มีประชากรไม่กี่หมือนคน ซึ่งส่วนมากอาศัยอยู่บนทะเลทรายโกบี และบริเวณประเทศมองโกเลีย ในปัจจุบันในบริเวณทะเลทรายโกบีนี้มีชนเผ่าอื่นอีกนอกจากชนเผ่ามองโกลซึ่งมีชนเผ่าอาศัอยูนับร้อยเผ่าต่างภาษาต่างศาสนา วิธีการอยู่อาศัยของพวกเขาคือเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เป็นอาหารหรือไม่ก็ล่าสัตว์เป็นอาหาร และมีกระโจมเป็นที่พัก
ชาวมองโกลเป็นนักขี่ม้าที่ชำนาญ สิงที่นับถือตอนนั้นคือ ท้องฟ้าที่ให้แสงสว่างแม้น้ำที่ใช้เลี้ยงสัตว์ ภูเขาที่ให้ที่หลบภัยเมือมีเหตุไม่ดีก็อ้างถึงท้องฟ้าทำการบูชาท้องฟ้า ชาวมองโกลเป็นชนเผ่าแปลกหน้าร่อนเร่ใช้ชีวิตบนหลังม้าตะเวนหาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ในดินแดนต่าง ๆ ทำให้กระทบกระทั่งกับเผ่าอื่นกระทั้งต้องรบกัน สงครามจึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตชาวมองโกล
มองโกลอยด์ เป็นเผ่าพันธุ์ของคนผิวเหลือง ผสมดำเล็กน้อย ส่วนใหญ๋อาศัยในเอเชียตะวันออก คำว่า มองโกลอยด์ มาจาคำว่า มองโกล ซึ่งมีความหมาย่าเหมือนชาวมองโกล โดยฝรั่งหรือชนผิวขาวคอเคซอยด์ พบเห็นชาวมองโกลเป็นครั้งแรกเมื่อครั้ง จักวรรดิมองโกลขยายมายังดินแดนยุโรป ก่อนหน้นนั้น มีการแบ่งกลุ่มคนเป็น 2 กลุ่มคือ ผิวขาวกับผิวดำ เมืองเห็นชนชาตมองโกลรุกรานยังดินแดนของตน จึงตั้งชื่อพวนี้ว่า มองโกลอยด์ ตามชื่อจักรวรรดิ เนื่องจากเป็นชาติเดียที่รุกมายังดินแดนชนผิวขาวได้
ชนชาติมองโกล อาศัยอยู่รวม ๆ กันที่เขตปกครองตนเองในมองโกเลียตลอด ชนชาติมองโกลใช้ภาษามองโกลที่สังกัดตระกูลภาษาอัลไต คำว่ามองโกลมีขึ้นก่อนสิ้นสุดราชวงศ์ถัง เวลานั้นเป็นเพียงชื่อเผ่าชนหนึ่งในบรรดาเผ่าต่าง ๆ ซึ่งมีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เขตฝั่งตะวันออกแม่น้ำเออร์กูนา ต่อมาค่อยๆ ย้อยไปสู่ทางตะวันตกระหว่างเป่าชนต่าง ๆ พากันปล้นสะดมประชากร สัตว์เลี้ยงและสินทรัพย์จนได้เกิดสงครามระหว่างเผ่า อย่างไม่มีที่สิ้นสุด กระทั้ง เถี่ยมูเจิน หรือเตมูจิน ได้รับการสนับสนุนให้เป็นมหาราชชาวมองโกล ชือเจงกิสข่านได้สถาปนาประเทศมองโกเลียขึ้น ซึ่งเป็นต้นกำเนิชนชาติอันเข้ามแข็งเกรีงไกร มีความานคงและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ปรากฎเป็นครั้งแรกนั้นคือชาวมองโกล …
เตมูจิน เป็นลุกชายคนแรกของ เยซูไก และเฮ่อหลุน โดยชื่อ เตมูจินนั้นพ่อของเขาตั้งให้ตามชื่อของหัวหน้าเผ่า ที่เป็นอริ โดยวันที่เตมูจินเกิดเยซูไกสามารถปราบเตมูจิน อูกุร์ได้ และนำชื่อมาตั้งให้ลูกชาย เตมูจินมีพื่น้องร่วมมารดาเดียวกัน 4 คนและต่างแม่อีก 2 คน
เจงกิสข่านสามารถรวมเผ่ามองโกล ที่มีอยู่มากมายหลายเผ่าเป็นสมาพันธ์ชาวเผ่าน..และต่อมารวมเป็นอาณาจักร โดยมีเตมูจิน หรือ เจงกีสข่านเป็นกษัตริย์องค์แรก
โดยปกติชาวมองโกนับถือศษสนาพทธ และลัทธิ “เต็งกรี” หรือลัทธิบูชาเทพ ชาวมองโกเลีย นับถือเจงกิสข่า เป็นเทพองค์หนึ่ง..พระองค์ไม่ทรงขัดขวาง หรือกดขค่ศาสนาอื่ ในอมงโกเลียจึงมีทุกศานา แม้แต่ในพระบรมราชวงศ์ ก็มีผู้นับถือศาสนาเกือบทุกศาสนา
“ คนแพ้ต้องตาย เพื่อที่คนชนะจะได้ความสุข” คือคำพูดอมตะจากนักรบบนหลังม้า ที่กล่าวกับกษัตริย์และเจ้ามือง ผู้ต่อต้านการบุกของเขา..
“เอเซียกลาง” ซึ่งเข้าใจว่าเป็นอาณาบริเวณซึ่งเป็นที่ตั้งของ 5 ประเทศที่แตกออกมาจากอดีตสาธารณรัฐเอเซียกลางของสหภาพโซเวตในอดีต ซึ่งนอกจากห้าประเทศดังกล่าวแล้วยังมีดินแดในส่วนที่เป็นอัฟกานิสถาน เปอร์เซียและอาณาจักรเตอร์กิสถานตะวันออกหรือดินแดนส่วนที่เป็นมณฑลตะวันตกของจีนในปัจจุบันด้วย
ผู้คนทีอาศัยอยู่ในอาณาเขตเตอร์กิสถานนี้เป็นชนเผ่าเร่รอ่นชาวเติร์กและชาวตาตาร์ในปัจจุบันซึ่งชาวจีนในสมัยนั้นเรียกว่า ชาวฮวนหรือพวกฮวน-นั้ง คือพวกเร่ร่อนไม่สร้างอาณาจักรเป็นหลักแหล่ง ดำรงชีวติด้วยการเลี้ยงสัตว์
ชาวฮวนในเอเชียกลางมีรากเหง้าจากชาวซินเธียนส์ ซึ่งเป็นเชื่อชาติอารยันเร่ร่อนในดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลจากที่ราบลุ่มแม่น้ำดานูบมาถึงทุ่งหญ้าเสตปป์ในรัสเวียและเอเซียกลาง ต่อมาผสมผสามกับชาวฮวนหรือฮวน-นั้งที่ถูกขับมาจากดินแดนตอนเหนือของจีน ในสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ส่วนหนึ่งเข้ายึดครองอาณาจักรบักเครียและเมือพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชเข้ายึดครองเอเชียกลาง ผุ้คนในเอเซียกลางจึงมีบรรพบุรุษที่มีที่มาจากการปสมปสามระหวางซินเธียส์จากยุโรปกับพวกฮวน-นั้งจากตะวันออกซึ่งต่อมาเรียกพวกนี้ว่าอินโด-ซินเธียนส์ หรืออินโด-อารยัน
ตามตำนานเล่าขานกันว่าบรรพบุรุษมองโกลนั้นคือ เจ้าชายหมาป่าสีนำเงิน และได้ครองคู่กับนางกวางสีขาว ซึ่งเอาจป็นการกล่าวเชิงเปรียบเทียบถึงชาติพันธุ์ โดยหมาป่าสีนำเงินนั้นอาจเปรียบคือชาวยุโรปที่อาศัยอยู่ในทุ่งราบสเตปป์ของไซบีเรีย ส่วนนางกวางสีขาวคือ ชาวเอเซียหรือพวกมองโกลลอยด์จึงทำให้เกิดต้นตระกูลมองโกล โดยมีหลักฐานทางชาติพันธ์ยืนยันว่าชาวมองโกลต่างจากชาวจีน..และเกาหลีตรงที่พวกเขามีผมสีโทนอ่อนเช่นนำตาลหรือแดง นัยน์ตาเป็นสีน้ำตาบอ่อนไปจนถึงสีเทา สีเขียน แม้แต่สีน้ำเงิน
ชนเผ่ามองโกล ในคริสตศตวรรษที่ 11 ยังเป็นเพียงเผ่าเล็กๆ มีประชากรไม่กี่หมือนคน ซึ่งส่วนมากอาศัยอยู่บนทะเลทรายโกบี และบริเวณประเทศมองโกเลีย ในปัจจุบันในบริเวณทะเลทรายโกบีนี้มีชนเผ่าอื่นอีกนอกจากชนเผ่ามองโกลซึ่งมีชนเผ่าอาศัอยูนับร้อยเผ่าต่างภาษาต่างศาสนา วิธีการอยู่อาศัยของพวกเขาคือเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เป็นอาหารหรือไม่ก็ล่าสัตว์เป็นอาหาร และมีกระโจมเป็นที่พัก
ชาวมองโกลเป็นนักขี่ม้าที่ชำนาญ สิงที่นับถือตอนนั้นคือ ท้องฟ้าที่ให้แสงสว่างแม้น้ำที่ใช้เลี้ยงสัตว์ ภูเขาที่ให้ที่หลบภัยเมือมีเหตุไม่ดีก็อ้างถึงท้องฟ้าทำการบูชาท้องฟ้า ชาวมองโกลเป็นชนเผ่าแปลกหน้าร่อนเร่ใช้ชีวิตบนหลังม้าตะเวนหาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ในดินแดนต่าง ๆ ทำให้กระทบกระทั่งกับเผ่าอื่นกระทั้งต้องรบกัน สงครามจึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตชาวมองโกล
มองโกลอยด์ เป็นเผ่าพันธุ์ของคนผิวเหลือง ผสมดำเล็กน้อย ส่วนใหญ๋อาศัยในเอเชียตะวันออก คำว่า มองโกลอยด์ มาจาคำว่า มองโกล ซึ่งมีความหมาย่าเหมือนชาวมองโกล โดยฝรั่งหรือชนผิวขาวคอเคซอยด์ พบเห็นชาวมองโกลเป็นครั้งแรกเมื่อครั้ง จักวรรดิมองโกลขยายมายังดินแดนยุโรป ก่อนหน้นนั้น มีการแบ่งกลุ่มคนเป็น 2 กลุ่มคือ ผิวขาวกับผิวดำ เมืองเห็นชนชาตมองโกลรุกรานยังดินแดนของตน จึงตั้งชื่อพวนี้ว่า มองโกลอยด์ ตามชื่อจักรวรรดิ เนื่องจากเป็นชาติเดียที่รุกมายังดินแดนชนผิวขาวได้
ชนชาติมองโกล อาศัยอยู่รวม ๆ กันที่เขตปกครองตนเองในมองโกเลียตลอด ชนชาติมองโกลใช้ภาษามองโกลที่สังกัดตระกูลภาษาอัลไต คำว่ามองโกลมีขึ้นก่อนสิ้นสุดราชวงศ์ถัง เวลานั้นเป็นเพียงชื่อเผ่าชนหนึ่งในบรรดาเผ่าต่าง ๆ ซึ่งมีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เขตฝั่งตะวันออกแม่น้ำเออร์กูนา ต่อมาค่อยๆ ย้อยไปสู่ทางตะวันตกระหว่างเป่าชนต่าง ๆ พากันปล้นสะดมประชากร สัตว์เลี้ยงและสินทรัพย์จนได้เกิดสงครามระหว่างเผ่า อย่างไม่มีที่สิ้นสุด กระทั้ง เถี่ยมูเจิน หรือเตมูจิน ได้รับการสนับสนุนให้เป็นมหาราชชาวมองโกล ชือเจงกิสข่านได้สถาปนาประเทศมองโกเลียขึ้น ซึ่งเป็นต้นกำเนิชนชาติอันเข้ามแข็งเกรีงไกร มีความานคงและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ปรากฎเป็นครั้งแรกนั้นคือชาวมองโกล …
เตมูจิน เป็นลุกชายคนแรกของ เยซูไก และเฮ่อหลุน โดยชื่อ เตมูจินนั้นพ่อของเขาตั้งให้ตามชื่อของหัวหน้าเผ่า ที่เป็นอริ โดยวันที่เตมูจินเกิดเยซูไกสามารถปราบเตมูจิน อูกุร์ได้ และนำชื่อมาตั้งให้ลูกชาย เตมูจินมีพื่น้องร่วมมารดาเดียวกัน 4 คนและต่างแม่อีก 2 คน
เจงกิสข่านสามารถรวมเผ่ามองโกล ที่มีอยู่มากมายหลายเผ่าเป็นสมาพันธ์ชาวเผ่าน..และต่อมารวมเป็นอาณาจักร โดยมีเตมูจิน หรือ เจงกีสข่านเป็นกษัตริย์องค์แรก
โดยปกติชาวมองโกนับถือศษสนาพทธ และลัทธิ “เต็งกรี” หรือลัทธิบูชาเทพ ชาวมองโกเลีย นับถือเจงกิสข่า เป็นเทพองค์หนึ่ง..พระองค์ไม่ทรงขัดขวาง หรือกดขค่ศาสนาอื่ ในอมงโกเลียจึงมีทุกศานา แม้แต่ในพระบรมราชวงศ์ ก็มีผู้นับถือศาสนาเกือบทุกศาสนา
“ คนแพ้ต้องตาย เพื่อที่คนชนะจะได้ความสุข” คือคำพูดอมตะจากนักรบบนหลังม้า ที่กล่าวกับกษัตริย์และเจ้ามือง ผู้ต่อต้านการบุกของเขา..
ผู้ที่ต่อต้านหรือศัตรูของเขาแม้สถานที่ศักดิ์สิทธิเขาก็ไม่ปล่อย
เจงกิสข่านสั่งเผ่าโบสถ์ด้วยเจ้าผู้ครองนครหนีเข้าไปหลบในโบสถ์
“ที่เผาโบสถ์ไม่ใช่เพราะลบหลู่พระเจ้า
แต่เพราะคนเลวไปทำให้โบสถ์มัวหมองจึงต้องทำลายทิ้ง”
การจัดขบวนทัพของเตมูจิน เป็นแบบเดินทัพไปเลี้ยงสัตว์…ไปด้วย
เมื่อสั่งบุกโจมตีก็สามารถรวมพลได้เร็ว และสามารถเข้าตีได้อย่างรวดเร็ว
เตมูจินยังเป็นผู้ที่บำรุงนักปราชญ์กล่าวคือ
หากเข้าตีเมืองใดได้แล้วจะรวบรวมผู้มีความรู้ความสามารถและส่งกลับไปยังมองโกเพื่อเป็นทรัพยากรบุคคล..
Historical Approach
การคิดวิเคราะห์ หมายถึง การคิดอย่างใคร่ครวญไตร่ตรอง โดยอธิบายขอบเขตของการคิดวิเคราะห์ว่าเป็นการคิดที่เริ่มต้นจากสถ านการณ์ที่มีความยุ่งยาก และสิ้นสุดลงด้วยสถานการณ์ที่มีความชัดเจน
(ดิวอี้ Dewery ๑๙๓๓)
การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐานของการคิดลักษณะอื่น ๆ เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหา และกาคิดเพื่อสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์เป็นประเด็นหนึงของการแสวงหาข้อเท็จจริง เป็นการตรวจสอบข้อมูลและบอกความสัมพันธ์ บอกเหตุผลของข้อมูล ในสถานการณ์นั้นได้การคิดวิเคราะห์เป็นการจัดการกับข้อมูลในสถานการณ์ แล้วนำปสู่การคิดระดับสูง เช่น การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งได้มาจากพื้อนฐานการคิดสังเคราะห์( เป็นการสร้างสิ้งใหม่ ๆ จาข้อมูลที่มีอยู่แล้วจนนำไปสู่การสร้างสิ่งแปลกใหม่สู การคิดสร้างสรรค์)
การคิดวิเคราะห์ คือความสามรถในการจำแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่ง สถานการณ์หนึ่ง วัตถุ สิ่งของ หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นการสารภาพวามเป็นจริง หรือสิ่งสำคัญ
คำถามที่มักใช้กับการคิดวิเคราะห์คือ What? Where? When? Why? Who? How? แล้วรวบรวมขอ้มูลทั้งหมดมาจัดระบบหรือเรียบเรียงให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจซึ่งเป็นการค้นหาความจริงรหรือความสำคัญ เทคนิคการคิดวิเคราะห์ เป็นการคิดโดยคิดเชิงลึก คิดอย่างละเอียด จากเหตุไปสู่ผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล
แนวการวิเคราะก์การเมืองโดยอาศัยประวัติศาสตร์ ซึ่งเราจะพบว่าคำว่าประวัติศาสตร์นั้นถูกนำมาใช้ในหลายแง่มุม เช่น เหตุการณ์ทีเป็นความจริง
ประวัติศาสตร์หมายถึงสิ่งที่ได้มีการบันทึกไว้ ประัวัติศาสตร์คือข้อเขียนของมนุษย์ และประวัติศาสตร์คือสาขาวิชาหนึ่งของสังคม...
'ในฐานะที่เป็นความจริงที่เกิดขึ้น หมายถึงสิ่งใดๆ ทีเรารู้สักนึกคิด จินตนาการพูดหรือได้กระทำไว้ ตลอดจนความสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ที่มีต่อกันและกันสภาพแวดล้อมตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา
'ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทุกไว้ จะประกอบไปด้วยเอกสารและหลักฐานปฐมภูมิต่าง ๆ ของประสัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
'ในฐานะทีเป็นข้อเขียนนั้น กล่าวว่าเป็นเรื่องราวที่ต้องอาศัยประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทึกไว้ และจะประกอบไปด้วยการแปลความในรูปแบบที่แตกต่างกันหรือเป็นการนำบางส่วนในประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมาพิจารณา
ในความเป็นจริงนั้น ประวัติศาสตร์ในฐานะของสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ นั้นจะประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลายแง่ปลายมุมมองด้วยกัน ประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นข้อเขียนก็อาจจะแปรผันไปมากตามเนื้อหาสาระที่เป็นใจความสำคัญ เช่น อาจมีประวัติศาสตร์ศิลปะ ประวัิติศาสตร์วิทยาศาสตร์ ปรวัติศาสนา เป็นต้น
แม้ว่าสาระของประวัติศาสตร์จะหลากหลาย แต่ลักษณะเด่นที่สำคัญของประวัติศาสตร์ก็คือจะเน้นความสำคัญกับอดีต เช่น ช่วงระยะเวลใดเวลาหนึ่ง ปละยังมีแนวโน้มว่าจะใช้วิธีการลำดับเหตุกาณ์ในการอธิบายด้วย
นักประวัติศาสตร์ไม่เพียงแต่จะถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไรเท่านั้น แต่ยังถามต่อไปว่าทำไม่จึงต้องทำเหตุการณ์ใดๆ เกิดขึ้นมารได้อยางไรและผลที่ได้ในรูปของการกระทำหรือสภานการณ์เป็นอยางไร...
Gottschalk อ้างว่า สังคมคาดหวังจากนักประวัติศาสตร์ไว้ว่า "เป็นผู้ที่พยายามหาความแตกต่างหรือเปรียบเทียบช่วงหรือเหตุการณ์และสถาบันในประวัติศาสตร์ เพื่อที่จะผูกสาระเรื่องราวของประสบการณ์ที่เกิดขึ้นของมนุษย์เข้าไว้ด้วยกัน และเป็นผู้ที่นำเสนอข้อสรุปทั่วไปที่มีความเที่ยงตรงสำหรับเหตุการณ์ของประสบการณ์ในอดีต" และสรุปว่า "นักประวัติศาสตร์ต่างไปจากนักวิชากรสาขาอื่น ๆ ในประเด็นสำคัญที่ว่า นักประวัติศาสตร์จะให้ความสำคัญกับบทบาทของแรง จูงใจ การกระทำ ความสัมฤทธิ์ผละ ความล้าเหลว และสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ในการเปลี่ยนแปลงและความต่อเนื่องของประวัติศาสตร์"
ในทางการเมืองนักรัฐศาสตร์จำนวนมากที่เป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์โดยเฉพาะในสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะมีขอ้เขียนที่เกดี่ยกับประวัติศาสตร์การทูตของประเทศต่าง ๆ มากมาย ในสาขาทฤษฏีการเมือง ส่วนใหญ๋มัจะใช้แนวการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เช่นกัน เช่น การศึกษาประวัติความคิดทางการเมืองของนักปรัชญาการเมืองตะวันตก
จงสรุปบทเรียน
(ดิวอี้ Dewery ๑๙๓๓)
การคิดวิเคราะห์เป็นพื้นฐานของการคิดลักษณะอื่น ๆ เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหา และกาคิดเพื่อสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์เป็นประเด็นหนึงของการแสวงหาข้อเท็จจริง เป็นการตรวจสอบข้อมูลและบอกความสัมพันธ์ บอกเหตุผลของข้อมูล ในสถานการณ์นั้นได้การคิดวิเคราะห์เป็นการจัดการกับข้อมูลในสถานการณ์ แล้วนำปสู่การคิดระดับสูง เช่น การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดเพื่อตัดสินใจ การคิดแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งได้มาจากพื้อนฐานการคิดสังเคราะห์( เป็นการสร้างสิ้งใหม่ ๆ จาข้อมูลที่มีอยู่แล้วจนนำไปสู่การสร้างสิ่งแปลกใหม่สู การคิดสร้างสรรค์)
การคิดวิเคราะห์ คือความสามรถในการจำแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่ง สถานการณ์หนึ่ง วัตถุ สิ่งของ หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นการสารภาพวามเป็นจริง หรือสิ่งสำคัญ
คำถามที่มักใช้กับการคิดวิเคราะห์คือ What? Where? When? Why? Who? How? แล้วรวบรวมขอ้มูลทั้งหมดมาจัดระบบหรือเรียบเรียงให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจซึ่งเป็นการค้นหาความจริงรหรือความสำคัญ เทคนิคการคิดวิเคราะห์ เป็นการคิดโดยคิดเชิงลึก คิดอย่างละเอียด จากเหตุไปสู่ผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล
แนวการวิเคราะก์การเมืองโดยอาศัยประวัติศาสตร์ ซึ่งเราจะพบว่าคำว่าประวัติศาสตร์นั้นถูกนำมาใช้ในหลายแง่มุม เช่น เหตุการณ์ทีเป็นความจริง
ประวัติศาสตร์หมายถึงสิ่งที่ได้มีการบันทึกไว้ ประัวัติศาสตร์คือข้อเขียนของมนุษย์ และประวัติศาสตร์คือสาขาวิชาหนึ่งของสังคม...
'ในฐานะที่เป็นความจริงที่เกิดขึ้น หมายถึงสิ่งใดๆ ทีเรารู้สักนึกคิด จินตนาการพูดหรือได้กระทำไว้ ตลอดจนความสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ที่มีต่อกันและกันสภาพแวดล้อมตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา
'ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทุกไว้ จะประกอบไปด้วยเอกสารและหลักฐานปฐมภูมิต่าง ๆ ของประสัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
'ในฐานะทีเป็นข้อเขียนนั้น กล่าวว่าเป็นเรื่องราวที่ต้องอาศัยประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งทีได้บันทึกไว้ และจะประกอบไปด้วยการแปลความในรูปแบบที่แตกต่างกันหรือเป็นการนำบางส่วนในประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมาพิจารณา
ในความเป็นจริงนั้น ประวัติศาสตร์ในฐานะของสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ นั้นจะประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลายแง่ปลายมุมมองด้วยกัน ประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นข้อเขียนก็อาจจะแปรผันไปมากตามเนื้อหาสาระที่เป็นใจความสำคัญ เช่น อาจมีประวัติศาสตร์ศิลปะ ประวัิติศาสตร์วิทยาศาสตร์ ปรวัติศาสนา เป็นต้น
แม้ว่าสาระของประวัติศาสตร์จะหลากหลาย แต่ลักษณะเด่นที่สำคัญของประวัติศาสตร์ก็คือจะเน้นความสำคัญกับอดีต เช่น ช่วงระยะเวลใดเวลาหนึ่ง ปละยังมีแนวโน้มว่าจะใช้วิธีการลำดับเหตุกาณ์ในการอธิบายด้วย
นักประวัติศาสตร์ไม่เพียงแต่จะถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไรเท่านั้น แต่ยังถามต่อไปว่าทำไม่จึงต้องทำเหตุการณ์ใดๆ เกิดขึ้นมารได้อยางไรและผลที่ได้ในรูปของการกระทำหรือสภานการณ์เป็นอยางไร...
Gottschalk อ้างว่า สังคมคาดหวังจากนักประวัติศาสตร์ไว้ว่า "เป็นผู้ที่พยายามหาความแตกต่างหรือเปรียบเทียบช่วงหรือเหตุการณ์และสถาบันในประวัติศาสตร์ เพื่อที่จะผูกสาระเรื่องราวของประสบการณ์ที่เกิดขึ้นของมนุษย์เข้าไว้ด้วยกัน และเป็นผู้ที่นำเสนอข้อสรุปทั่วไปที่มีความเที่ยงตรงสำหรับเหตุการณ์ของประสบการณ์ในอดีต" และสรุปว่า "นักประวัติศาสตร์ต่างไปจากนักวิชากรสาขาอื่น ๆ ในประเด็นสำคัญที่ว่า นักประวัติศาสตร์จะให้ความสำคัญกับบทบาทของแรง จูงใจ การกระทำ ความสัมฤทธิ์ผละ ความล้าเหลว และสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ในการเปลี่ยนแปลงและความต่อเนื่องของประวัติศาสตร์"
ในทางการเมืองนักรัฐศาสตร์จำนวนมากที่เป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์โดยเฉพาะในสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะมีขอ้เขียนที่เกดี่ยกับประวัติศาสตร์การทูตของประเทศต่าง ๆ มากมาย ในสาขาทฤษฏีการเมือง ส่วนใหญ๋มัจะใช้แนวการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เช่นกัน เช่น การศึกษาประวัติความคิดทางการเมืองของนักปรัชญาการเมืองตะวันตก
จงสรุปบทเรียน
จากความผิดพลาดของคนอื่น
เพราะเราไม่มีเวลามากพอ
ที่จะผิดพลาดได้ทุกเรื่อง
และความผิดพลาดซ้ำซาก
จะนำมาซึ่งความหายนะ
วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555
Rus'
รัชสมัยของ วลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980-1015)
พะราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019-1054) เป็นยุคทองของคิเอฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” Russakaya Pravda
สันนิษฐานกันว่าเคียฟ เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 5 โดยมีตำนานในพงศาวดารรัสเซียกล่าวไว้ว่า 3 พี่นอ้งจากชนเผ่าสลาฟ คือ คยี เชค โคริฟและลีบิค เป็นผู้สร้างเมืองนี้ โดชื่อเมืองว่าเคียฟ คือมาจากชื่อ “คยี”พี่ชายคนโต ทั้งนี้ยังมีอีกลายตำนานเกี่ยวกับก่อตั้งเมืองเคียฟ แต่ตำนาน สื่พี่น้องเป็นที่นิยมมากที่สุด
นักประวัติศาสตร์ระบุว่าช่วงเวลาที่เคียฟก่อตัวขึ้น น่าจะประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 5-9 โดยมีชาวสลาฟเป็นพวกแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ รูปแบบของเมืองในช่วงแรกน่าจะเป็นการรวมตัวกันแบบเมือง ป้อมปราการ ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 จักรวรรดิคาซาร์ของชาวเติร์ก ได้ขยายอำนาจเข้ามายังบริเวณนี้ พวกเขาเริ่มสร้างเคียฟให้เป็นเมืองมากขึ้นกว่าเอิม ..ในช่วงปลายศตวรรษ เคียฟตกอยู่กับพวกวารันเจียน (มีชาวรุสเป็นผู้นำ) และกลายเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรเคียฟรุส..
จากการเป็นเมืองสำคัญทำให้เคียฟผ่านที่การเมืองหลวงที่สำคัญ และการเป็นเมืองร้างที่โดนเผาทำลาย สลับกันไปมานับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้จะอยู่ใจนช่วง การรวมชาติของชาวรุส
กระทั่งการขยายอำนาจของมองโกลอาณาจักเคียฟรุสก็เสื่อมอำนาจลง โดยมีอาณาจักรแกรนด์ดัชชีแห่งลิธัวเนีย ก้าวขึ้นมาแทน ด้วยความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ของเคียฟ ทำให้สองอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในขณะนั้นแย่งชิงเคียฟ ท้ายสุด ลิธัวเนียเป็นฝ่ายครอบครองเคียฟ และผนวกดินแดนเดิมของอาณาจักรเคียฟรุสเป็นของตน พัฒนาต่อมาจนเป็นมณฑลเคียฟ…
ชาวรุสกับเขามามีอำนาจในเคียฟและดินแดนโดยรอบอีกครั้ง โดยอาณาจักซาร์แห่งรัสเซีย ได้ผนวกเคียฟเข้าอยู่ในอำนาจ ต่กเนื่องไปจนกระทั้งอาณาจักรซาร์พัฒนาเป็นจักวรรดิรัสเซีย เคียฟก็ยงคงมีความสำคัญอยู่เช่นเดิม แต่ผันจากศูนย์กลางการปกครองมาเป็นศูนย์กลางทางศาสนา(คริสต์) และการค้า
วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555
Sixteen Kingdom
การล่มสลายของราชวงศ์จิ้นตะวันตก แผ่นดินจีนจึงตกอยู่ในภาวะแตกเป็นเสี่ยง ๆ ราชสำนักจิ้นย้ายฐานที่มั่นเมืองหลวงลงใต้ สถาปนาราชวงศ์จ้นตะวันออก ขณะที่ทางเหนือวุ่นวายอย่างหนัก แผ่นดินที่แตกออกเป็นแว่นแคว้น ที่ปกครองโดยชนกลุ่มน้อยจากชนเผ่าต่าง ๆ ผลัดกันรุกผลัดกันรับ ผ่านการล้มล้างและก่อตั้ง ครั้งแล้วครั้งเล่า นำสู่การหลอมรวมทางเชื้อชาติ ชาติพันธ์ครั้งใหญ่ของจีน
แคว้น | ชนเผ่า | ระยะเวลา(ค.ศ.) |
เฉิงฮั่น | ตี | 304-347 |
ฮั่นเจ้า | ซ่งหนู | 304-329 |
สือเจ้า | เจี๋ย | 319-351 |
เฉียนเหลี่ยง | ฮั่น | 320-376 |
เฉียนเอี้ยน | เซียเปย | 337-370 |
หรั่นวุ่ย | ฮั่น | 350-351 |
เฉียนฉิน | ตี | 351-394 |
โฮ่วฉิน | เชียง | 384-417 |
โฮ่วเอี้ยน | เซียนเปย | 384-407 |
ซิเอี้ยน | เซียนเปย | 384-394 |
ซีฉิน ฉิน | เซียนเปย | 385-431 |
โฮ่วเหลียง | ตี | 386-403 |
หนันเหลียง | เซียนเปย | 397-414 |
หนันเอี้ยน | เซียนเปย | 398-410 |
ซีเหลียง | ฮั่น | 400-421 |
เผ่าซงหนู
ในยุคเลียดก๊ก พวกซงหนูมีอาณาบริเวณของตนกว้างขวาง ผู้นำของพวกซงหนูเรียกว่า “ฉานหยู” อาณาเขตพวกซงหนูนั้นตั้งแต่ทะเลทรายโกบีในมองโกลเลีย ทุ่งหญ้าสเตปป์ และทะเลทรายท่คลามากานในเอเซียกลาง..
บรรดาก๊กต่าง ๆ ของจีนต่างมุ่งชิงอำนาจกันเองเป็นเวลาสองศตวรรษ และพวกซงหนูหาโอกาสบุกจีนโดยการรุกรานทางภาคเหนือของจีนเรื่อยมา อันเป็นสาเหตุที่ทำให้ “จิ๋นซีฮ่องเต้”ทรงสร้างกำแพงเมืองจีนเมื่อรวบรวมแผ่นดินแล้ว แต่ทว่าซงหนูยังรุกรานจีนเรื่อยมากระทั่งราชวงศ์ฮั่น ในสัมัยจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ พระองค์ทรงส่งกองทัพเข้าขับไล่พวกซงหนูออกจากพรมแดนทะเลทรายโกบีและทะเลทรายทาคลามากานได้ จึงสามารถทำให้ราชวงศ์ฮั่นสามารถเข้าครอบครองเส้นทางสายไหมไว้ได้กึ่งหนึ่ง พวกซงหนูบางส่วนที่พ่ายแพ้ต่อราชวงศ์ฮั่นจึงเรร่อนสู่ตะวันตกและบุกโจมตีจักวรรดิโรมัน พวกตะวันตกเรียกขานพวกซงหนูว่า ฮั่น Hun อีกพวกหนึ่งบุกลงใต้ยังอนุทวีป คืออินเดียนั้นเอง โดยไปรวมกับพวกอารยันกระทั่งกลายเป็นฮั่นกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า “ฮั่นขาว”
เผ่าทูเจี๋ย
ที่รู้จักกันในนามว่า “เติร์ก” พวกทูเจี๋ยอาศัยอยู่ในเอเชียกลางมากก่อน ต่อเมื่อพวกซงหนูสิ้นอำนาจแล้วจึงอพยพมาทางเหนือกระทั่งถึงมองโกล พวกทูเจี๋ยเรียกผู้นำสูงสุดว่า “ข่าน” พวกทูเจี๋ยทำสงครามรุกรานจีนตั้แต่ราชวงศ์เหนือใต้ เรื่อยมาจนถึงราชวงศ์ถัง แต่ความสัมพันธ์ของเผ่าทูเจี๋ย กับจีนในช่วงนี้เป็นไปในทางที่ดีมากว่าเผ่าซงหนู กล่าวคือในช่วงราชวงศ์เหนือใต้ชาวทูเจี๋ยและชาวจีนได้มีการผสานทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม จนทำให้บรรดาราชวงศ์ของจีนที่อยู่ทางเหนือมีเชื่อสายทูเจี๋ย แม้แต่จักรพรรดิราชวงศ์สุย และราชวงศ์ถึงก็ทรงมีเชื่อสายทูเจี๋ยเช่นกัน ทูเจี๋ยกลุ่มนี้ก็คือพวก “เชลจุคเติร์ก”นั่นเอง
เผ่าหนี่เจิน (แมนจู)
มีถิ่นอาศัยในที่ราบสูงแมนจูเรียเช่นเดียวกับพวกซี่ตาน แต่ถูกปกครองโดยเผ่าซี่ตานต่อมาแมนจูทำการขับไล่พวกซี่ตานและสถาปนาเผ่าตนเป็น “ราชวงศ์จิน” และทำการทรยศหักหลังราชวงศ์ซ่ง มีการปลอมราชโองการองค์จักรพรรดิ์ที่เรียกว่า “ 12 โองการทองคำ” ซึ่ง..ในการทรยสกับความโหร้ายในการทำศึกของพวกหนี่เจินจึงทำให้ชาวจีนเรียกพวกหนี่เจินในอีชื่อว่า “แมนจู” หรือ”เม่งจู้”ซึ่งแปลว่า “ปีศาจ”
ราชวงศ์จินปกคองแผ่นดินจีนทาง เหนือเพียงครู่ดียว จมทัพเจกิสข่านก็เรื่องอำนาจ ราชวงศ์จินล่าสลาย หนี่เจินบางส่วนคงหลงเหลืออยู่ในแดนแมนจูเรีย เผ่านหนีเจิ่นยังคงอยู่เรื่อยมากระทั่งราชวงหมิง จึงปรากฎมีข่านหนีเจิน ชื่อว่า “อั๊ยซินเจี๋ยลั๋ว นูรเออฮาซื่อ” ได้รวมเผ่าหนี่เจินเป็นหนึงและสถาปนา “ราชวงศ์โฮ่วจิน” (โฮ่ย ยุคปลาย)ทำสงครามกับราชวงศ์หมิงสืบมากระทั่งรัชสมัย “หวงไท่จี๋ข่าน”จึงเปลี่ยนรามราชวงศ์เป็น “ราชวงศ์ชิง” และสถาปนาเป็นจักรพรรดิทรงพระนามว่า “ชิงไท่จง”
Seventh Crusade
พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสทรงพระราชวิตกเหตุการณ์ที่เกิดในซีเรีย เมื่อสุลต่านมามลุคไบบาร์เข้าโจมตี อาณาจักรครูเสดที่ยังเหลืออยู่ (เป็นกษัตริย์ฝรั่งเศษองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญ St.Louis)
พระเจ้าหลุยส์ทรงพระราชวิตกกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในซีเรียเมื่อสุลต่านมัมลุ้ก บัรบาร์ เข้าโจมตีคูเสด
ไบบาร์ฉวยโอกาสหลังจากที่สาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว ต่อสู้กัน ในการโจมตีเมืองท่าในซีเรีย
พระเจ้าฮิวจ์ที่ 3 แห่งไซปรัส พระมหากษัตริย์ในนามแห่งราชอาณาจักรเยรูซาเลมขึ้นฝั่งที่อัคโคเพื่อรักษาเมืองขณะที่ไบเบอร์เดินทัพขึ้นไปทางเหนือถึงอาร์มีเนียซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมของ "มองโกล"
เหตุการณ์เหล่านี้ เป็นสาเหตุที่ทำให้พระเจ้าหลุ่ยส์ รวบรวมกองกำลังเพื่อเข้าร่วมในสงครามครูเสดครั้งใหม่ในปี ค.ศ. 1267 แม้ว่าจะไม่มีผู้สนับสนุนเท่าใดนัก
พระอนุชาชาร์ลส์แห่งอองชู ทรงหว่านล้อมให้พระเจ้าหลุยส์โจมตีตูนิสก่อนเพื่อจะใช้เป็นฐานที่มั่นในการเข้าโจมตีอียิปต์ ในการทำสงครามครั้งก่อนหน้านี้ต่างก็พ่ายแพ้ที่นั่น พระเจ้าชาร์ลส์ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งซิซิลี ทรงมีพระประสงค์ส่วนพระองค์ในการขยายอำนาจในเมติเตอร์เรเนียน กาหลิบแห่งตูนิส มุหะเหม็ด อฺอัล มัสแตนเซอร์ เองก็ทรงมีความสัมพันธ์กับคริสเตียนในสเปน และถือว่าเป็นผู้จะง่ายต่อการชักชวนให้มานับถือคริสต์ศาสนา …
เมือกองทัพขึ้นฝั่งที่แอฟริกากองทัพก็ลัมเจ็บ เพราะน้ำดื่มไม่สะอาด พระเจ้าหลุยส์และพระโอรส จอห์น ซอร์โรว์ เสด็จสวรรคต ด้วย “Flux in the stomach” เนื่องจากพระโอรสยังทรงพระเยาว์ ชาร์ล จึงเป็นผู้นำคนใหม่
แต่กองทหารก็ยังถูกบั่นทอนด้วยโรคร้ายซึ่งทำให้เการล้อมเมืองตูนิสต้องยุติลง โดยการตกลงกับสุลต่าน ในข้อตกลงนี้ฝ่ายคริสเตียนสามารถทำการค้าขายอย่างเสรีกับตูนิสได้ และที่พำนักสำหรับนักบวชในเมืองก็ได้รับการการันตี
เมือ่ได้รับข่าวการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าหลุยส์แล้ว สุลต่านมามลุคไบบาร์ แห่งอียิปต์ ก็ยกเลิกการเดินทัพ และขณะเดียกันชาร์ลส์ก็ได้เป็นพันธมิตรกับ เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษผู้เพิ่งเสด็จมาถึง
เมื่อชาร์ลส์ยกเลิกการโจมตีตูนิง เจ้าชายเอดเวิร์ดก็ตัดสินใจเดินทางต่อไปยังอัคโค ที่เป็นที่มั่นสุดท้ายในซีเรียด้วยพระองค์เอง….
วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555
Sena Dynasty
ราชวงศ์ เสนะ เป็นราชวงศ์สุดท้ายก่อนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของมุสลิม… พ.ศ. 1692 เมือพระกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาละขึ้นครองราชย์สมบัติ ทรงเป็นพุทธบริษัทที่เคร่งครัด ปกครองได้เพียง 11 ปี เสนาบดีพราหมณ์ คือ ลาวเสน ยึดอำนาจแล้วปลงพระชนม์สถาปนาราชวงศ์เสนะ ซึ่งเป็นราชวงศ์ฮินดู พระพุทธศาสนาจึงถูกบั่นทอนทั้งที่ เบงกอล มคธ และวิกรมศิลาที่มีนักศึกษาเป็นหมื่อนเหลือเพียงไม่ถึงพันรูป..
ในราชวงศ์เสนะครองเบงกอลและมคธนี้ กษัตริย์แห่งลังกา ได้อาราธนาพระสงฆ์และคัมภีร์จำนวนมากจากอาณาจักรโจฬะเพื่อไปปรับปรุงพุทธศาสนาที่ลังกา ซรรณกรรมหลายๆ เรื่องได้ถูกถ่ายทอดสู่ภาษาลังกา ซึ่งวรรณกรรมเหล่านี้เป็นผลงานของพระเถระชาวอินเดียใต้ในอาณาจักโจฬะ
ครั้นพระเจ้าราฐิกาขึ้นครองราชย์ มีนักบวชทางพุทธศษสนหรือสิทธะผู้มีชื่อเสียหลายคนร่วมกันเพื่อคุ้มคีองมหาวิทยาลัยโอทันตบุรีและวิกรมศิลา พระราชาทรงสั่งให้สร้งป้อมปราการและจัดเวรให้ทหารเผ้าดูแลอย่างดี ในแค้วนมคธนั้นพุทธศาสนิกชนลดน้อยลงโดยศาสนิกชนอื่นเพิ่มขึ้น ส่วนทางภาคเหนือพุทธศาสนาได้ถูกทำลายลงหมดสิ้น พุทธบริษัทส่วนมากถูกบังคับให้เปลี่ยนศาสนาไปเกือบหมด ผู้ไม่ยอมรับ..ตาย
การรบระหว่างอิสลามและอินเดียยังดำเนินอยู่ ทัพมุหะหมัด แห่งฆูร์ โจมตีทางภาคเหนือของอินเดียและปะทะกองทัพของพระเจ้าปฤฐวีราช ซึ่งได้กษัตริย์หลายพระองค์เป็นพันธมิตรเข้าช่วยเหลือ ผลการรบ สุลต่าน มุหะหมัด แห่งฆูร์ ต้องหลบหนีไปอัฟการนิสถาน..
การรบครั้งที่ สองพระเจ้าปฤฐวีราชพ่ายแพ้ เพราะไม่ได้รับการช่วยเหลือจากกษัตริย์พระองค์อื่น กรุงเอินทปัตถุ์ หรือ เดลลี จึงตกอยู่ภายใต้อำนาจมุสลิมอย่างเด็ดขาดต่อจากนั้นจึงเริ่มรุกทางใต้
ต่อมาสุลต่าน โมหัมเหม็ด กาซนี เข้าทำลายอารามที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี และที่สารนาถ ในขณะที่อกงทัพมุสลิมกำลังบุกทำลาย บรรดาสิทธะแห่งนิกายมรตรยามหรือพุทธตันตระทั้งหลายต่างช่วยกันเสกเป่าเวทย์มนต์ เพื่อให้กองทัพมุสลิมถอยกลับออกไป แทนที่จะตระเตรียมกองทัพ..กษัตริย์เชื่อคำสิทธะทั้งหลาย จึงไม่เตรียมการ สุดท้ยก็ถูยึดได้และโนทำลายอย่างสิ้นเชิง
ในหนังสื่อของท่านตรานถ เป็นหลักฐานที่บ่งว่า หลังจากกองทัพมุสลิมเข้ายึดครองอินเดียภาคเหนือ ภาคตะนตก ภาคตะวันออก และภาคกลางแล้ว พุทธศาสนาไม่ได้ดับวูบลงเสียที่เดียว ยังมีผู้ปกครองท้องถิ่นพยายามค้ำชูพุทธศาสนาอยู่บ้าง พุทธศาสนาค่อยๆ เสือมสูยไปที่ละน้อย แม้อินเดียเกือบทั้หมดถูกยึดครองโดยอิสลามแล้ว แต่ภาคใต้กองทัพมุสลิมยังรุกไปไม่ถึง พุทธศษสนและฮินดูเชน ก็ยังมีชีวิตรอดได้อยุ่ ดังเช่นที่เมืองนาคปัฎฎินัม และกาญจีปุรัมพุทธศาสานยังมีลมหายใจถึง พ.ศ. 2100
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...