เบนิโต มุสโสลินี เกิดที่เมืองฟอร์ลิ ในแคว้นดรมันญ่า บิดามีอาชีพเป็นช่างตีเหล็กที่ยากจนมารดา เป็นครูในชนบท มุสโสลินีเคยเป็นครูสอนหนังสือก่อนจะหนีการเกณฑ์ทหารไปอยู่สวิตเซอรืแลนด์ ในช่วงนี้เองเขาเลี้ยงชีพโดยการเป็นกรรมกรรับจ้าง ซึ่งทำให้เขาเริ่มหันมาสนใจในลัทธิสังคมนิยมแนวซินดิคาลิสม์ ซึ่งต้องการให้สหภาพกรรมกรเป็นกลุ่มควบคุมอุตสาหกรรมของประเทศ ต่อมาเขาเข้าร่วมกับกลุ่มปฏิวัติจึงถูกขับออาจากสวิสเซอร์แลนด์และกลับมาอยุ่ที่อิตาลีในปี 1904
เมื่อกลับมาอยู่อิตาลีเขาเข้าเป็นสมาชิกพรรคสงคมนิยมโดยทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการณ์หนังสือพิมพ์พรรค ปี 1908-1909 เขาเดินทางไปอาศัยอยู่ที่ออสเตรีย-ฮังการีซึ่งเป็นดินแดนที่อิตาลีหวังจะได้เข้าครอบครอง ซึ่งทำให้มุสโสลินีเกิดความรู้สึกชาตินิยม เขาได้มีดอกาสอ่านงานของนิชเช่ และดซเรลซึ่งเป็นกลุ่มนักปรัชญาที่สนับสนุนการใช้กำลังอำนาจ
เมื่อสงครามโลกครั้งท่ 1 มุสโสลินีเขียนบทความสนับสนุนการกระทำของฝ่ายพันธมิตรและสนับสนุนการกระทำของฝ่ายสัมพันธมิตรและสนับสนุนอิตาลีให้ประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการี เขาถูกกล่าวหาว่ารับสินบนในการเขียนบทความดังกล่าวจากฝรั่งเศส การกระทำของมุสโสลินีขัดกับนโยบายของพรรคสังคมนิยมซึ่งต่อต้านสงคราม มุสโสลินีจึงถูกบังคับให้ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค หลังจากนั้นมุสโสลินีได้ก่อต้งหนังสือพิมพ์ขึ้นที่มิลานโดยมีนดยบายสนับสนุนให้อิตาลีเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 1 มุสโสลินีได้รับบาดเจ็บจากการเข้าร่วมรบในสงคราโลกครั้งที่ 1 และกลับมาอาศัยอยู่ที่มิลาเพื่อทำหนังสือพิมพ์ และในช่วงนี้เองที่มุสโสลินีตัดขาดจากความคิดด้านสังคมนิยม
มุสโสลินีแต่งงานกับ ราเชล กูดิ มีลูกด้วยกัน 5 คนเขาเป้นนักเขียนบทวิจารณ์ทางการเมืองและนักพูดฝีปากเอ และมีผลงานในการต่างหนังสือหลายเล่ม
ฟาสซิสต์ เป็นกลุ่มการเมืองที่มีนโยบายผสมระหว่างแนวความคิดทางการเมืองของกลุ่มซินดิคาลิสม์กับแนวความคิดชาตินิยมเข้าด้วยกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต่อตานคอมมูนิสต์ ต่อต้านรัฐบาลที่ไร้สมรรถภาพและเรียร้องสิ่งที่อิตาลีความได้รบจากการทำสนธิสัญญาสงบศึกทีกรุงปารีส ฟาสซิสต์ เป็นภาษาละตินและเป็นคำพนูพจน์ซึ่งหมายถึง กลุมแขนงไม้ ซึ่งถูกมัดรวมเข้ากับด้ามขวานเป็นเครื่องหมายแห่งอำนาจในสมัยดรมันโบราณ ลัทธิฟาสซิสต์ มีความเป็นชาตินยม ไม่ยอมรับอำนาจอธิปไตยของประชาชน แต่จะให้ประชาชนยกย่องและเชื่อฟังผู้นำโดยผุ้นำสัญญาที่จะมอบความก้าวหน้าให้แก่ผุ้ที่จงรักภักดีต่อผู้นำ ถือว่ารัฐเป็นสิ่งสูงสุด ไม่เชื่อในกรปกครองระบอบประชาธิปไตยเพราะคิดวาเป็นการปกครองที่ขาดประสิทธิภาพ เพราะต้องมีการวิพากษ์วิจารณ์และต้องยอมรับมติของเสียงส่วนใหญ่ จึงล่าข้า การปกครองอย่างเข้มงวดจึงปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชน ถูกปลูกฝั่งให้เกิดความหลงชาติดดยการดูถูกเชื้อชาติอื่นว่ามีระดับความเจริญต่ำกว่า มีนดยบายทำลายชนเชื้อชาติอื่นๆ ที่ด้อยกว่า
สมาชิกฟาสซิสต์เป็นกลุ่มที่ยกย่องความรุ่งเรืองในอดีตของจักรวรรดิดรมันภายในพรรคมีกองกำลังติดอาวธซึ่งเป็นที่เกรงขามและมีชื่อเสียงในหมุ่ประชาชน
ฟาสซิสต์โจมตีพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งได้รับความนิยมในขณะนั้น การก่อกวนศัตรูทางกาเมืองของกองกำลังฟาสซิสต์ทำให้อิตาลีเสมือนตกอยู่ในสถานการณ์ของสงครามกลางเมือง การแสดงความเป็นชาตินิยมของมุสโสลินีจึงทำให้ประชาชนและกลุ่มผุ้นำทางการเมืองรุ่นเก่าเริ่มให้ความเชื่อถือต่อมุสดสลินี และคิดว่าฟาสซิสต์จะสามารถยุติความวุ่นวายที่เกิดขึ้นได้ มุสโสลินีเห็นว่าพรรคฟาสซิสต์มีอำนาจสูงสุดในบรรดากลุ่มการเมืองจึงทดสอบการใช้อำนาจโดยสั่งกองกำลังพรรคฟาสซิสต์เดินทัพสู่กรุงโรม เมื่อเป็นดังนั้น พระเจ้าวิคเตอร์ เอมมานูเอลที่ 3 จึงมอบหน้าที่ให้มุสโสลินีเป็นผู้จัดตั้งรัฐบาลผสม ดดยมีจุดมุ่งหมายให้รฐบาลผสมทำหน้าทีป้องกันการปฏิวติของพวกคอมมูนิสต์ในอิตาล
กฏหมายอเซอร์โบ มุสโสลินีปกครองในระบบรัฐบาลผสมด้วยความยุงยากแต่กองกำลังของพรรคฟาสซิสต์ที่ใช้วิธีการรุนแรงยังคงเป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ทำให้สามารถควบคุมสถานะการให้อยู่ในภาวะปกคติ และเพื่อเป็นการคงไว้ซึ่งอำนาจทางการปกครอง เขาจึงบังคับให้รัฐสภายอมรับกฎหมายอเซอร์โบ ซึ่งเป็นกฎหมายที่เปิดโอกาสให้มุสสลินีสามารถเปลี่ยนการปกรองอิตาลีสู่ระบอบเผด็จการ
มุสโสลินีใช้วิธีรุนแรงต่อศัตรุทางการเมือง กรณีนักการเมืองฝ่ายค้านคนหนึ่งถูกทำร้ายกระทั่งไม่สามารถเข้าร่วมประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ นักการเมืองสังกัดพรรคดังกล่าวจึงโจมตีและเขียนบทความประนามการกระทำอันเหี้ยมโหดของพรรคฟาสซิสต์ รวมทั้งเปิดโปงการทุจริตในรัฐบาล ซึ่งต่อมาก็ถูกฆ่าตาย และสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชนชาวอิตาลี พระเจ้าวิคเตอร์ ไม่ทรงตัดสินพระทัยอย่างใดอย่างหนึ่ง มุสโสลินีจึงลดความกดดันทางการเมืองโดยการขับไล่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการตายดังกล่าวเป็นการชั่วคราวเมื่อสถานะการณ์สงบลงจึงต่างตั้งกลัเข้ารับราชการดังเดิม
พรรคฟาสวิสต์กลายเป็นพรรคการเมืองที่มีอำนาจเด็ดขาดเพียงพรรคเดียว อิตาลีตกอยู่ภายใต้การปกครองในระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ เสรีภาพนักหนังสือพิมพ์หมดไปเพราะถูกควบคุมโดยรัฐบาล สหภาพกรรมกรสูญเสียอำนาจ การนัดหยุดพงายเป็นสิ่งผิดกฏหมาย อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ควบคุมโดยรัฐ ระบบทุนเสรีนิยมหมดไปจากอิตาลี
มุสดสลินีเป้นนักพูดที่มีความสามารถ และมักจะใช้วะธีการกล่าวปราศัยปลุกเร้าความรู้สกของประชาชนให้หันมานิยมในตัวเขา เขาใช้วิธีการจัดสวนสนามเพื่อแสดงออกถึงความรุ่งเรืองของอิตาลีภายใตการนำของของฟาสซิสต์
มุสโสลินีแก้ปัญหาการว่างงานโดยการเร่งสร้างระบบสาธารณูปโภค และปรัปรุงเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถเลี้ยงตนเองได้ การทำอุตสาหกรรมภายในประเทศได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลโดยตรง มีการตั้งกำแพงภาษีศุลกากร เพื่อป้องกันการแข่งขันจากสินค้าภายนอกประเทศ และสงเสริมเกษตรกรรมโดยนำเอาวิธีการเกษตรสมยใหม่มาใช้
มุสโสลินียุติความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลอิตาลีกับสันตปาปาซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นตั้งแต่ทหารอิตาเลียนยึดกรุงโรมในปี 1870 มีการตกลงทำสัญญาระหว่างรัฐบาลอิตาลีกับองค์สันตปาปา ในการนี้มุสโสลินีได้รับการยกย่องจากชาวอิตาเลียน และองค์สันตปาปาก็ทรงพอพระทัย
มุสโสลินีมนโยบายขยายอำนาจอิตาลีออกไปภายนอกเพื่อทe ให้อิตาลีกลายเป็นประเทสมหาอำนาจ
วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2556
Adlof Hitler
กำเนิด วันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 1889 เป็นบุตรคนที่ 3 ของครอบครัว บิดารับราชการเป็นนาย ด่านมารดาคือชาวเมืองบราวเนา พรมแดนของประเทศเยอรมนีและออสเตรีย เป็นบุคคลที่เรียนดีในวัยเด็กบิดามารดาจึงให้เการสนับสนุนทางการศึกษา ต่อมาเบื่อหน่ายต่อการเรียนและหันมาสนใจวิชาดนตรีและมีชื่อเสียงในการร้องเพลง เขาจบมัธยมปีที่ 4 และบิดาถึงแก่กรรมเขาจึงเขาแสวงหาโชคที่เวียนนา ประทังชีวิตด้วยการเขียนภาพขายซึ่งมีรายได้พอประมาณ
ฮิตเลอร์ถูกหมายจับฐานหนีการเกณฑ์ทหารเขาใช้เวลหลายเดือนในการพยายามทำความเข้าใจกับทางการออสเตรียและสุดท้ายหลุดพ้นจากข้อกล่าวหาด้วยโดยฮิตเลอร์เดินทางกลับไปรายงานตัวที่ศูนืกลางกองบัญชาการที่เมืองซัลซ์บวร์กประเทศออสเตรีย และได้พบเอกสารที่บ่งว่า “ฮิตเลอร์สุขภาพไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถรับราชการทหารได้”
28 มิถุนายน 1914 รัชทายาทออสเตรียและพระชายาถูกลอบปลงพระชนม์ที่เมืองซาราเจโว และเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
ฮิตเลอร์สมัครเข้าเป้นทหารของประเทศเยอมนีสังกัดกองพันทหารราบ ทำหน้าที่เป็นทหารสื่อสารออกรบแนวรบด้านตะวันตกเข้าได้รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมในการช่วยผู้บังคับบัญชาของตน ซั่งได้รับบาดเจ็บสาหัญให้รอดพ้นความตาย เขาได้รับบาดเจ็บทั้งจากสะเก็ดระเบิดและก๊าชพิษในสงครามครั้งนี้
พรรคนาซี หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 พรรคกรรมกร-ชาติสังคมนิยมเยอรมัน ซึ่งรู้จักกันในนาม พรรคนาซี ถือกำเนิดขึ้นโดยการวมตัวของพรรคการเมือง 2 พรรค คือพรรคชาติสังคมนิยม และพรรคกรรมกรเยอมันเข้าด้วยกันเมื่อวันที่ 5 มกราคม 1919 โดยวิศวกรชาวเยอมัน และนักหนังสือพิมพ์ รวบรวมกรรมกรชาตินิยมจัด ในแคว้นบาเยิร์น หรือบาวาเรีย แล้วจัดตั้งพรรคขึ้น
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้รับฟังการอภิปรายของพรรคฯ ในฐานะผู้สังเกตการณ์จาฝ่ายทหารของรัฐบาล หลังการฟังอภิปราย ฮิตเลอร์ได้รับการทาบทามให้เข้าร่วมขบวนการกับกรรมกรเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ตอบรับทันที่ เมื่อฮิตเลอร์มีโอกาสพูดในการอภิปรายเขามีชื่อเสียงโงดังในฐานะนักพูดที่ถูกใจคนฟัง
ปลาย ปี 1923 สภาวะเศรษฐกิจเยอมนีไม่ดีขึ้น ฮิตเลอร์กลาวดจมตีรัฐบาลที่ยอมให้ชาวยิวในประเทศมีสิทธิและเสรีภาพเท่านเทียมชาวเยอรมัน เขาโจมตีนโยบายต่างประเทศที่รัฐบาลพยายามประนีประนอมและหาทางเป็นมิตรกับฝรังเศส และโจมตีการฉ้อราษฎร์บังหลวงของข้าราชการด้วย
ในขณะที่นายกเทศมนตรีแคว้นบาวาเรีย กำลังกล่าวสุทรพจฯขักชวข้าราชการและนักธุรกิจของแค้วน ต่อต้านรัฐบาลเพื่อแยกแคว้นบาวาเรียออกจากการปกครองของสาธารณรัฐเยอรมัน ณ ห้องประชุมของร้านเบียร์ ที่มิวนิค ฮิตเลอร์ได้ถือโอกาสนำกำลังบุกเข้าจับ และขู่ให้ร่วมมือกับพรรคนาซี ในการยึดอำนาจของรัฐ เช้าวันรุ่งขึ้น ฮิตเลอร์ร่วมมือกับนายพล เอริคช์ ลูเดนดอร์ฟ และพลพรรคนาซีเดินขบวนไปยังที่การนายกเทศมนตรี เกิดการปะทะระหว่างทหารตำรวจกับพลพรรคนาซี นาซีได้รับรับบาดเจ็บจำนวนมา และเสียชีวิต 16 คน อดอร์ฟ ฮิตเลอร์ ถูกยิงบาดเจ็บและถูกจับในเวลาต่อมา ศาลบาวาเรีย สั่งจำคุกฐานผู้ทำการกบฎเป็นเวลา 5 ปี การกบฎในครั้งนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม กบฎฮิตเลอร์ - เดนดอร์ฟ หรือ กบฏในห้องเบียร์ ฮิตเลอร์ได้รับนิรโทษกรรมเมืองวนที่ 20 ธันวาคม ปี 1924
หลังจากฮิตเลอร์ได้รับการปล่อยตัวเขารวบรวมสมาชิกพรรคนาซีขึ้นมาใหม่และใช้นโยบายที่รัดกุมและรอบคอบมากยิ่งขึ้นเขาเปลี่ยนนโยบายจากการใช้กำลังในการปฏิวัติเป็นการต่อสู้ในสภา เขาพยายามหาสมาชิกพรรคทั้งประเทศเยอรมันและได้สมาชิกเพิ่มเป็นจำนวนแสนซึ่งส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางและทหารปลดประจำการที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมในสมัยนั้นได้ คนพวกนี้จึงมอบความหวังให้กับพรรคนาซีซึ่งมีความเป้นชาตินิยมจัด ถึงอย่างไรในการเลื่อตั้งพรคนาซีก็ยังคงไรบคะแนนเสียน้อยมีผุ้แทนเพี่ยง 12 คน พรรคคอมมิวนิสต์ มีผุ้แทนถึง 54 คน และในการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นปรากฎการณ์ทางการเมืองโดยพรรคสังคมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้าย ได้คะแนนเสียงข้างมากและโอกาสจัดตั้งรัฐบาล
ปี 1930 รัฐบาลเยอรมันไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจการเงินของประเทศได้ มีคนว่างงานจำนวนมาก ผู้นำรัฐบาลจึงลาออกจากตำแหน่ง ไฮน์ริคช์ บรินนิ่ง ได้ทำการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อีกเช่นกัน จึงประกาศภาวะฉุกเฉิน รัฐสภาประนามการใช้อำนาจฉุกเฉินและประกาศไม่ไว้วางใคณะรัฐบาล บรีนนิ่งจึงยุบสภา ในการเลือกตั้งครั้งใหม่นี้พรคนาซีได้รับการสนับสนุนและได้รับคะแนนเสียงเข้ามาเป็นอันดับสองในสภา ได้ทีนั่งในสภาถึง 107 ที่นั่ง
ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเยอรมัน พรรคนาซีได้ทำการหาเสียงอย่างจริงจังแต่ทางพรรคยังขาดผู้สมัครที่มีคุณสมบัติและมีชื่อเสียงที่เป็นที่ยอมรับของประชาชนทั่วไป ทั้งเนี้เพราะฮิตเลอร์ซึ่งเป็นผู้นำคนสำคัญของพรรค ยังไม่ได้รับการโอนสัญชาติเป็นเยอรมัน แต่เมือได้สัญชาติเยอรมันแล้วจึงทำการสมัครเข้าแข่งขันในการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเยอรมัน ในนามพรรคนาซี ในการเลือกตั้งครั้งนี้ฮินเดนบวร์กได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งปรธานาธิบดี
ฮิตเลอร์เถลิงอำนาจ 30 มกราคม 1933 ประธานาธิบดีฮินเดนบวร์ก แต่งตั้งให้ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่างนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเยอรมนี โดยมีฟรานซ์ ฟอน ปาเปน เป็นรองนายกรัฐมนตรี โดยตั้งความหวังว่า ฟอน ปาเปน จะช่วยถ่วงดุลอำนาจและจะไม่ยอมให้ฮิตเลอร์กุมอำนาจแต่เพียงผู้เดียว เมือดำรงตำแหน่างนายกรัฐมนตรีเขาเป็นที่ชื่นชอบของประชาชน ฮิตเลอร์แสดงให้เห็นว่าเขาต้องการที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ของประเทศอย่างจริงจัง เขาแต่งตั้งนักการเมืองจากพรรคต่าง ๆ เข้าร่วมในคณะรัฐบาลของเขา พร้อมประกาศให้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรขึ้นใหม่
5 มีนาคม 1933 มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผุ้แทนฯ พรรคนาซีได้เสียงข้างมากและได้พรรคชาตินิยมเยอรมัน ในการร่วมจัดตั้งรัฐบาลผสม เมื่อเปิดประชุมรัฐสภา ฮิเลอได้เข้รับตำแหน่างนายกรัฐมนตรี ฮิตเลอร์ได้ใช้อำนาจสั่งการแก้ไขปัญหาและกำจัดความวุ่นวายต่าง ๆ อย่างเด็ดขาด จึงเป็นการสิ้นสุดของสธารณรัฐเยอรมันและเป็นการสภาปนาอาณาจักรเยอรมันที่ 3
ฮิตเลอร์ค่อยๆ กำจัดพรรคการเมืองที่ไม่ใช้นาซีด้วยวิธีการสั่งปิดและพรรคที่ถูกกลั่นแกล้งโดยรัฐบาลก็ปิดตัวเองไปบ้างแม้กระทั่งพรรคร่วมรัฐบาลก็ปิดตัวเองลงเช่นกัน ฮิตเลอร์จึงนำสมาชิกพรรคนาซีเข้าดำรงตำแหน่งแทน ภายในเวลาเพียง 6 เดือนเขาจึงกำจัดพรรคการเมืองต่างๆ ให้หมดไป
ฮิตเลอร์เริ่มทำการยึดอำนาจมาไว้แต่เพียงผู้เดียวในการเลือกตั้งทั่วไปพรรคนาซีมีอำนาจทางการเงินแต่เพียงพรรคเดียวจึงได้รับคะแนนเสียงสูงถึง 92 เปอเซนต์กุมเสียงข้ามากในสภาอยางเด็ดขาด เขากล่าวว่าสภาสูงไม่ได้สร้างประโยชน์อันใดแก่ประเทศจึงสั่งยุบสภาสูงเป็นการประหยัดงบประมาณของชาติ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง ไฮน์ริกช์ ฮิมเลอร์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าตำรวจลับ พร้อมอนุมัติงลประมาณทางการทหารและการสร้างอาวุธ นักการเมืองจากพรรคต่าง ๆ เกรงว่าฮิตเลอร์และนาซีจะเข้ามามีอิทธิพลครอบงำกองทัพของชาติจึงโจตีปละประท้วง
ฟรานซ์ ฟอน ปาเปน รองนายกรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาลผสมของฮิตเลอร์ ได้แสดงสุนทรพจน์ กล่าวโจมตีนดยบายทั่วๆ ไปของพรรคนาซี โดยฌฉพาะนโยบายการสร้างอาวุธสงคราม หลังจากการกล่าวโจมตีนั้นไม่กีวันผู้ที่เขียนสุนทรพจน์ดังกล่าวก็ถูกจับและประหารชีวิตในเวลาต่อมา ฮิตเลอร์พยายามยึดอำนาจไว้แต่เพียงผู้เดียวและเริ่มระแวง เขาสั่งจับและประหารผู้ที่เขาระแวงด้วยข้อหา “คิดก่อการกบฎ” ทั่งผู้ที่เป็นผู้ริเริ่มการจัดตั้งพรรคนาซีและนักการเมือง บุคคลสำคัญๆ ต่าง โดยไม่ได้รับการสอบสวนจากศาลสถิตย์ยุติธรรม คาดกันว่าตำรวจลับของนาซีทำการฆาตกรรมหว่า พันคนในวันนั้น ฟอน ปาเปน ถูกสั่งจับ ประธานาธิบดีฮินเดนบวร์ก ถึงแก่อนิจกรรม ฮิตเลอร์จึงรวมตำแหน่างรัฐมนตรีและประธานธิบดีเข้าด้วยกัน.. และเรียตำแหนางใหม่ว่า ฟีเร่อร์ แปลว่า “ผู้นำ” แต่นั้นมาทหารเยอรมันต้องทำการปฏิญาณตนต่อฮิตเลอแทนธงชาติโดยกล่าวว่า “จะจงรักภักดีและรับใช้ท่านผู้นำ” ทหารส่วนใหญ่วางตัวเป็นกลางต่อสถานการณ์นี้ ฟรานซ์ ฟอน ปาเปน ถูกปลดจากตำแหน่งและส่งไปเป็นเอกอัครราชทูตเยอรมันประจำออสเตรีย ฮิตเลอร์ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนเยอรมัน ซึ่งได้ทำการลงประชามติให้ฮิตเลอร์มีอำนาจตัดสินใจ โดยไม่ต้องของความเห็นชอบจากสภ ฮิตเลอร์จึงสั่งปลดสมาชิกรัฐสภาและยุบสภา ฮิตเลอร์กุมอำนจทางการเมืองได้ทั้งหมด
ฮิตเลอร์ถูกหมายจับฐานหนีการเกณฑ์ทหารเขาใช้เวลหลายเดือนในการพยายามทำความเข้าใจกับทางการออสเตรียและสุดท้ายหลุดพ้นจากข้อกล่าวหาด้วยโดยฮิตเลอร์เดินทางกลับไปรายงานตัวที่ศูนืกลางกองบัญชาการที่เมืองซัลซ์บวร์กประเทศออสเตรีย และได้พบเอกสารที่บ่งว่า “ฮิตเลอร์สุขภาพไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถรับราชการทหารได้”
28 มิถุนายน 1914 รัชทายาทออสเตรียและพระชายาถูกลอบปลงพระชนม์ที่เมืองซาราเจโว และเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
ฮิตเลอร์สมัครเข้าเป้นทหารของประเทศเยอมนีสังกัดกองพันทหารราบ ทำหน้าที่เป็นทหารสื่อสารออกรบแนวรบด้านตะวันตกเข้าได้รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมในการช่วยผู้บังคับบัญชาของตน ซั่งได้รับบาดเจ็บสาหัญให้รอดพ้นความตาย เขาได้รับบาดเจ็บทั้งจากสะเก็ดระเบิดและก๊าชพิษในสงครามครั้งนี้
พรรคนาซี หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 พรรคกรรมกร-ชาติสังคมนิยมเยอรมัน ซึ่งรู้จักกันในนาม พรรคนาซี ถือกำเนิดขึ้นโดยการวมตัวของพรรคการเมือง 2 พรรค คือพรรคชาติสังคมนิยม และพรรคกรรมกรเยอมันเข้าด้วยกันเมื่อวันที่ 5 มกราคม 1919 โดยวิศวกรชาวเยอมัน และนักหนังสือพิมพ์ รวบรวมกรรมกรชาตินิยมจัด ในแคว้นบาเยิร์น หรือบาวาเรีย แล้วจัดตั้งพรรคขึ้น
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้รับฟังการอภิปรายของพรรคฯ ในฐานะผู้สังเกตการณ์จาฝ่ายทหารของรัฐบาล หลังการฟังอภิปราย ฮิตเลอร์ได้รับการทาบทามให้เข้าร่วมขบวนการกับกรรมกรเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ตอบรับทันที่ เมื่อฮิตเลอร์มีโอกาสพูดในการอภิปรายเขามีชื่อเสียงโงดังในฐานะนักพูดที่ถูกใจคนฟัง
ปลาย ปี 1923 สภาวะเศรษฐกิจเยอมนีไม่ดีขึ้น ฮิตเลอร์กลาวดจมตีรัฐบาลที่ยอมให้ชาวยิวในประเทศมีสิทธิและเสรีภาพเท่านเทียมชาวเยอรมัน เขาโจมตีนโยบายต่างประเทศที่รัฐบาลพยายามประนีประนอมและหาทางเป็นมิตรกับฝรังเศส และโจมตีการฉ้อราษฎร์บังหลวงของข้าราชการด้วย
ในขณะที่นายกเทศมนตรีแคว้นบาวาเรีย กำลังกล่าวสุทรพจฯขักชวข้าราชการและนักธุรกิจของแค้วน ต่อต้านรัฐบาลเพื่อแยกแคว้นบาวาเรียออกจากการปกครองของสาธารณรัฐเยอรมัน ณ ห้องประชุมของร้านเบียร์ ที่มิวนิค ฮิตเลอร์ได้ถือโอกาสนำกำลังบุกเข้าจับ และขู่ให้ร่วมมือกับพรรคนาซี ในการยึดอำนาจของรัฐ เช้าวันรุ่งขึ้น ฮิตเลอร์ร่วมมือกับนายพล เอริคช์ ลูเดนดอร์ฟ และพลพรรคนาซีเดินขบวนไปยังที่การนายกเทศมนตรี เกิดการปะทะระหว่างทหารตำรวจกับพลพรรคนาซี นาซีได้รับรับบาดเจ็บจำนวนมา และเสียชีวิต 16 คน อดอร์ฟ ฮิตเลอร์ ถูกยิงบาดเจ็บและถูกจับในเวลาต่อมา ศาลบาวาเรีย สั่งจำคุกฐานผู้ทำการกบฎเป็นเวลา 5 ปี การกบฎในครั้งนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม กบฎฮิตเลอร์ - เดนดอร์ฟ หรือ กบฏในห้องเบียร์ ฮิตเลอร์ได้รับนิรโทษกรรมเมืองวนที่ 20 ธันวาคม ปี 1924
หลังจากฮิตเลอร์ได้รับการปล่อยตัวเขารวบรวมสมาชิกพรรคนาซีขึ้นมาใหม่และใช้นโยบายที่รัดกุมและรอบคอบมากยิ่งขึ้นเขาเปลี่ยนนโยบายจากการใช้กำลังในการปฏิวัติเป็นการต่อสู้ในสภา เขาพยายามหาสมาชิกพรรคทั้งประเทศเยอรมันและได้สมาชิกเพิ่มเป็นจำนวนแสนซึ่งส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางและทหารปลดประจำการที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมในสมัยนั้นได้ คนพวกนี้จึงมอบความหวังให้กับพรรคนาซีซึ่งมีความเป้นชาตินิยมจัด ถึงอย่างไรในการเลื่อตั้งพรคนาซีก็ยังคงไรบคะแนนเสียน้อยมีผุ้แทนเพี่ยง 12 คน พรรคคอมมิวนิสต์ มีผุ้แทนถึง 54 คน และในการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นปรากฎการณ์ทางการเมืองโดยพรรคสังคมประชาธิปไตย ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้าย ได้คะแนนเสียงข้างมากและโอกาสจัดตั้งรัฐบาล
ปี 1930 รัฐบาลเยอรมันไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจการเงินของประเทศได้ มีคนว่างงานจำนวนมาก ผู้นำรัฐบาลจึงลาออกจากตำแหน่ง ไฮน์ริคช์ บรินนิ่ง ได้ทำการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อีกเช่นกัน จึงประกาศภาวะฉุกเฉิน รัฐสภาประนามการใช้อำนาจฉุกเฉินและประกาศไม่ไว้วางใคณะรัฐบาล บรีนนิ่งจึงยุบสภา ในการเลือกตั้งครั้งใหม่นี้พรคนาซีได้รับการสนับสนุนและได้รับคะแนนเสียงเข้ามาเป็นอันดับสองในสภา ได้ทีนั่งในสภาถึง 107 ที่นั่ง
ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเยอรมัน พรรคนาซีได้ทำการหาเสียงอย่างจริงจังแต่ทางพรรคยังขาดผู้สมัครที่มีคุณสมบัติและมีชื่อเสียงที่เป็นที่ยอมรับของประชาชนทั่วไป ทั้งเนี้เพราะฮิตเลอร์ซึ่งเป็นผู้นำคนสำคัญของพรรค ยังไม่ได้รับการโอนสัญชาติเป็นเยอรมัน แต่เมือได้สัญชาติเยอรมันแล้วจึงทำการสมัครเข้าแข่งขันในการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเยอรมัน ในนามพรรคนาซี ในการเลือกตั้งครั้งนี้ฮินเดนบวร์กได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งปรธานาธิบดี
ฮิตเลอร์เถลิงอำนาจ 30 มกราคม 1933 ประธานาธิบดีฮินเดนบวร์ก แต่งตั้งให้ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่างนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเยอรมนี โดยมีฟรานซ์ ฟอน ปาเปน เป็นรองนายกรัฐมนตรี โดยตั้งความหวังว่า ฟอน ปาเปน จะช่วยถ่วงดุลอำนาจและจะไม่ยอมให้ฮิตเลอร์กุมอำนาจแต่เพียงผู้เดียว เมือดำรงตำแหน่างนายกรัฐมนตรีเขาเป็นที่ชื่นชอบของประชาชน ฮิตเลอร์แสดงให้เห็นว่าเขาต้องการที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ของประเทศอย่างจริงจัง เขาแต่งตั้งนักการเมืองจากพรรคต่าง ๆ เข้าร่วมในคณะรัฐบาลของเขา พร้อมประกาศให้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรขึ้นใหม่
5 มีนาคม 1933 มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผุ้แทนฯ พรรคนาซีได้เสียงข้างมากและได้พรรคชาตินิยมเยอรมัน ในการร่วมจัดตั้งรัฐบาลผสม เมื่อเปิดประชุมรัฐสภา ฮิเลอได้เข้รับตำแหน่างนายกรัฐมนตรี ฮิตเลอร์ได้ใช้อำนาจสั่งการแก้ไขปัญหาและกำจัดความวุ่นวายต่าง ๆ อย่างเด็ดขาด จึงเป็นการสิ้นสุดของสธารณรัฐเยอรมันและเป็นการสภาปนาอาณาจักรเยอรมันที่ 3
ฮิตเลอร์ค่อยๆ กำจัดพรรคการเมืองที่ไม่ใช้นาซีด้วยวิธีการสั่งปิดและพรรคที่ถูกกลั่นแกล้งโดยรัฐบาลก็ปิดตัวเองไปบ้างแม้กระทั่งพรรคร่วมรัฐบาลก็ปิดตัวเองลงเช่นกัน ฮิตเลอร์จึงนำสมาชิกพรรคนาซีเข้าดำรงตำแหน่งแทน ภายในเวลาเพียง 6 เดือนเขาจึงกำจัดพรรคการเมืองต่างๆ ให้หมดไป
ฮิตเลอร์เริ่มทำการยึดอำนาจมาไว้แต่เพียงผู้เดียวในการเลือกตั้งทั่วไปพรรคนาซีมีอำนาจทางการเงินแต่เพียงพรรคเดียวจึงได้รับคะแนนเสียงสูงถึง 92 เปอเซนต์กุมเสียงข้ามากในสภาอยางเด็ดขาด เขากล่าวว่าสภาสูงไม่ได้สร้างประโยชน์อันใดแก่ประเทศจึงสั่งยุบสภาสูงเป็นการประหยัดงบประมาณของชาติ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง ไฮน์ริกช์ ฮิมเลอร์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าตำรวจลับ พร้อมอนุมัติงลประมาณทางการทหารและการสร้างอาวุธ นักการเมืองจากพรรคต่าง ๆ เกรงว่าฮิตเลอร์และนาซีจะเข้ามามีอิทธิพลครอบงำกองทัพของชาติจึงโจตีปละประท้วง
ฟรานซ์ ฟอน ปาเปน รองนายกรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาลผสมของฮิตเลอร์ ได้แสดงสุนทรพจน์ กล่าวโจมตีนดยบายทั่วๆ ไปของพรรคนาซี โดยฌฉพาะนโยบายการสร้างอาวุธสงคราม หลังจากการกล่าวโจมตีนั้นไม่กีวันผู้ที่เขียนสุนทรพจน์ดังกล่าวก็ถูกจับและประหารชีวิตในเวลาต่อมา ฮิตเลอร์พยายามยึดอำนาจไว้แต่เพียงผู้เดียวและเริ่มระแวง เขาสั่งจับและประหารผู้ที่เขาระแวงด้วยข้อหา “คิดก่อการกบฎ” ทั่งผู้ที่เป็นผู้ริเริ่มการจัดตั้งพรรคนาซีและนักการเมือง บุคคลสำคัญๆ ต่าง โดยไม่ได้รับการสอบสวนจากศาลสถิตย์ยุติธรรม คาดกันว่าตำรวจลับของนาซีทำการฆาตกรรมหว่า พันคนในวันนั้น ฟอน ปาเปน ถูกสั่งจับ ประธานาธิบดีฮินเดนบวร์ก ถึงแก่อนิจกรรม ฮิตเลอร์จึงรวมตำแหน่างรัฐมนตรีและประธานธิบดีเข้าด้วยกัน.. และเรียตำแหนางใหม่ว่า ฟีเร่อร์ แปลว่า “ผู้นำ” แต่นั้นมาทหารเยอรมันต้องทำการปฏิญาณตนต่อฮิตเลอแทนธงชาติโดยกล่าวว่า “จะจงรักภักดีและรับใช้ท่านผู้นำ” ทหารส่วนใหญ่วางตัวเป็นกลางต่อสถานการณ์นี้ ฟรานซ์ ฟอน ปาเปน ถูกปลดจากตำแหน่งและส่งไปเป็นเอกอัครราชทูตเยอรมันประจำออสเตรีย ฮิตเลอร์ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนเยอรมัน ซึ่งได้ทำการลงประชามติให้ฮิตเลอร์มีอำนาจตัดสินใจ โดยไม่ต้องของความเห็นชอบจากสภ ฮิตเลอร์จึงสั่งปลดสมาชิกรัฐสภาและยุบสภา ฮิตเลอร์กุมอำนจทางการเมืองได้ทั้งหมด
วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556
World Communization
เป็นนโยบายที่ถูกกำหนดขึ้นด้วยปัจจัยสำคัญสองประการเกี่ยวเนื่องกันเป็นอย่างมาก คือ ปัจจัยว่าด้วยความมั่นคงปลอดภัยของรุสเซียเองและปัจจัยว่าด้วยความผูกพันต่อลัทธิอุดมการณืคอมมิวนิสต์
พรรคคอมมิวนิสต์ถือลัทธิมาร์กซ์เป็นอุดมการหลักของตน เสมือนคัมภีร์แม่บทของการปฏิวัติตนเองและปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์
ลัทธิมาร์กซ์ คาร์ล มาร์กซ์ เป็นนักทฤษฎีที่มีบทบาทเฉพาะในกิจกรรมของสันนิบาตคอมมิวนิสต์ และสมคมกรรมกรสากลเท่านั้น โดยเป็นผู้ร่างโครงการของกิจกรรมเหล่านั้น ซึ่งเริ่มต้นด้วยประโยคทีลื่อลั่นว่า “ประวัติศาสตร์ของสังคมทั้งหลายในอดีต คือประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ระหว่างชนชั้น” ข้อความนี้คือแกนกลางทฤษฎีประวัติศาสตร์ในทรรศนะของมร์กซ์ซึ่งปรากฎในผลงานเกือบทุกประเภทของเขา
โดยเนื้อแท้ ลัทธิมาร์กซ์เป็นทฤษฎีมุ่งสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งมาร์กซ์กล่างอ้างว่า เป็นลัทธิสังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ แต่ความคิดของเขาส่วนใหญ่มิได้เกิดจากแนวความคิดริเริ่มของเขาเอง หากแต่ล้วนได้รับอิทธิพลของหลักปรัชญาของเยอรมนี ซึ่งผสมผสานกับแนวคิดอิงสิ่งลี้ลับมหัศจรรญืเหลือเชื่อที่กำลังจะมลายไปภายใต้การคืบคลานเข้ามาแทนที่ของทรรศนะแนววิทยาศาสตร์ ลัทธินิยมเฮเกลมีลักษณะแนวคิดังกล่าวและย่อมมีอิทธิพลตอ่มาร์กซ์ในการสร้างทฤษฎีประวัติศาสตร์ มาร์กซ์ได้สร้างทฤษฎีใหม่ของเขาเองที่เกี่ยวกับสังคมและวิวัฒนาการของสังคม เขาด้ชี้แนะว่าไม่มีนักปรัชญาผู้ใดคิดที่จะแสวงหาความเกี่ยวเนื่องกันของสิ่งแวดล้อมเชิงวัตถุนิยมของเยอรมนีทฤษฎีประวัติศาสตร์แบบมาร์กซ์เริ่มปรากฎรูปลักษณะเด่นชัดโดยผสมผสานแนวคิดหลากหลายที่ล้วนไม่สมบูรณ์แบบในทรรศนะของมาร์กซ์
มาร์กซ์ ได้เพรียพยายามเป็นอย่างยิ่งที่จะชี้แนะว่า สรรพสิ่งทั้งหลายนั้นมิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแต่ล้วนเกิดขึ้นตามแบบอย่างี่เรียกว่า ลัทธิวัตถุนิยมเชิงวิภาษโดยบังเอิญเขากล่าวอ้างว่า “วิธีวิภาษของข้าพเจ้ามิไตกต่างไปจากวิธีเฮเกลเท่านั้น หากแต่ว่ายังเป็นวิธีที่เป็นตรงกันข้ามกับวิธีของเฮเกลด้วย “หลักการแห่งแบบอย่างของมาร์กซ์นั้นคือแนวสามเหลี่ยมแห่งการตั้งข้อสมมุติฐาน ความขัดแย้งและความสรุปและกฎเกณฑ์แห่ง “การที่ปริมาณแปรรูปเป็นคุณภาพ” เขาเน้นว่า พลังเศรษฐกิจที่มีส่วนสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสรรพสิ่งทั้งหลายย่อมชี้ขาดวิวัตนาการแห่งประวัติศาสนตร์ด้วย เพราะ “สิ่งแรกสุดในการดำรงอยู่ของมวลมนุษย์และสิ่งแรกสุดในการสร้างประวัติศาสตร์ทั้งหลายของตนขึ้นภายใต้ศาสตร์ของตนตามความพอใจส่วนตน..หากแต่สร้างประวัติศาสตร์ของตนภายใต้สภาวะแวดล้อมของตน”
มาร์กแสดงขบวนการแห่งทฤษฎีปฏิวัติตามแนวคิดของตนว่าในแต่ละยุคสนมัย จะมีการต่อสู้ระหว่างชนชั้นซึ่งสิ้สุดโดยชัยชนะของชนชั้นกรรมาชีพ และความพ่ายแพ้ของชนชั้นกลาง เพื่อให้บรรลุถึงระบอบคอมมิวนิสต์ มาร์กซ์ได้ร่างโครงการและเสนอกลวิธีปฏิวัตสำหรับชนชั้นกรรมาชีพ กรรมกรต้องเริ่มด้วยการต่อสู้ด้วยตนเองเป็นเอกเทศ และวจัดตั้งองค์กร ต่อจากนั้นก็จัดตั้งพรรคการเมือง ท้ายสุด เปิดการต่อสู้ระหว่างชนชั้นฝ่ายนายทุนเพื่อสถาปนาระบอบเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพในบั้นปลาย ชนชั้นกรรมาชีพจะเป็นชนชั้นปกรองเฉพาะกาลในช่วงสมัยสังครมนิยมจนกว่าจะบบรลุถึงระบอบคอมมิวนิสต์ อำนาจการเมืองจะค่อยๆ เลือหายไป ระบบการปกครองและรัฐไม่เป็นสิ่งที่จำเป็นอีกต่อไป ทฤษฎี “ล้มเลิกทรัพย์สินส่วนเอกชน”
ลัทธิมาร์กซ์สามารถดึงดูดใจชนชั้นกรรมาชีพ เพราะเป็นลัทธิที่มองมุ่งปัญหาประจำวัน และได้เสนอแผนการสอดคล้องตามความต้องการรีบด่วนที่กรรกรต้องการ ลัทธิมาร์กซ์ให้คำมั่นสัญญาถึงผลสำเร็จ ถึงชีวิตที่จักดีขึ้น และสัญญาที่จักหยิบยื่นสันติภาพให้แก่กรรมกรลัทธิมาร์กซ์จึงให้หนทางแก้ที่ให้ผลทางจิตวิทยา ลัทธิมาร์กซ์เป็นลัทธินิยมทีทมองมุ่งสังคมในอุดมคติสำหรับผู้คนที่เชื่อว่าตนนั้นสิ้นหว้งหมดหนทางที่จะปฏิรูปสังคมได้โดยสันติวิธี
กระบวนการปฏิวัติจะดำเนินไปโดยไม่หยุดยั้ง เป็นเหตุการ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่มีพลังใดที่จะสกัดกั้นคลื่อนปฏิวัติ ..เพื่อให้ขบวนการปฏิวัติสามารถดำนเนินรุดหน้าจึงเป็ฯหน้าที่ผูกพันประการหนึ่งสำหรับกรรมกรทั่วโลกไม่จำกัด เชือชาติ ภาษาหรือวัฒนธรรมใดไ ที่จะต้องรวมพลังกันอย่างเหนียวแน่นเป็นพลังปฏิวัติแนวหน้าที่จะต้องเกื้อกูลต่อขบวนการปฏิวัติทุกหนแห่งให้มีความเข้มแข็ง ประสานงานกันเป็นนำหนึ่งใจเดียวกันที่จะปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์ ในฐานะรุสเซียเป็นชาติแรกที่ปฏิวัติล้มระบอบจักรพรรดิและมีความมุ่งมั่นแน่วแนที่จะปฏิวัติสถาบันการเมือง เศรษฐกิจและสังไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์สมบูรณ์แบบ รุสเซียย่อมถือเป็นพันธะเกียรติยศที่จะเป็นตัวอย่างปฏิวัติและเป็นผู้นำขบวนการปฏิวัตโลก เป็นผู้เผยแพร่ลัทธิอุดมการ์ และเอื้ออำนวยส่งเสริมขบวนการปฏิวัติโลก…ด้วยอุดมการณ์นี้รุสเซียถือว่ามีพันธะต้องดำเนินการปฏิวัติโลก
พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี ขบวนการคอมมิวนิสต์ของเยอรมนีได้ตั้งสันนิบาตสปาร์ตาคัส เลนินส่งคาร์ล ราเดค เลขาธิการโคมินเทอร์นไปช่วยขบวนการคอมมิวนิสต์เยอรมนีให้ดำเนินการเร่งเร้าโฆษณาชวนเชื่อด้วยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดสันนิบาตสปาร์ตาคัสว่างแผนก่อการร้ายลุกฮือในเดือน ธันวาคม 1918 แต่ล้มเหลว รุสเซียมีความหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เยอรมนีจะสามารถปฏิวัติโค่นล้มรัฐบาลตัวแทนชนชั้นกลางนายทุนได้ แผนปฏิวัติได้ถูกำหนดให้มีขึ้นในเดือนมีนาคม ปี 1921 แต่ก็ต้องล้มเหลวอีกเนื่องจากกลุ่มทหารเรือลุกฮือกันขึ้นมาก่อการ ความพยายามของรุสเซียนับแต่นั้นล้วนล้มเหลว
การปฏิวัติโดยตั้งองค์การกสิกรสากลเสริมพลังในบัลแกเรีย ยูโกสลาเวีย มาซีโดเนีย อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศสล้วนล้มเหลวทั้งสิ้น
ขบวนการคอมมิวนิสต์ในเอเซีย เลนินพบความสำคัญของเอเซียในการเสริมสร้างขบวนการปฏิวัติโลก ได้เขียน “คำทำนายพายุปฏิวัติในตะวันออกไกล”และเสนอบทนิพนธ์ว่าด้วย “เรื่องปัญหาของชาติและอาณานิคม” ณ ที่ประชุมโคมินเทอร์ เลนินเล็งเห็น่า พลังมหาศาลของจักรวรดินิยมนายทุนตะวันตกนั้นมาจากขุมกำลังอำนาจที่ได้สร้างกันขึ้นในเอเซีย การที่จะบั่นทอนกำลังของจักวรรดินยมตะวันตกจึงต้องเริ่มด้วยการตัดเอเซียออกจากจักวรรดินิยมตะวันตกให้เด็ดขาดโดยสิ้นเชิง
เอเซียเปรียบเสมือนประตูหลังของฝ่ายจัรวรรดินิยมตะวันตก สงครามกลางเมืองในรุสเซียสอนใตระหนักว่า ภัยคุกคามมิได้มาจากตะวันตก เท่านนั้น หากยังมาจาตะวันออก คือภัยญี่ปุ่น และการที่จักรวรรดินิยมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในจีน ล้วนเป็นภัยคุคามรุสเซียอย่างยิ่ง รุสเซียจึงต้องสนใจจีนและญี่ปุ่นด้วยเหตุผลทางด้านอุดมการ์
พรรคคอมมิวนิสต์ในจีน ก่อตั้งจากความรู้สึกรักชาติ ความอัปยศอดสูที่จักวรรดินิยมตะวันตก โดยเฉพาะญี่ปุ่นได้เข้ามากอบโกยอำนาจผลประโยชน์ของจีน นักศึกษาปัญญาชนในปักกิ่งได้ก่อหวอดประท้วงมติมหาอำนาจที่ประชุมสันติภาพในปารีส ซึ่งไรบรองให้ญี่ปุ่นได้รับผลประโยชน์ของงเยอรมนีในมณฑลชานตุง ขบวนการประท้วงได้ปรากฎขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 เป็นขบวนการลัทธิชาตินิยมต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยม ดังความปรารถนาของรุสเซีย
ดร.ซุน ยัต เซ็น ประสบปัญหาควมแตแยกภายในพรรคและความล้มเหลวในการยึดอำนาจจากเหล่า
บรรดานายพลขุนศึก ดร. ซุน ยัต เซ็น ไม่อาจร้องขอความช่วยเหลือจากอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือญี่ปุ่นได้ เมื่อรุสเซียส่งนายอดอร์ฟ จอฟฟ์ มาเจรจาจึงมีการเจรจาและลงนามในข้อตกลง ซึ่งมีสาระสำคัญคือ รุสเซียยินดีให้ความช่วยเหลือในด้ารเศาษฐกิจ การเมืองและการทหารแก่พรรคชาตินิยม และดร. ซุนฯ ต้องยอมรับนโยบายสร้างแนวร่วมกับพรรคจีนคอมมิวนิสต์
เมื่อเจียงไคเช็คได้เป็นจอมทัพดำนินการรวมประเทศ กวาดล้างบรรดานายพลขุนศึกทั่งเประเทศ เจียงไคเช็คก่อการัฐประหารที่เมืองกวางตุ้ง และดำเนินการปราบปรามคอมมิวนิสต์ตามเมืองต่าง ๆ ภายใต้การสนับสนุนของบรรดาพ่อค้า นักฑธุรกิจและจากฝ่ายญี่ปุ่น ถึงอย่างไร เจียงไคเช็คก็มิได้ประกาศตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซีย รุสเซียยังคงพยายามให้พรรคจีนคอมมิวนิสต์แทรกซึมรัฐบาลวูฮาน
สตาลิน ยืนหยังนโยบายใช้พรรคชาตินิยมทุกวิถีทางเพื่อคุณประโยชน์แก่รุสเซียและแก่พรรคจีนคอมมิวนิสต์ แต่
นโยบายดังกล่าวท้านสุดกลับทำลายฐานอำนาจของพรรคจีนคอมมิวนิสต์
นโยบายการสร้างแนวร่วมสิ้นสุดลง โดยพรรคจีนคอมมิวนิสต์เป็นฝ่ายปราชัยรุสเซียมุ่งรักษาทางไมตรีกับเจียงไคเช็คมากว่าทางพรรคคอมมิวนิสต์ สตาลินอาจผิพลาดในนโยบายปฏิวัติจีนดังกล่าว แต่สตาลินได้สร้างคุณประโยชน์แก่รุสเซียโดยตรง สิ่งเดียวที่สตาลินพลาดคือเมื่อสร้างจีนใหม่ขึ้นมาแล้ว และทั้งที่ทอดทิ้งพรรคจีคอมมิวนิสต์แล้ว รุสเซียก็ยังประสบปัญหาความล้มเหลวในการควบคุมรัฐบาลพรรคชาตินิยม ซึ่งทำให้รุสเซียได้รับความอัปยศในสายตาโลกภายนอกมิใช่นอ้ย รุสเซียเริ่มหลบเลี่ยงออกห่างจากขบวนการปฏิวัติในจีนและหลีกเลี่ยงการสร้างพันธกรณีกับพรรคจีนคอมมิวนิสต์ รุสเซียต้องคอยจับตามมองพฤติกรรทการแทรกซึมของญี่ปุ่นในแมนจูเรียซึ่งสะเทือนถึงความมั่นคงของพรมแดนรุสเซียซึ่งติดกับแมนจูเรีย และพรรคคอมมิวนิสต์ในญี่ปุ่นก็ประสบชะตกกรรมเดียวกัน สาเหตุที่สำคัญที่มิอาจมองข้ามได้คือ การบงการของรุสเซียผุ้กำหนดนโยบายและกลยุทธ์ โดยมิได้คำนึถึงผลประโยชน์ของพรรคมากไปกว่าคำนึถึงเสถียรภาพความมั่นคงของรุสเซียเอง และมิได้คำนึงถึงความเป็นจริงที่ว่า แต่ละประเทศมีวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างไร สภาพสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันอย่างำร การกำหนดนโยบายและกลยุทธ์เป็นไปโดยการประเมินการคลาดเคลื่อน ผลที่ตามาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คื อความล้มเหลวของพรรคคอมมิวนิสต์ในที่ต่าง ๆ ซึ่งย่อมถือได้ว่า เป็นความล้มเหลวของรุสเซียที่มิอาจจะดำเนินนโยบายปฏิวัโลกไปได้โดยตลอดรอดฝั่ง
พรรคคอมมิวนิสต์ถือลัทธิมาร์กซ์เป็นอุดมการหลักของตน เสมือนคัมภีร์แม่บทของการปฏิวัติตนเองและปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์
ลัทธิมาร์กซ์ คาร์ล มาร์กซ์ เป็นนักทฤษฎีที่มีบทบาทเฉพาะในกิจกรรมของสันนิบาตคอมมิวนิสต์ และสมคมกรรมกรสากลเท่านั้น โดยเป็นผู้ร่างโครงการของกิจกรรมเหล่านั้น ซึ่งเริ่มต้นด้วยประโยคทีลื่อลั่นว่า “ประวัติศาสตร์ของสังคมทั้งหลายในอดีต คือประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ระหว่างชนชั้น” ข้อความนี้คือแกนกลางทฤษฎีประวัติศาสตร์ในทรรศนะของมร์กซ์ซึ่งปรากฎในผลงานเกือบทุกประเภทของเขา
โดยเนื้อแท้ ลัทธิมาร์กซ์เป็นทฤษฎีมุ่งสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งมาร์กซ์กล่างอ้างว่า เป็นลัทธิสังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ แต่ความคิดของเขาส่วนใหญ่มิได้เกิดจากแนวความคิดริเริ่มของเขาเอง หากแต่ล้วนได้รับอิทธิพลของหลักปรัชญาของเยอรมนี ซึ่งผสมผสานกับแนวคิดอิงสิ่งลี้ลับมหัศจรรญืเหลือเชื่อที่กำลังจะมลายไปภายใต้การคืบคลานเข้ามาแทนที่ของทรรศนะแนววิทยาศาสตร์ ลัทธินิยมเฮเกลมีลักษณะแนวคิดังกล่าวและย่อมมีอิทธิพลตอ่มาร์กซ์ในการสร้างทฤษฎีประวัติศาสตร์ มาร์กซ์ได้สร้างทฤษฎีใหม่ของเขาเองที่เกี่ยวกับสังคมและวิวัฒนาการของสังคม เขาด้ชี้แนะว่าไม่มีนักปรัชญาผู้ใดคิดที่จะแสวงหาความเกี่ยวเนื่องกันของสิ่งแวดล้อมเชิงวัตถุนิยมของเยอรมนีทฤษฎีประวัติศาสตร์แบบมาร์กซ์เริ่มปรากฎรูปลักษณะเด่นชัดโดยผสมผสานแนวคิดหลากหลายที่ล้วนไม่สมบูรณ์แบบในทรรศนะของมาร์กซ์
มาร์กซ์ ได้เพรียพยายามเป็นอย่างยิ่งที่จะชี้แนะว่า สรรพสิ่งทั้งหลายนั้นมิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแต่ล้วนเกิดขึ้นตามแบบอย่างี่เรียกว่า ลัทธิวัตถุนิยมเชิงวิภาษโดยบังเอิญเขากล่าวอ้างว่า “วิธีวิภาษของข้าพเจ้ามิไตกต่างไปจากวิธีเฮเกลเท่านั้น หากแต่ว่ายังเป็นวิธีที่เป็นตรงกันข้ามกับวิธีของเฮเกลด้วย “หลักการแห่งแบบอย่างของมาร์กซ์นั้นคือแนวสามเหลี่ยมแห่งการตั้งข้อสมมุติฐาน ความขัดแย้งและความสรุปและกฎเกณฑ์แห่ง “การที่ปริมาณแปรรูปเป็นคุณภาพ” เขาเน้นว่า พลังเศรษฐกิจที่มีส่วนสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสรรพสิ่งทั้งหลายย่อมชี้ขาดวิวัตนาการแห่งประวัติศาสนตร์ด้วย เพราะ “สิ่งแรกสุดในการดำรงอยู่ของมวลมนุษย์และสิ่งแรกสุดในการสร้างประวัติศาสตร์ทั้งหลายของตนขึ้นภายใต้ศาสตร์ของตนตามความพอใจส่วนตน..หากแต่สร้างประวัติศาสตร์ของตนภายใต้สภาวะแวดล้อมของตน”
มาร์กแสดงขบวนการแห่งทฤษฎีปฏิวัติตามแนวคิดของตนว่าในแต่ละยุคสนมัย จะมีการต่อสู้ระหว่างชนชั้นซึ่งสิ้สุดโดยชัยชนะของชนชั้นกรรมาชีพ และความพ่ายแพ้ของชนชั้นกลาง เพื่อให้บรรลุถึงระบอบคอมมิวนิสต์ มาร์กซ์ได้ร่างโครงการและเสนอกลวิธีปฏิวัตสำหรับชนชั้นกรรมาชีพ กรรมกรต้องเริ่มด้วยการต่อสู้ด้วยตนเองเป็นเอกเทศ และวจัดตั้งองค์กร ต่อจากนั้นก็จัดตั้งพรรคการเมือง ท้ายสุด เปิดการต่อสู้ระหว่างชนชั้นฝ่ายนายทุนเพื่อสถาปนาระบอบเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพในบั้นปลาย ชนชั้นกรรมาชีพจะเป็นชนชั้นปกรองเฉพาะกาลในช่วงสมัยสังครมนิยมจนกว่าจะบบรลุถึงระบอบคอมมิวนิสต์ อำนาจการเมืองจะค่อยๆ เลือหายไป ระบบการปกครองและรัฐไม่เป็นสิ่งที่จำเป็นอีกต่อไป ทฤษฎี “ล้มเลิกทรัพย์สินส่วนเอกชน”
ลัทธิมาร์กซ์สามารถดึงดูดใจชนชั้นกรรมาชีพ เพราะเป็นลัทธิที่มองมุ่งปัญหาประจำวัน และได้เสนอแผนการสอดคล้องตามความต้องการรีบด่วนที่กรรกรต้องการ ลัทธิมาร์กซ์ให้คำมั่นสัญญาถึงผลสำเร็จ ถึงชีวิตที่จักดีขึ้น และสัญญาที่จักหยิบยื่นสันติภาพให้แก่กรรมกรลัทธิมาร์กซ์จึงให้หนทางแก้ที่ให้ผลทางจิตวิทยา ลัทธิมาร์กซ์เป็นลัทธินิยมทีทมองมุ่งสังคมในอุดมคติสำหรับผู้คนที่เชื่อว่าตนนั้นสิ้นหว้งหมดหนทางที่จะปฏิรูปสังคมได้โดยสันติวิธี
กระบวนการปฏิวัติจะดำเนินไปโดยไม่หยุดยั้ง เป็นเหตุการ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่มีพลังใดที่จะสกัดกั้นคลื่อนปฏิวัติ ..เพื่อให้ขบวนการปฏิวัติสามารถดำนเนินรุดหน้าจึงเป็ฯหน้าที่ผูกพันประการหนึ่งสำหรับกรรมกรทั่วโลกไม่จำกัด เชือชาติ ภาษาหรือวัฒนธรรมใดไ ที่จะต้องรวมพลังกันอย่างเหนียวแน่นเป็นพลังปฏิวัติแนวหน้าที่จะต้องเกื้อกูลต่อขบวนการปฏิวัติทุกหนแห่งให้มีความเข้มแข็ง ประสานงานกันเป็นนำหนึ่งใจเดียวกันที่จะปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์ ในฐานะรุสเซียเป็นชาติแรกที่ปฏิวัติล้มระบอบจักรพรรดิและมีความมุ่งมั่นแน่วแนที่จะปฏิวัติสถาบันการเมือง เศรษฐกิจและสังไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์สมบูรณ์แบบ รุสเซียย่อมถือเป็นพันธะเกียรติยศที่จะเป็นตัวอย่างปฏิวัติและเป็นผู้นำขบวนการปฏิวัตโลก เป็นผู้เผยแพร่ลัทธิอุดมการ์ และเอื้ออำนวยส่งเสริมขบวนการปฏิวัติโลก…ด้วยอุดมการณ์นี้รุสเซียถือว่ามีพันธะต้องดำเนินการปฏิวัติโลก
พรรคคอมมิวนิสต์เยอรมนี ขบวนการคอมมิวนิสต์ของเยอรมนีได้ตั้งสันนิบาตสปาร์ตาคัส เลนินส่งคาร์ล ราเดค เลขาธิการโคมินเทอร์นไปช่วยขบวนการคอมมิวนิสต์เยอรมนีให้ดำเนินการเร่งเร้าโฆษณาชวนเชื่อด้วยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดสันนิบาตสปาร์ตาคัสว่างแผนก่อการร้ายลุกฮือในเดือน ธันวาคม 1918 แต่ล้มเหลว รุสเซียมีความหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เยอรมนีจะสามารถปฏิวัติโค่นล้มรัฐบาลตัวแทนชนชั้นกลางนายทุนได้ แผนปฏิวัติได้ถูกำหนดให้มีขึ้นในเดือนมีนาคม ปี 1921 แต่ก็ต้องล้มเหลวอีกเนื่องจากกลุ่มทหารเรือลุกฮือกันขึ้นมาก่อการ ความพยายามของรุสเซียนับแต่นั้นล้วนล้มเหลว
การปฏิวัติโดยตั้งองค์การกสิกรสากลเสริมพลังในบัลแกเรีย ยูโกสลาเวีย มาซีโดเนีย อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศสล้วนล้มเหลวทั้งสิ้น
ขบวนการคอมมิวนิสต์ในเอเซีย เลนินพบความสำคัญของเอเซียในการเสริมสร้างขบวนการปฏิวัติโลก ได้เขียน “คำทำนายพายุปฏิวัติในตะวันออกไกล”และเสนอบทนิพนธ์ว่าด้วย “เรื่องปัญหาของชาติและอาณานิคม” ณ ที่ประชุมโคมินเทอร์ เลนินเล็งเห็น่า พลังมหาศาลของจักรวรดินิยมนายทุนตะวันตกนั้นมาจากขุมกำลังอำนาจที่ได้สร้างกันขึ้นในเอเซีย การที่จะบั่นทอนกำลังของจักวรรดินยมตะวันตกจึงต้องเริ่มด้วยการตัดเอเซียออกจากจักวรรดินิยมตะวันตกให้เด็ดขาดโดยสิ้นเชิง
เอเซียเปรียบเสมือนประตูหลังของฝ่ายจัรวรรดินิยมตะวันตก สงครามกลางเมืองในรุสเซียสอนใตระหนักว่า ภัยคุกคามมิได้มาจากตะวันตก เท่านนั้น หากยังมาจาตะวันออก คือภัยญี่ปุ่น และการที่จักรวรรดินิยมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในจีน ล้วนเป็นภัยคุคามรุสเซียอย่างยิ่ง รุสเซียจึงต้องสนใจจีนและญี่ปุ่นด้วยเหตุผลทางด้านอุดมการ์
พรรคคอมมิวนิสต์ในจีน ก่อตั้งจากความรู้สึกรักชาติ ความอัปยศอดสูที่จักวรรดินิยมตะวันตก โดยเฉพาะญี่ปุ่นได้เข้ามากอบโกยอำนาจผลประโยชน์ของจีน นักศึกษาปัญญาชนในปักกิ่งได้ก่อหวอดประท้วงมติมหาอำนาจที่ประชุมสันติภาพในปารีส ซึ่งไรบรองให้ญี่ปุ่นได้รับผลประโยชน์ของงเยอรมนีในมณฑลชานตุง ขบวนการประท้วงได้ปรากฎขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 เป็นขบวนการลัทธิชาตินิยมต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยม ดังความปรารถนาของรุสเซีย
ดร.ซุน ยัต เซ็น ประสบปัญหาควมแตแยกภายในพรรคและความล้มเหลวในการยึดอำนาจจากเหล่า
บรรดานายพลขุนศึก ดร. ซุน ยัต เซ็น ไม่อาจร้องขอความช่วยเหลือจากอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือญี่ปุ่นได้ เมื่อรุสเซียส่งนายอดอร์ฟ จอฟฟ์ มาเจรจาจึงมีการเจรจาและลงนามในข้อตกลง ซึ่งมีสาระสำคัญคือ รุสเซียยินดีให้ความช่วยเหลือในด้ารเศาษฐกิจ การเมืองและการทหารแก่พรรคชาตินิยม และดร. ซุนฯ ต้องยอมรับนโยบายสร้างแนวร่วมกับพรรคจีนคอมมิวนิสต์
เมื่อเจียงไคเช็คได้เป็นจอมทัพดำนินการรวมประเทศ กวาดล้างบรรดานายพลขุนศึกทั่งเประเทศ เจียงไคเช็คก่อการัฐประหารที่เมืองกวางตุ้ง และดำเนินการปราบปรามคอมมิวนิสต์ตามเมืองต่าง ๆ ภายใต้การสนับสนุนของบรรดาพ่อค้า นักฑธุรกิจและจากฝ่ายญี่ปุ่น ถึงอย่างไร เจียงไคเช็คก็มิได้ประกาศตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซีย รุสเซียยังคงพยายามให้พรรคจีนคอมมิวนิสต์แทรกซึมรัฐบาลวูฮาน
สตาลิน ยืนหยังนโยบายใช้พรรคชาตินิยมทุกวิถีทางเพื่อคุณประโยชน์แก่รุสเซียและแก่พรรคจีนคอมมิวนิสต์ แต่
นโยบายดังกล่าวท้านสุดกลับทำลายฐานอำนาจของพรรคจีนคอมมิวนิสต์
นโยบายการสร้างแนวร่วมสิ้นสุดลง โดยพรรคจีนคอมมิวนิสต์เป็นฝ่ายปราชัยรุสเซียมุ่งรักษาทางไมตรีกับเจียงไคเช็คมากว่าทางพรรคคอมมิวนิสต์ สตาลินอาจผิพลาดในนโยบายปฏิวัติจีนดังกล่าว แต่สตาลินได้สร้างคุณประโยชน์แก่รุสเซียโดยตรง สิ่งเดียวที่สตาลินพลาดคือเมื่อสร้างจีนใหม่ขึ้นมาแล้ว และทั้งที่ทอดทิ้งพรรคจีคอมมิวนิสต์แล้ว รุสเซียก็ยังประสบปัญหาความล้มเหลวในการควบคุมรัฐบาลพรรคชาตินิยม ซึ่งทำให้รุสเซียได้รับความอัปยศในสายตาโลกภายนอกมิใช่นอ้ย รุสเซียเริ่มหลบเลี่ยงออกห่างจากขบวนการปฏิวัติในจีนและหลีกเลี่ยงการสร้างพันธกรณีกับพรรคจีนคอมมิวนิสต์ รุสเซียต้องคอยจับตามมองพฤติกรรทการแทรกซึมของญี่ปุ่นในแมนจูเรียซึ่งสะเทือนถึงความมั่นคงของพรมแดนรุสเซียซึ่งติดกับแมนจูเรีย และพรรคคอมมิวนิสต์ในญี่ปุ่นก็ประสบชะตกกรรมเดียวกัน สาเหตุที่สำคัญที่มิอาจมองข้ามได้คือ การบงการของรุสเซียผุ้กำหนดนโยบายและกลยุทธ์ โดยมิได้คำนึถึงผลประโยชน์ของพรรคมากไปกว่าคำนึถึงเสถียรภาพความมั่นคงของรุสเซียเอง และมิได้คำนึงถึงความเป็นจริงที่ว่า แต่ละประเทศมีวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างไร สภาพสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันอย่างำร การกำหนดนโยบายและกลยุทธ์เป็นไปโดยการประเมินการคลาดเคลื่อน ผลที่ตามาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คื อความล้มเหลวของพรรคคอมมิวนิสต์ในที่ต่าง ๆ ซึ่งย่อมถือได้ว่า เป็นความล้มเหลวของรุสเซียที่มิอาจจะดำเนินนโยบายปฏิวัโลกไปได้โดยตลอดรอดฝั่ง
วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556
Japan Nationlism
ยุคเมจิ: เป็นยุคสมัยที่โดดเด่นอีกสมัยของญี่ปุ่น ภายใต้การปกครองของสมเด็จจักรพรรดิเมจิ ญี่ปุ่นบรรลุความสำเร็จในการพัฒนาประเทศโดยใช้เวลาเพียงไม่กี่ทศวรรษ การสร้างสรรค์ประเทศให้เข้าสู่ยุคใหม่ด้วยอุตสาหกรรม พัฒนาสถาบันทางการเมืองและรูปแบบของสังคมแบบใหม่ โดยที่ประเทศตะวันตกต้องใช้เวลานานนับศตวรรษ
สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงย้ายเมืองหลวงจากกรุงเกี่ยวโตไปอยู่ทที่ เอโดะ และเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงเป็นโตเกียว “เมืองหลวงตะวันออก” มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ จัดตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบันนิติบัญญัติระบบสองสภา ยกเลิกการแบ่งชนชั้นแบบเก่าของสมัยศักดินา ญี่ปุ่นทั้งประเทศทุ่มเทพลังงานและความกรตือรือร้นในการศึกษาและรับยอารยธรรมตะวันตกมาใช้
การปฏิรูปเมจิเป็นการทลายของเขื่นที่กอปรด้วยพลังและแรงผลักดันที่สะสมมานับศตวรรษต่างชาติรู้สึกถึงความรุนแรงและความตื่นตัวที่เกิดจาการปลดปล่อยที่ออกมาอย่างฉับพลัน
จุดเริ่มต้นของการปฏิรูป คือย้อนไปถึงกลุ่มนับเขียนที่เป็นซามูไรดั้งเดิมกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีความรักชาติมากและสื่อความหมายรักชาติน้นไปสู่ชนชั้นของตน “ความรักชาติ” (aikok)กลายเป็นสิ่งที่มีตัวตนอยู่ เป็นสัญลักาณ์ที่น่ายำเกรง ความรักชาติเป็นหนึ่งในอาวุธไม่กี่อย่างที่สามารถหยิบขึ้นมาใช้ได้อย่างปลอดภัยในการต่อต้านระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม
ปัจจัยต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการแพร่กระจายความรู้สึกรักชาติสู่ประชาชนและได้จัดตั้งพื้นฐานเพื่อลัทธิชาตินิยมในความหมายสมัยใหม่ ความพยายามของรัฐบาลที่จะให้มีการรวมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางการเมือง ความพยายามที่จะหาความสนับสนุนโดยสร้างคณะกรรมการและสภาโดยการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น การพัฒนาระบบการสื่อสารคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ ล้วนช่วยหนุนทางอ้อมให้เกิดความรู้สึกสำนึกในเชื่อชาติของตน
แผนการปลูกฝังลัทธิทางการเมอืงโดยมุ่งให้องค์พระจักรพรรดิทรงเป็นแกนแลงของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศ ทางการต้องการค้ำจุนลัทธิชินโต ซึ่งให้เหตุผลความชอบธรรมของพระราชอำนาจว่ามาจาพระบุรพเทพ จึงมีหน้าที่กึ่งทางธรรม ชินโตเป็นที่ยกย่องในสมัยที่การร่างรัฐธรรมนูญและกลายเป็นศาสนาประชาติอยู่ระยะหนึ่ง
ต่อมากองทัพบกมีบทบาทโดยเน้นหนักในการฝึกให้มีความจงรักภักดีต่อผุ้เป็นผู้ปกครองและจอมทัพ ด้านการศึกษาหลักสูตรภาคบังคับในด้าน “จริยศาสตร์”โดยเน้นอัตรส่วสเท่ากันด้านความผูกพันตามคติขงจื้อที่เคร่งครัดในหลักการเคารพกตัญูกตเวที และความจงรักภักดีต่อชาติ ให้ดำเนินไปพร้อมๆ กัน ทั้งในการฝึกทหารและยังถือเป็นเครื่องกำหนดทรรศนะของพลเมืองในอนาคต และหน้าที่พลเมืองด้วย
ในสมัยดังกล่าวการยังไม่มีความสามารถทางด้านการทูต ในทรรศนะที่มีต่อการแก้ไขสนธิสัญญานักการทูตญี่ปุ่นได้เริ่มด้วยจุดประสงค์หลักสองประการ ประการแรกการยกเลิกหรือดังแปลงระบบของสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งชาวต่างชาติผุ้อยู่อาศัยในญี่ปุ่นอยู่ภายใต้อำนาจการศาลของประเทศของตนคือกงสุล ประการที่สองได้แก่ สิทธิในการปรับปรุงดัดแปลงภาษีศุลกากร ในทรรศนะที่เห็นความไม่ทัดเทียมของทั้งสองฝ่าย
นักการทูตญี่ปุ่นต้องเจรจาด้วยความอดทนเพื่อบรรลุผลตามประสงค์ ประสบการณ์ทางการทูตหลายปีแสดงให้เห็นบทเรียนเมืองครั้งสหรัฐอเมริกาตกลงให้ญี่ปุ่นมำอำนาจอิสระในการภาษีศุลกากร อังกฤษปฏิเสธทันทีอย่างเปิดเผย อีกครั้งที่อังกฤษยืนกรานเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ญีป่นเห็นความจำเป็นที่ต้องประนีประนอมแต่ความพยายามประการแรกคือเรื่องเกี่ยวกับข้อเสนอให้มีศาลผสมภายใต้ผุ้พิพากษาญี่ปุ่นและผู้พิพากษาต่างชาตินั้นถูกประชนวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก โอคูมาซึ่งเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศขณะนั้น เขายกเลกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตกเว้นกรณีฎีกาเท่านั้นที่ต้องให้ศาลผสมพิจารณา ข่าวเกิดรั่วไหล เกิดเสียงต่อต้านอย่างหนักในโตเกี่ยว ความรู้สึกเรื่ออธิปไตยของประเทศกำลังพลุ่งพล่านถึงขีดสุด โอคูมาได้รับบาดเจ็บจากระเบิดที่คนคลั่งชาตินิยมปาใส่รถม้าของเขา การเจรจาระงับไปและรัฐบาลนายคูโรดา ลาออก
ความสัมพันธ์กับเพื่อบ้านแผนดินใหญ่เป็นเรื่องที่ญี่ปุ่นสนใจมาตลอดศตวรรษ นักเขียนมองที่จีน แมนจูเลีย และเกาหลีว่าเป็นทางออกโดยธรรมชาติสกไรบความทะเยอทะยานของญี่ปุ่น โยชิดา โชอิน คิดว่า ความอยู่รอดย่อมจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าปราศจากการเหยียบผืนแผ่นดินใหญ่กลุ่มผู้นำเมจิหลายคนซึ่งเป็นสานุศิษย์ของโยชิดา มีทรรศนะร่วมกันดังกล่าว และมีทรรศนะแรงกล้า เมื่อซาอิโก ทาคาโมริถึงแก่อสัญกรรมและมีการตั้งสมาคมรักชาติขึ้น โดยมุ่งที่จะส่งเสริมความคิดที่จะขยายอำนจญี่ปุ่น สมาคมนี้จะใช้ทุกโอกาสในการใช้แรงกดดันรัฐบลและกระตุ้นความเห็นในเรื่อรักชาติ
ความขัดแย้งเกิดขึ้นด้วยเรื่องนโยบายยับยั้งชั่งใจ Policy of restaint ม้จะเป้ฯนโยบายป้องกันการก้าวรุดหน้าในการขยายดินแดน เป็นนโยบลายที่ใช้เป็นข้อยุติที่ควารเจริญรอยตามบนบาทวิถีทางแห่งการประรีประนอม และการเรจา แต่ในกรณีเกาหลี วิธีการนั้นยกาที่จะปฏิบัติ สนธิสัญญาระหว่างญี่ปุ่นกับเกาหลีที่เปิดความสัมพันธ์ต่อกันอย่างเป็นางการและเกาหลีเปิดเมืองท่าสองเมืองให้ค้าขายได้ นั้นก็เป็นสัญญาที่เกิดจากการขู่ใช้กำลัง เมื่อเกิดกรณีนี้ จีนจึงท้าทายญี่ปุ่นโดยระบุว่า เกาหลีเป็นประทเศราชของจีน จะทำข้อตกลงใด ๆ กับประเทศใดมิได้ การแอบอ้างสิทธิเป็นจุเริ่มต้นสมัยแห่งการใช้เลห์เพทุบายของทั่งสองฝ่ายในการถือฝ่ายถือฝ่ายในเกาหลีที่ต่สู้ชิงอำนาจในราชสำนัก ความเป็นคู่แข่งนำสู่การปะทะกันในเมืองโซล การเจรจาระหว่างจีนกับญี่ปุ่นในฤดูใบไม้ผลิวาระนั้น ทั่สองฝ่ายตกลงถอนทหาร แต่มิได้หมายความว่า ฝ่ายใดจะยอมลดฐานะของฝ่ายตน จึงเกิดเหตุการณ์ตามมามากมาย เกิดกบฎย่ายครั้งในเกาหลี ซึ่งเป็นกบฎต่ต้านตะวันตก ในฐานะเจ้าประเทศราช จึงของให้จีนช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม จีนก็ได้ช่วยเหลือในทันที่ทันใด ญี่ปุ่นถือว่า การกระทำของจีนเป้นตรงกันข้ามกับข้อตกลง ญี่ปุ่นจึงส่งกำลังไปเกาหลี กฐฎจึงกลายเป็นเรื่องรองลงมา เรื่องใหญ่คือเรื่องความขัดแย้งระหว่างจีนกับญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับจีนและได้รับชัยชนะอย่างอัศจรรย์ กองทัพบกญี่ปุ่นได้เข้าควบคุมเกาหลีเกือบทั้งหมดและกองทัพเรือได้คุมทะเลเหลือง จีนยอมจำนน สนธิสัญญายอมรับรองเอกราชเกาหลี สิ้นสุดข้อแอบอ้างสิทธิของจีนด้านอำนาจอธิปไตยเหนือเกาหลี จีนต้องยกหมู่เกาะฟอร์โมซา(ไต้หวัน)และคาบสมุทรเลียวตุง รวมทั้งเมือปร์อาเธอร์ให้แก่ญี่ปุ่น เป็นเมืองท่าเพิ่มเติมอีก4 เมือง และจีนต้องชดใช้ค่าเสียหายเป็นเงินสด
จากชัยชนะดังกล่าวญี่ปุ่นจึงเป็นปัจจัยที่ต้องพิจารณาในกิจการตะวันออกไกล ญี่ปุ่นพัวพันเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดในแวดวงการแข่งขันของเหล่ามหาอำนาจ โดยไม่ให้ประโยชน์แก่ญี่ปุ่น
หนึ่งสัปดาห์แห่งการลงนาม ผู้แทนรุสเซีย ฝรั่งเศสและเยอรมันได้แจ้งโตเกียวว่ารัฐบาลของตนมีความเห็นเกี่ยวกับการที่คาบสมุทรเลียวตุงจะถูกโอนเป็นของญี่ปุ่น ผุ้แทนทั้งสามประเทศได้แนะให้โตเกียวคืนคาบสมุทรให้แก่จีน รุสเซียมุ่งหมายที่จะรักษาโอกาสของตนในการขยายอาณาเขต ฝรั่งเศสผู้เป็นพันธมิตรหวังที่จะให้รุสเซียสนับสนุนความทะยายอยากของฝรั่งเศสในจีภาคใต เยอรมันพยายามจะกีดกันรุสเซียให้ตกบอบเวทีการเมืองยุโรป ซึ่งเป็นเหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น แต่ความสัมพันธ์ของจีนกับญี่ปุ่นในรูปแบบใหม่เปิดช่องให้สามประเทศเข้ามาแทรกแซง
รุสเซียมีโครงการจะสร้างทางรถไฟในจีนซึ่งเต็มใจที่จะใช้กำลังหนุนหลังข้อเรียกร้องของตน แม้หลายประเทศจะเห็นใจญี่ปุ่นแต่ไม่มีคำมั่นว่าจะสนับสนุนญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเองก็อ่อนเปลี่ยจาการสงครามรัฐบาลจึงไม่มีทางเลือกเพียงสามวันหลังการแลกเปลี่ยนการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ สิ่งที่ญี่ปุ่นจะทำได้เพื่อรักษาเกียรติภูมิของตนคือการเพ่มจำนวนค่าชดใช้ค่าเสียหายจากสงคราม ผลพวงดังกล่าวกลับทำให้ชาวญี่ปุ่นรวมกันในการก้าวไปข้าหน้า ปฏิกริยาในทันที่ของฝายรัฐบาลคือปฏิกิริยาทางการทหาร ด้วยการเพิ่มกำลังพลอีก 6 กองพล ความพยายามในการปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณ์
ความสัมพันธ์ของจีนกับยุโรป สามมหาอำนาจได้สิทธิในการเข้ามาลงทุนในจีน รุสเซียได้สิทธิสร้างทางรถไฟสายจีนตะวันออกข้ามแมนจูเรียเชื่อวาลดิวอสต็อค กับดินแดนรุสเซียตะวันตกไกล การฆาตกรรมพระนิกายโรมันคาธอลิค เปิดโอกาสแก่เยอรมนีใน้ตั้งข้อรเยกร้อง ผลคือจีนให้เยอรมนีตั้งฐานทัพเรือในเมืองเกียวเจา และให้สิทธิทางเศรษฐกิจในมณฑลชานตุง ซึ่งทำให้บรรดามหาอำนาจเกิดแก่งแย่งของสัมปทาน ต่อมาฝรั่งเศสได้ตั้งฐานทัพเรือที่กวางเจา-วัน
เหตุการณ์ที่ทำให้ญี่ปุ่นเข้ามามีสิทธิมีเสียงในการเจรจาคือการเข้าช่วยกู้สถานทูตคืนจากพวกที่เรียกตัวเองว่าพวกนักมาว Boxer ซึ่งไม่พอใจต่อชาวต่างชาติ เนื่องจากญี่ปุ่นเป็นชาติเดียวที่อยู่ในฐานะที่จะส่งกองกำลังได้เร็วที่สุดและญี่ปุ่นกระทำการโดยถูกต้องตามครรลองมารยาทอันดีงามของการทหารและการทูต ซึ่งต่อมาได้มีการทำข้อตกลงและญี่ปุ่นได้ส่วนแบ่งในค่าชดใช้ค่าเสียหายจากจีนด้วย
รุสเซียฉวยโอกาสจากบฏนักมวยเข้ายึดครองแมนจูเรียทั้งหมด รุสเซียจะไม่ถอนทหารจนกว่จีนจะยอมตกลงด้วย เงื่อนไขที่รุสเซียระบุในเดือนกุมภาพันธ์นั้นย่อมทำให้แมนจูเรียกลายเป็นรัฐภายมต้การอารัขาของรุสเซีย ซึ่งทำให้เหล่ามหาอำนาจประท้วง โดยเฉพาะญี่ปุ่น
ผลจากการใช้เล่ห์เพทุบายนี้ทำให้อังกฤษและญ่ปุ่นมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน อังกฤษเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในการยื่นข้อเสนอต่อรุสเซียสุดท้ายรุสเซียยอมถอนทหาร แต่กลับแสดงท่าทีในทางตรงกันข้าม
ญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะเสนอคำแถลงทั่วไปแก่รุสเซีย โดยระบุการร่วมกันเป็นเบื้องต้นในการเคารพบูรณภาพทางดินแดนจีนและเกหลี รวมทั้งการรับรองสิทธิทางรถไฟของรุสเซียในแมนจูเยและผลประโยชน์ญี่ปุ่นทางกาเมืองและเศรษฐกิจในเกาหลีด้วย รุสเซียได้ให้คำตอบด้วยข้อเสนอที่ตอบโต้ที่รุแรง โดยตั้งข้อเรียร้องให้คำประกันบูรณภาพทางดินแดนเกาหลีเท่านั้น ไม่รวมจีน(และแมนจูเรีย)ขอคำมั่นจากญี่ป่นที่จะไม่สร้างป้อมปราการตามชายฝั่งเกาหลี และขอคำรับรองว่า แมนจูเรียอยู่นอกเหนือเขตอิทธิพลญี่ปุ่น … ญี่ปุ่นให้คำตอบโดยระบุเงื่อนไขกลางๆ ในรูปของคำขาด เมือ่รุสเซียเพิกเฉย ญี่ปุ่นจึงประกาศสงคราม
เหตุการณ์ที่ทั้งสองฝ่ายต่างมีเหตุผลที่จะต้องสู้รบกัน แม้รุสเซียจะไม่ยอมรับว่ากำลังแสนยานุภาพของตนกำลังจะมาถึงจุดจบ ก็ประสบความยากลำบากกับความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ ญี่ปุ่นเองก็กำลังจะสิ้นเนือ้ประดาตัวทางการคลัง ญี่ปุ่นจึงขอให้สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ค่าเสียหายไม่ว่าจำนวนเท่าไรรุสเซียจะไม่ยอมชำระให้ ซึ่งสร้างความผิดหวังแต่ไม่สามารถจะเผลิญการสู้รบต่อไปได้อีก รัฐบาลญี่ปุ่นจำต้องยินยอม ผุ้แทนได้ลงนามในสนธิสัญญา
มติมหาชนญี่ปุ่นไม่พอใจในสนธิสัญญามีการประกาศกฎอัยการศึกเป็นครั้งคราว อยางไรก็ตาม สนธิสัญญานั้นเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งประเทศในเอเชียมีชัยชนะเหนือมหาอำนาจหนึ่งในการสงครามเต็มรูปแบบ โดยัยชนะนั้นทำให้ผุ้ชนะได้ทั้งผลประโยชน์และสัญลักษณ์แห่งเกียรติภูมิ มีฐานะสูงสุดในเกาหลี มีสิทธิอันมีค่ายิ่งในแมนจูเรีย
หากพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่นจะมีความสำคัญต้องการทำให้ญี่ปุ่นมีฐานะเท่าเทียมกับบรรดามหาอำนาจ สงครามรุสเซีย-ญี่ปุ่นได้สร้างฐานะญี่ปุ่นมากว่านั้น
สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงย้ายเมืองหลวงจากกรุงเกี่ยวโตไปอยู่ทที่ เอโดะ และเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงเป็นโตเกียว “เมืองหลวงตะวันออก” มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ จัดตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบันนิติบัญญัติระบบสองสภา ยกเลิกการแบ่งชนชั้นแบบเก่าของสมัยศักดินา ญี่ปุ่นทั้งประเทศทุ่มเทพลังงานและความกรตือรือร้นในการศึกษาและรับยอารยธรรมตะวันตกมาใช้
การปฏิรูปเมจิเป็นการทลายของเขื่นที่กอปรด้วยพลังและแรงผลักดันที่สะสมมานับศตวรรษต่างชาติรู้สึกถึงความรุนแรงและความตื่นตัวที่เกิดจาการปลดปล่อยที่ออกมาอย่างฉับพลัน
จุดเริ่มต้นของการปฏิรูป คือย้อนไปถึงกลุ่มนับเขียนที่เป็นซามูไรดั้งเดิมกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีความรักชาติมากและสื่อความหมายรักชาติน้นไปสู่ชนชั้นของตน “ความรักชาติ” (aikok)กลายเป็นสิ่งที่มีตัวตนอยู่ เป็นสัญลักาณ์ที่น่ายำเกรง ความรักชาติเป็นหนึ่งในอาวุธไม่กี่อย่างที่สามารถหยิบขึ้นมาใช้ได้อย่างปลอดภัยในการต่อต้านระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม
ปัจจัยต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการแพร่กระจายความรู้สึกรักชาติสู่ประชาชนและได้จัดตั้งพื้นฐานเพื่อลัทธิชาตินิยมในความหมายสมัยใหม่ ความพยายามของรัฐบาลที่จะให้มีการรวมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางการเมือง ความพยายามที่จะหาความสนับสนุนโดยสร้างคณะกรรมการและสภาโดยการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น การพัฒนาระบบการสื่อสารคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ ล้วนช่วยหนุนทางอ้อมให้เกิดความรู้สึกสำนึกในเชื่อชาติของตน
แผนการปลูกฝังลัทธิทางการเมอืงโดยมุ่งให้องค์พระจักรพรรดิทรงเป็นแกนแลงของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศ ทางการต้องการค้ำจุนลัทธิชินโต ซึ่งให้เหตุผลความชอบธรรมของพระราชอำนาจว่ามาจาพระบุรพเทพ จึงมีหน้าที่กึ่งทางธรรม ชินโตเป็นที่ยกย่องในสมัยที่การร่างรัฐธรรมนูญและกลายเป็นศาสนาประชาติอยู่ระยะหนึ่ง
ต่อมากองทัพบกมีบทบาทโดยเน้นหนักในการฝึกให้มีความจงรักภักดีต่อผุ้เป็นผู้ปกครองและจอมทัพ ด้านการศึกษาหลักสูตรภาคบังคับในด้าน “จริยศาสตร์”โดยเน้นอัตรส่วสเท่ากันด้านความผูกพันตามคติขงจื้อที่เคร่งครัดในหลักการเคารพกตัญูกตเวที และความจงรักภักดีต่อชาติ ให้ดำเนินไปพร้อมๆ กัน ทั้งในการฝึกทหารและยังถือเป็นเครื่องกำหนดทรรศนะของพลเมืองในอนาคต และหน้าที่พลเมืองด้วย
ในสมัยดังกล่าวการยังไม่มีความสามารถทางด้านการทูต ในทรรศนะที่มีต่อการแก้ไขสนธิสัญญานักการทูตญี่ปุ่นได้เริ่มด้วยจุดประสงค์หลักสองประการ ประการแรกการยกเลิกหรือดังแปลงระบบของสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งชาวต่างชาติผุ้อยู่อาศัยในญี่ปุ่นอยู่ภายใต้อำนาจการศาลของประเทศของตนคือกงสุล ประการที่สองได้แก่ สิทธิในการปรับปรุงดัดแปลงภาษีศุลกากร ในทรรศนะที่เห็นความไม่ทัดเทียมของทั้งสองฝ่าย
นักการทูตญี่ปุ่นต้องเจรจาด้วยความอดทนเพื่อบรรลุผลตามประสงค์ ประสบการณ์ทางการทูตหลายปีแสดงให้เห็นบทเรียนเมืองครั้งสหรัฐอเมริกาตกลงให้ญี่ปุ่นมำอำนาจอิสระในการภาษีศุลกากร อังกฤษปฏิเสธทันทีอย่างเปิดเผย อีกครั้งที่อังกฤษยืนกรานเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ญีป่นเห็นความจำเป็นที่ต้องประนีประนอมแต่ความพยายามประการแรกคือเรื่องเกี่ยวกับข้อเสนอให้มีศาลผสมภายใต้ผุ้พิพากษาญี่ปุ่นและผู้พิพากษาต่างชาตินั้นถูกประชนวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก โอคูมาซึ่งเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศขณะนั้น เขายกเลกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตกเว้นกรณีฎีกาเท่านั้นที่ต้องให้ศาลผสมพิจารณา ข่าวเกิดรั่วไหล เกิดเสียงต่อต้านอย่างหนักในโตเกี่ยว ความรู้สึกเรื่ออธิปไตยของประเทศกำลังพลุ่งพล่านถึงขีดสุด โอคูมาได้รับบาดเจ็บจากระเบิดที่คนคลั่งชาตินิยมปาใส่รถม้าของเขา การเจรจาระงับไปและรัฐบาลนายคูโรดา ลาออก
ความสัมพันธ์กับเพื่อบ้านแผนดินใหญ่เป็นเรื่องที่ญี่ปุ่นสนใจมาตลอดศตวรรษ นักเขียนมองที่จีน แมนจูเลีย และเกาหลีว่าเป็นทางออกโดยธรรมชาติสกไรบความทะเยอทะยานของญี่ปุ่น โยชิดา โชอิน คิดว่า ความอยู่รอดย่อมจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าปราศจากการเหยียบผืนแผ่นดินใหญ่กลุ่มผู้นำเมจิหลายคนซึ่งเป็นสานุศิษย์ของโยชิดา มีทรรศนะร่วมกันดังกล่าว และมีทรรศนะแรงกล้า เมื่อซาอิโก ทาคาโมริถึงแก่อสัญกรรมและมีการตั้งสมาคมรักชาติขึ้น โดยมุ่งที่จะส่งเสริมความคิดที่จะขยายอำนจญี่ปุ่น สมาคมนี้จะใช้ทุกโอกาสในการใช้แรงกดดันรัฐบลและกระตุ้นความเห็นในเรื่อรักชาติ
ความขัดแย้งเกิดขึ้นด้วยเรื่องนโยบายยับยั้งชั่งใจ Policy of restaint ม้จะเป้ฯนโยบายป้องกันการก้าวรุดหน้าในการขยายดินแดน เป็นนโยบลายที่ใช้เป็นข้อยุติที่ควารเจริญรอยตามบนบาทวิถีทางแห่งการประรีประนอม และการเรจา แต่ในกรณีเกาหลี วิธีการนั้นยกาที่จะปฏิบัติ สนธิสัญญาระหว่างญี่ปุ่นกับเกาหลีที่เปิดความสัมพันธ์ต่อกันอย่างเป็นางการและเกาหลีเปิดเมืองท่าสองเมืองให้ค้าขายได้ นั้นก็เป็นสัญญาที่เกิดจากการขู่ใช้กำลัง เมื่อเกิดกรณีนี้ จีนจึงท้าทายญี่ปุ่นโดยระบุว่า เกาหลีเป็นประทเศราชของจีน จะทำข้อตกลงใด ๆ กับประเทศใดมิได้ การแอบอ้างสิทธิเป็นจุเริ่มต้นสมัยแห่งการใช้เลห์เพทุบายของทั่งสองฝ่ายในการถือฝ่ายถือฝ่ายในเกาหลีที่ต่สู้ชิงอำนาจในราชสำนัก ความเป็นคู่แข่งนำสู่การปะทะกันในเมืองโซล การเจรจาระหว่างจีนกับญี่ปุ่นในฤดูใบไม้ผลิวาระนั้น ทั่สองฝ่ายตกลงถอนทหาร แต่มิได้หมายความว่า ฝ่ายใดจะยอมลดฐานะของฝ่ายตน จึงเกิดเหตุการณ์ตามมามากมาย เกิดกบฎย่ายครั้งในเกาหลี ซึ่งเป็นกบฎต่ต้านตะวันตก ในฐานะเจ้าประเทศราช จึงของให้จีนช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม จีนก็ได้ช่วยเหลือในทันที่ทันใด ญี่ปุ่นถือว่า การกระทำของจีนเป้นตรงกันข้ามกับข้อตกลง ญี่ปุ่นจึงส่งกำลังไปเกาหลี กฐฎจึงกลายเป็นเรื่องรองลงมา เรื่องใหญ่คือเรื่องความขัดแย้งระหว่างจีนกับญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับจีนและได้รับชัยชนะอย่างอัศจรรย์ กองทัพบกญี่ปุ่นได้เข้าควบคุมเกาหลีเกือบทั้งหมดและกองทัพเรือได้คุมทะเลเหลือง จีนยอมจำนน สนธิสัญญายอมรับรองเอกราชเกาหลี สิ้นสุดข้อแอบอ้างสิทธิของจีนด้านอำนาจอธิปไตยเหนือเกาหลี จีนต้องยกหมู่เกาะฟอร์โมซา(ไต้หวัน)และคาบสมุทรเลียวตุง รวมทั้งเมือปร์อาเธอร์ให้แก่ญี่ปุ่น เป็นเมืองท่าเพิ่มเติมอีก4 เมือง และจีนต้องชดใช้ค่าเสียหายเป็นเงินสด
จากชัยชนะดังกล่าวญี่ปุ่นจึงเป็นปัจจัยที่ต้องพิจารณาในกิจการตะวันออกไกล ญี่ปุ่นพัวพันเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดในแวดวงการแข่งขันของเหล่ามหาอำนาจ โดยไม่ให้ประโยชน์แก่ญี่ปุ่น
หนึ่งสัปดาห์แห่งการลงนาม ผู้แทนรุสเซีย ฝรั่งเศสและเยอรมันได้แจ้งโตเกียวว่ารัฐบาลของตนมีความเห็นเกี่ยวกับการที่คาบสมุทรเลียวตุงจะถูกโอนเป็นของญี่ปุ่น ผุ้แทนทั้งสามประเทศได้แนะให้โตเกียวคืนคาบสมุทรให้แก่จีน รุสเซียมุ่งหมายที่จะรักษาโอกาสของตนในการขยายอาณาเขต ฝรั่งเศสผู้เป็นพันธมิตรหวังที่จะให้รุสเซียสนับสนุนความทะยายอยากของฝรั่งเศสในจีภาคใต เยอรมันพยายามจะกีดกันรุสเซียให้ตกบอบเวทีการเมืองยุโรป ซึ่งเป็นเหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น แต่ความสัมพันธ์ของจีนกับญี่ปุ่นในรูปแบบใหม่เปิดช่องให้สามประเทศเข้ามาแทรกแซง
รุสเซียมีโครงการจะสร้างทางรถไฟในจีนซึ่งเต็มใจที่จะใช้กำลังหนุนหลังข้อเรียกร้องของตน แม้หลายประเทศจะเห็นใจญี่ปุ่นแต่ไม่มีคำมั่นว่าจะสนับสนุนญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเองก็อ่อนเปลี่ยจาการสงครามรัฐบาลจึงไม่มีทางเลือกเพียงสามวันหลังการแลกเปลี่ยนการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ สิ่งที่ญี่ปุ่นจะทำได้เพื่อรักษาเกียรติภูมิของตนคือการเพ่มจำนวนค่าชดใช้ค่าเสียหายจากสงคราม ผลพวงดังกล่าวกลับทำให้ชาวญี่ปุ่นรวมกันในการก้าวไปข้าหน้า ปฏิกริยาในทันที่ของฝายรัฐบาลคือปฏิกิริยาทางการทหาร ด้วยการเพิ่มกำลังพลอีก 6 กองพล ความพยายามในการปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณ์
ความสัมพันธ์ของจีนกับยุโรป สามมหาอำนาจได้สิทธิในการเข้ามาลงทุนในจีน รุสเซียได้สิทธิสร้างทางรถไฟสายจีนตะวันออกข้ามแมนจูเรียเชื่อวาลดิวอสต็อค กับดินแดนรุสเซียตะวันตกไกล การฆาตกรรมพระนิกายโรมันคาธอลิค เปิดโอกาสแก่เยอรมนีใน้ตั้งข้อรเยกร้อง ผลคือจีนให้เยอรมนีตั้งฐานทัพเรือในเมืองเกียวเจา และให้สิทธิทางเศรษฐกิจในมณฑลชานตุง ซึ่งทำให้บรรดามหาอำนาจเกิดแก่งแย่งของสัมปทาน ต่อมาฝรั่งเศสได้ตั้งฐานทัพเรือที่กวางเจา-วัน
เหตุการณ์ที่ทำให้ญี่ปุ่นเข้ามามีสิทธิมีเสียงในการเจรจาคือการเข้าช่วยกู้สถานทูตคืนจากพวกที่เรียกตัวเองว่าพวกนักมาว Boxer ซึ่งไม่พอใจต่อชาวต่างชาติ เนื่องจากญี่ปุ่นเป็นชาติเดียวที่อยู่ในฐานะที่จะส่งกองกำลังได้เร็วที่สุดและญี่ปุ่นกระทำการโดยถูกต้องตามครรลองมารยาทอันดีงามของการทหารและการทูต ซึ่งต่อมาได้มีการทำข้อตกลงและญี่ปุ่นได้ส่วนแบ่งในค่าชดใช้ค่าเสียหายจากจีนด้วย
รุสเซียฉวยโอกาสจากบฏนักมวยเข้ายึดครองแมนจูเรียทั้งหมด รุสเซียจะไม่ถอนทหารจนกว่จีนจะยอมตกลงด้วย เงื่อนไขที่รุสเซียระบุในเดือนกุมภาพันธ์นั้นย่อมทำให้แมนจูเรียกลายเป็นรัฐภายมต้การอารัขาของรุสเซีย ซึ่งทำให้เหล่ามหาอำนาจประท้วง โดยเฉพาะญี่ปุ่น
ผลจากการใช้เล่ห์เพทุบายนี้ทำให้อังกฤษและญ่ปุ่นมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน อังกฤษเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในการยื่นข้อเสนอต่อรุสเซียสุดท้ายรุสเซียยอมถอนทหาร แต่กลับแสดงท่าทีในทางตรงกันข้าม
ญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะเสนอคำแถลงทั่วไปแก่รุสเซีย โดยระบุการร่วมกันเป็นเบื้องต้นในการเคารพบูรณภาพทางดินแดนจีนและเกหลี รวมทั้งการรับรองสิทธิทางรถไฟของรุสเซียในแมนจูเยและผลประโยชน์ญี่ปุ่นทางกาเมืองและเศรษฐกิจในเกาหลีด้วย รุสเซียได้ให้คำตอบด้วยข้อเสนอที่ตอบโต้ที่รุแรง โดยตั้งข้อเรียร้องให้คำประกันบูรณภาพทางดินแดนเกาหลีเท่านั้น ไม่รวมจีน(และแมนจูเรีย)ขอคำมั่นจากญี่ป่นที่จะไม่สร้างป้อมปราการตามชายฝั่งเกาหลี และขอคำรับรองว่า แมนจูเรียอยู่นอกเหนือเขตอิทธิพลญี่ปุ่น … ญี่ปุ่นให้คำตอบโดยระบุเงื่อนไขกลางๆ ในรูปของคำขาด เมือ่รุสเซียเพิกเฉย ญี่ปุ่นจึงประกาศสงคราม
เหตุการณ์ที่ทั้งสองฝ่ายต่างมีเหตุผลที่จะต้องสู้รบกัน แม้รุสเซียจะไม่ยอมรับว่ากำลังแสนยานุภาพของตนกำลังจะมาถึงจุดจบ ก็ประสบความยากลำบากกับความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ ญี่ปุ่นเองก็กำลังจะสิ้นเนือ้ประดาตัวทางการคลัง ญี่ปุ่นจึงขอให้สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ค่าเสียหายไม่ว่าจำนวนเท่าไรรุสเซียจะไม่ยอมชำระให้ ซึ่งสร้างความผิดหวังแต่ไม่สามารถจะเผลิญการสู้รบต่อไปได้อีก รัฐบาลญี่ปุ่นจำต้องยินยอม ผุ้แทนได้ลงนามในสนธิสัญญา
มติมหาชนญี่ปุ่นไม่พอใจในสนธิสัญญามีการประกาศกฎอัยการศึกเป็นครั้งคราว อยางไรก็ตาม สนธิสัญญานั้นเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งประเทศในเอเชียมีชัยชนะเหนือมหาอำนาจหนึ่งในการสงครามเต็มรูปแบบ โดยัยชนะนั้นทำให้ผุ้ชนะได้ทั้งผลประโยชน์และสัญลักษณ์แห่งเกียรติภูมิ มีฐานะสูงสุดในเกาหลี มีสิทธิอันมีค่ายิ่งในแมนจูเรีย
หากพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่นจะมีความสำคัญต้องการทำให้ญี่ปุ่นมีฐานะเท่าเทียมกับบรรดามหาอำนาจ สงครามรุสเซีย-ญี่ปุ่นได้สร้างฐานะญี่ปุ่นมากว่านั้น
วันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2556
ปาเลสไตน์:โดยการปกครองของอังกฤษ
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองออตโตมัน
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน
ซึ่งมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลมาก รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นชาวเติร์กปกครองคนส่วนใหญ่ที่เป็นอาหรับมุสลิมนั้น ขาดประสิทธิภาพ อ่อนแอ กระทั้งยุโรปเรียกจักวรรดินี้ว่าเป็น "คนป่วยของยุโรป" แม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขั้นใกล้ล้มละลาย การถูกกดดันจากศัตรูภายนอก แต่รฐบาลยังสามารถควบคุ
มดินเแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิที่กว้างใหญ่และแตกแยก ตลอดจนยังได้รับความจงรักภักดีของชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเทศใต้บังคับของรัฐบาลออตโตมัน เหตุผลสำคัญคือความอดทนของชนชาติต่างๆ ที่อยู่ใต้ปกครองนั้นเอง
การที่จักรวรรดิถูกแบ่งการปกครองออกเป็นท้องถ่ินนั้น มิได้ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกแบ่งแยกหรือมีความจงรักภักดีเฉพาะท้องถิ่นด ทั้งนี้เพราะแต่ละท้องถิ่นมิไ/ด้มีการแยกออกจากกันโดยพรมแดน ภาษาหรือระเบียบข้อบังคับ ประเทศอาหรับทั้งหลายมีความรู้สึกเป็นชาติเดียวกันโดยมีศูนย์รวมใหญ่ทางจิตใจอยู่บนศาสนา ระบบการปกครองมิได้แบ่งปยกชาวเติร์กออกาจากชาวอาหรับและชาวเคิร์ดส์ ทั้งนี้เพราะแต่ละกลุ่มนับถือศาสนาเดียวกัน หรืออาจหล่าวได้ว่าจักวรรดิออตโตมันก็คือมุสลิม ทั้งนี้เพราะจักรวรรดิออตโตมันเป็นผุ้สืบทอดจักวรรดิอาหรับอิสลามนั้นเอง
กว่า 4 ศตวรรษ ออตโตมันปกครองดินแดนต่าง ๆ ในตะวันออกกลางอยู่นั้นได้ทำให้อารยธรรมอาหรับและตุรกีผสมผสานกันในหลาย ๆ ด้านแม้การปกครองจะอยู่าภายใต้การปกครองของเติร์ก แต่วัฒนธรรมอาหรับและภาษาอารบิกก็ยังคงเข้มแข็งอยุ่ ชาวอาหรับและภาษาอารบิกมีบทบาทสำคัญในระบบงานด้านการปกครองขอออตโตมัน ภาษาอารบัิกเป็นภาษของคัมภรีกุรอ่านและภาษาในสุเหร่า ส่วนสำคัญของรัฐบาลออกโตมันก็คือกฎมหายชาเรียอันศัดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะไม่สามารถเรียรู้ได้ โดยปราศจากความรู้ในภาษาอารบิก
รัฐบาลออตโตมันมิได้มีอิทธิพลอย่างเข้มแข็งในการปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ของอาหรับ เมื่อหัวหน้าเผ่าตามท้องถ่ิน รหือเจ้าแขกมีอำนาจมากขึ้นก็จะไใ้ความเคารพนับถือเฉพาะตัวเจ้าเมือง โดยมิได้เห็นความสำคัญฐของสุลต่านซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินเลย ดังในเลบานอน ปาเลสไตน์ และอิรัก เจ้าผุ้ปกครองท้องถ่ินหรือหัวหน้าเผ่าซึงเป็นอาหรับมีความเป็ฯอิสระจารัฐบาลกลาง ในอียิปต์เจ้าผู้ปกครอง คือ อิบราฮิม ซึ่งเป็ฯโอรสของมูฮัมหมัน อาลี แนะนำในมีการปฏิรูปการปกครองประเทศซึ่งเท่ากับเป็ฯการเริ่มต้นยุคสมัยใหม่ของอิยิปต์
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสัญญาหลายฉบับที่ยกปาเลสไตน์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ
ตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement เป็นสัญญาร่วมระหว่างอังกฤษ ผรั่งเศส และรัสเซีย มีใจความสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมื่อสิ้นสงคราม
ประกาศบัลฟอร์ Balfour Declaration ปาเลสไตน์จะถูกสร้างเป็นบ้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว
จดหมายแลกเปลี่ยนระหว่างฮุสเซน และแมคมาฮอน Husain-McMahon Correspondence ซึ่งเป็นจดหมายะรหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกเป็นของชาวอาหรับ
ครั้งสงครามยุติลงอังกฤษก็พยายามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วยฝ่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ฝรั่งเศสกล่าวหาว่าอังกฤษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุล ปัญหาดังกล่าวยุติในกรประชุมสันติภาพที่ปารี Paris peace Conference ในเดื่อนเมษายน ปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายมต้สันิบาตชาติ จึงมีอีก 2 พวกที่ไม่พอใจคำอนุมัติดังกล่าว คือ ไซออนิสต์และอาหรับ
การปกครองของอังกฤษในปาเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษปกครองนานถึง 30 ปี แต่ไม่สามารถแก้ไปญหาปาเลสไตน์ได้
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ
- 1 กรกฎาคม 1920 อังกฤษส่ง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แซมวล ในฐานะข้าหลวงใหญ่คนแรกของรัฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่ายพลเรื่อรัฐบาลพลเรือนได้เปิดให้มีการซื้้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกรทำโดยมูลนิธิยิวและบริษทัทพัฒนาที่ดินปาเลสไตน์ เซอร์ เฮอร์เิบิร์ด แซมวล ผุ้กลายเป็นผุ้สนัลสนุนลัทธิไซออนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างสงครา ได้จัดโควต้าสำหรับการอพยพของชาวยิว 16,500 คนในปีแรก แต่ก่อนจะมีการประกาศโควต้าดังกล่าวก็มีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรับในปากเลสไตน์ การอพยพดังกล่วหยุดชะงัก ประชาชอาหรับเกรงว่าจำนวนชาวยิวอพยพเข้าสู่ปากเลสไตน์เพ่ิมมากขึ้น และไม่ช้าประเทศยิวจะถูกก่อตั้งขึ้น
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์อย่งถูกต้งอตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยู่ในประกาศบัลฟอร์ และยิวไม่มีสิทธิซื้อที่ดินด้วย ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้ทั้งฝ่ายยิวและอาหรับ
- การพยายามจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ โดยให้สภาประกอบด้วยสมาชิก 23 คน รวมทั้งข้าหลวงใหญ่ด้วย สามชิก 10 คนมาจากการแต่งตั้ง และ12 คนมาจากการเลือกตั้ง ซึงแบ่งเป็นยิว 2 คริสเตียน 2 และอิสลาม 8 คน แต่ฝ่ายอาหรับเชื่อว่าแม้สมาิชิกที่มาจากการเลือกตั้งเป็นชาวยิว 2 คนแต่จะต้องสามาชิกที่เป็นชาวยิวที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามา ความพยายามดังกล่าวจึงล้มเหลว
- ยิวแตกเป็นสองกลุ่ม คือไซออนนิสต์ คือพวกที่ต้องการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์ และพวกที่ไม่ใช้ไซออนนิสต์คือพวกที่ไม่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ การอพยพของยิวจึงมีทั้งเข้าและออกจากปาเลสไตในระยะแรกอาหรับเบาใจด้วยเห็นว่ายิวอพยพออกจากปาเลสไตน์จึงเกิดความสงบในดินแดนปาเลสไตน์ช่วงเวลาหนึ่งแต่เมือความจริงปรากฎว่ายิวที่อพยพเข้าปาเลสไตน์มีจำนวนมากขึ้นและมีโครงข่ายเกี่ยวเนื่องกับพวกยิวที่ไม่ต้องการกลับมายังปาเลสไตน์ความสงบจึงหยุดลง ความสงบสิ้นสุดลงโดยฝ่ายอาหรับไม่พใจการกระทำของยิวที่ชาวยิวจำนวนหนึ่งเดินขบวนไปที่เวลิ่ง วอลล์ ในเยรูซาเลมและชักธงไซออนนิสต์ และร้องเพลงขาติไซออนนิสต์ ความรุนแรงปะทะนานเป็นเวลา 2 สัปดาห์ มีผุ้เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายร่วม800 คน
คณะกรรมการสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "พวกอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ชีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต..สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย ..พวกยิวจะต้องถูกขับไล่.."
ภายหลังคณะกรรมการองค์การสันนิบาตชาตอภิปรายในปัญหาปาเลสไตน์ รัฐบาลอังกฤษจึงจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษภายใต้การนำของเซอร์ จอห์ โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุ รายงานดังกล่าวอ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกันการอพยพในปีต่อๆ มา
บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ปี 1930 มีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพของยิว และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอกาสจับจองที่ดอนของรัฐบาลมากว่ายิว ปฏิกิริยารุนแรงจากผู้นำไซออนนิสต์ทั่งโลกตามมาทันที่ เชมไวซืแมน ประธานองค์การยิวลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษในสมัยนั้นพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความ เขาปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเกิดเมือนอนของยิวแลสัญญาว่าการอพยพของยิวจะัยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับต้องยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะไ้ด้รับที่ดินของรัฐบาล ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับชาวอาหรับเรียกบันทึกนี้ว่าเอกสารสีดำเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศึตรูโดยตรงต่อรัฐบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ในทันที่ อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจังหวัด
อาหรับไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงในรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สำคัญ และยังแตกแยกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกัน การเรียร้องต่อรัฐบาลในปัญหาต่าง ๆ เช่นเรื่องเอกราช การยุติการอพยพของชาวยิวรวมถึงการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับไม่สามารถที่จะกระตุ้นรัฐบาลให้กระทำการใดๆ เพื่อจุดมุ่งหมายของตน
การประหัตประหารยิวโดยนาซีเยอรมัน ปี 1932 นาซีเยอรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการประหัตประหารชาวยิวในเยอรมนี ผลที่ตามมาคือ จำนวนผุ้อพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยมาจากเยอรนีความเกลียดกลัวของอาหรับที่มีต่อยิวเพิ่มมากขึ้น ท่าที่ผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูกับรัฐบาลและกดดันรัฐบาล
13 เมษา 1936 ชุมชนอาหรับเริ่มใช้ความรุนแรงและโหดร้าย การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนยิวและชุมชนอาหรับ
รายงานผลการสำรวจสาเหตุของความยุ่งยาก " ความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างชุมชนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายใจพรมแดนแคบ ๆ ของประเทศเล็ก ๆ ชาวอาหรับประมาณ แสนคน อยู่ในความมอลหม่านต่อสู้กับชาวยิว 400,000 คน กลุ่มคนทั้งสองมีความแตกต่างกัน อาหรับเป็นเอเซีย ยิวแม้จะเป็นเซมิติกเหมือนอาหรับแต่ไ้รับอิทธิพลจากยุโรป ทั้งสองต่างกันทั้งในด้าน ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น เป็นอุปสรรคต่อขบวนการสันติภาพ.."
- เมื่อมีการเสนอให้แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และทันที่ที่มีอังกฤษออกประกาศแผนการณ์ มีปฏิกิรยิาต่อต้านจากทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทางมาเพื่อพิจารณาดูพื้นที่ในการแบ่งการความยุ่งยากในแผนการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการเงินจึงยังไม่สามารถดปฏิบัิติตามแผนได้
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอนโยบายใหม่ คือแผนการณ์ 10 ปี ในการจัดให้ปาเลสไตน์มีสภาบันที่เป้ฯตัวแทนของประชาชน ให้มีรัฐธรรมนูญ การพอพยของยิวจะสิ้นสุด ภายใน 5 ปี การขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกเท่านั้น.. รัฐาลพบว่าตัวเองอยู่ภายมจ้การโจมตีจากทั้งชุมชนยิวและชุมชนอาหรับในทันที
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ปาเลสไตน์เป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน
ซึ่งมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลมาก รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นชาวเติร์กปกครองคนส่วนใหญ่ที่เป็นอาหรับมุสลิมนั้น ขาดประสิทธิภาพ อ่อนแอ กระทั้งยุโรปเรียกจักวรรดินี้ว่าเป็น "คนป่วยของยุโรป" แม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขั้นใกล้ล้มละลาย การถูกกดดันจากศัตรูภายนอก แต่รฐบาลยังสามารถควบคุ
มดินเแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิที่กว้างใหญ่และแตกแยก ตลอดจนยังได้รับความจงรักภักดีของชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นประเทศใต้บังคับของรัฐบาลออตโตมัน เหตุผลสำคัญคือความอดทนของชนชาติต่างๆ ที่อยู่ใต้ปกครองนั้นเอง
การที่จักรวรรดิถูกแบ่งการปกครองออกเป็นท้องถ่ินนั้น มิได้ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกแบ่งแยกหรือมีความจงรักภักดีเฉพาะท้องถิ่นด ทั้งนี้เพราะแต่ละท้องถิ่นมิไ/ด้มีการแยกออกจากกันโดยพรมแดน ภาษาหรือระเบียบข้อบังคับ ประเทศอาหรับทั้งหลายมีความรู้สึกเป็นชาติเดียวกันโดยมีศูนย์รวมใหญ่ทางจิตใจอยู่บนศาสนา ระบบการปกครองมิได้แบ่งปยกชาวเติร์กออกาจากชาวอาหรับและชาวเคิร์ดส์ ทั้งนี้เพราะแต่ละกลุ่มนับถือศาสนาเดียวกัน หรืออาจหล่าวได้ว่าจักวรรดิออตโตมันก็คือมุสลิม ทั้งนี้เพราะจักรวรรดิออตโตมันเป็นผุ้สืบทอดจักวรรดิอาหรับอิสลามนั้นเอง
กว่า 4 ศตวรรษ ออตโตมันปกครองดินแดนต่าง ๆ ในตะวันออกกลางอยู่นั้นได้ทำให้อารยธรรมอาหรับและตุรกีผสมผสานกันในหลาย ๆ ด้านแม้การปกครองจะอยู่าภายใต้การปกครองของเติร์ก แต่วัฒนธรรมอาหรับและภาษาอารบิกก็ยังคงเข้มแข็งอยุ่ ชาวอาหรับและภาษาอารบิกมีบทบาทสำคัญในระบบงานด้านการปกครองขอออตโตมัน ภาษาอารบัิกเป็นภาษของคัมภรีกุรอ่านและภาษาในสุเหร่า ส่วนสำคัญของรัฐบาลออกโตมันก็คือกฎมหายชาเรียอันศัดิ์สิทธิ์ ซึ่งจะไม่สามารถเรียรู้ได้ โดยปราศจากความรู้ในภาษาอารบิก
รัฐบาลออตโตมันมิได้มีอิทธิพลอย่างเข้มแข็งในการปกครองเหนือดินแดนต่าง ๆ ของอาหรับ เมื่อหัวหน้าเผ่าตามท้องถ่ิน รหือเจ้าแขกมีอำนาจมากขึ้นก็จะไใ้ความเคารพนับถือเฉพาะตัวเจ้าเมือง โดยมิได้เห็นความสำคัญฐของสุลต่านซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินเลย ดังในเลบานอน ปาเลสไตน์ และอิรัก เจ้าผุ้ปกครองท้องถ่ินหรือหัวหน้าเผ่าซึงเป็นอาหรับมีความเป็ฯอิสระจารัฐบาลกลาง ในอียิปต์เจ้าผู้ปกครอง คือ อิบราฮิม ซึ่งเป็ฯโอรสของมูฮัมหมัน อาลี แนะนำในมีการปฏิรูปการปกครองประเทศซึ่งเท่ากับเป็ฯการเริ่มต้นยุคสมัยใหม่ของอิยิปต์
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสัญญาหลายฉบับที่ยกปาเลสไตน์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ
ตามข้อตกลง ซิกเคส-พิคอท Sykes-Picot Agreement เป็นสัญญาร่วมระหว่างอังกฤษ ผรั่งเศส และรัสเซีย มีใจความสำคัญคือปาเลสไตน์จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของฝรั่งเศสเมื่อสิ้นสงคราม
ประกาศบัลฟอร์ Balfour Declaration ปาเลสไตน์จะถูกสร้างเป็นบ้านเกิดเมืองนอนสำหรับชาวยิว
จดหมายแลกเปลี่ยนระหว่างฮุสเซน และแมคมาฮอน Husain-McMahon Correspondence ซึ่งเป็นจดหมายะรหว่างอังกฤษกับผู้แทนอาหรับระบุข้อความว่า ปาเลสไตน์จะตกเป็นของชาวอาหรับ
ครั้งสงครามยุติลงอังกฤษก็พยายามจะควบคุมดินแดนนี้ ส่วยฝ่ายอื่นๆ ตามสัญญาดังกล่าวก็พยายามที่จะรักษาสิทธิของตน มีการปะทะกันทางการทูตระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ฝรั่งเศสกล่าวหาว่าอังกฤษไม่ซื่อสัตย์ในประเด็นปาเลสไตน์ ซีเรีย และโมซุล ปัญหาดังกล่าวยุติในกรประชุมสันติภาพที่ปารี Paris peace Conference ในเดื่อนเมษายน ปี 1920 โดยที่ประชุมมีมติให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติของอังกฤษภายมต้สันิบาตชาติ จึงมีอีก 2 พวกที่ไม่พอใจคำอนุมัติดังกล่าว คือ ไซออนิสต์และอาหรับ
การปกครองของอังกฤษในปาเลสไตน์ยากลำบากมาก อังกฤษปกครองนานถึง 30 ปี แต่ไม่สามารถแก้ไปญหาปาเลสไตน์ได้
ปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษ
- 1 กรกฎาคม 1920 อังกฤษส่ง เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แซมวล ในฐานะข้าหลวงใหญ่คนแรกของรัฐบาลอาณัติ ซึ่งเป็นฝ่ายพลเรื่อรัฐบาลพลเรือนได้เปิดให้มีการซื้้อขายที่ดินได้ การซื้อที่ดินครั้งแรกกรทำโดยมูลนิธิยิวและบริษทัทพัฒนาที่ดินปาเลสไตน์ เซอร์ เฮอร์เิบิร์ด แซมวล ผุ้กลายเป็นผุ้สนัลสนุนลัทธิไซออนิสต์คนสำคัญในอังกฤษระหว่างสงครา ได้จัดโควต้าสำหรับการอพยพของชาวยิว 16,500 คนในปีแรก แต่ก่อนจะมีการประกาศโควต้าดังกล่าวก็มีการปะทะกันระหว่างยิวและอาหรับในปากเลสไตน์ การอพยพดังกล่วหยุดชะงัก ประชาชอาหรับเกรงว่าจำนวนชาวยิวอพยพเข้าสู่ปากเลสไตน์เพ่ิมมากขึ้น และไม่ช้าประเทศยิวจะถูกก่อตั้งขึ้น
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจแยกทรานส์จอร์แดนออกจากปาเลสไตน์อย่งถูกต้งอตามกฎหมาย โดยให้เหตุผลว่า ทรานส์จอร์แดนไม่อยู่ในประกาศบัลฟอร์ และยิวไม่มีสิทธิซื้อที่ดินด้วย ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้ทั้งฝ่ายยิวและอาหรับ
- การพยายามจัดตั้งสภาปาเลสไตน์ โดยให้สภาประกอบด้วยสมาชิก 23 คน รวมทั้งข้าหลวงใหญ่ด้วย สามชิก 10 คนมาจากการแต่งตั้ง และ12 คนมาจากการเลือกตั้ง ซึงแบ่งเป็นยิว 2 คริสเตียน 2 และอิสลาม 8 คน แต่ฝ่ายอาหรับเชื่อว่าแม้สมาิชิกที่มาจากการเลือกตั้งเป็นชาวยิว 2 คนแต่จะต้องสามาชิกที่เป็นชาวยิวที่ได้รับการแต่งตั้งเข้ามา ความพยายามดังกล่าวจึงล้มเหลว
- ยิวแตกเป็นสองกลุ่ม คือไซออนนิสต์ คือพวกที่ต้องการอพยพเข้าสู่ปาเลสไตน์ และพวกที่ไม่ใช้ไซออนนิสต์คือพวกที่ไม่ต้องการกลับสู่ปาเลสไตน์ การอพยพของยิวจึงมีทั้งเข้าและออกจากปาเลสไตในระยะแรกอาหรับเบาใจด้วยเห็นว่ายิวอพยพออกจากปาเลสไตน์จึงเกิดความสงบในดินแดนปาเลสไตน์ช่วงเวลาหนึ่งแต่เมือความจริงปรากฎว่ายิวที่อพยพเข้าปาเลสไตน์มีจำนวนมากขึ้นและมีโครงข่ายเกี่ยวเนื่องกับพวกยิวที่ไม่ต้องการกลับมายังปาเลสไตน์ความสงบจึงหยุดลง ความสงบสิ้นสุดลงโดยฝ่ายอาหรับไม่พใจการกระทำของยิวที่ชาวยิวจำนวนหนึ่งเดินขบวนไปที่เวลิ่ง วอลล์ ในเยรูซาเลมและชักธงไซออนนิสต์ และร้องเพลงขาติไซออนนิสต์ ความรุนแรงปะทะนานเป็นเวลา 2 สัปดาห์ มีผุ้เสียชีวิตทั้งสองฝ่ายร่วม800 คน
คณะกรรมการสำรวจปาเลสไตน์พบว่า "พวกอาหรับมองดูว่าการอพยพของยิวเป็นการข่มขู่ชีวิตพวกเขา ทั้งในปัจจุบันและอนาคต..สินค้ายิวก็แพง แต่การแทรกแซงของยิวก็เป็นสิ่งเลวร้าย ..พวกยิวจะต้องถูกขับไล่.."
ภายหลังคณะกรรมการองค์การสันนิบาตชาตอภิปรายในปัญหาปาเลสไตน์ รัฐบาลอังกฤษจึงจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษภายใต้การนำของเซอร์ จอห์ โฮบ ซิมสัน เพื่อสำรวจหาสาเหตุ รายงานดังกล่าวอ้างถึงการอพยพใหญ่ของยิวว่าเป็นสาเหตุสำคัญและเสนอให้มีการจำกันการอพยพในปีต่อๆ มา
บันทึกสีขาวของพาสฟิลด์ปี 1930 มีสาระสำคัญคือให้จำกัดการอพยพของยิว และให้ชาวอาหรับที่ไม่มีที่ดินได้มีโอกาสจับจองที่ดอนของรัฐบาลมากว่ายิว ปฏิกิริยารุนแรงจากผู้นำไซออนนิสต์ทั่งโลกตามมาทันที่ เชมไวซืแมน ประธานองค์การยิวลาออกจากตำแหน่ง แรมซี่ย์ แมคโดนัลด์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษในสมัยนั้นพยายามอธิบายถึงคำจำกัดความ เขาปฏิเสธการเลิกล้มความตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเกิดเมือนอนของยิวแลสัญญาว่าการอพยพของยิวจะัยังคงดำเนินต่อไป ส่วนชาวอาหรับต้องยอมสละทรัพย์สินของตนให้แก่ชาวยิว จึงจะไ้ด้รับที่ดินของรัฐบาล ความไม่พอใจเกิดขึ้นทันที่ในหมู่ชาวอาหรับชาวอาหรับเรียกบันทึกนี้ว่าเอกสารสีดำเป็นครั้งแรกที่อาหรับแสดงความเป็นศึตรูโดยตรงต่อรัฐบาลอังกฤษมากว่าต่อยิว ในทันที่ อาหรับคว่ำบาตร ปฏิเสธการทำงานร่วมกับกลุ่มชนยิวในกิจการของจังหวัด
อาหรับไม่มีผุ้แทนที่มีเสียงในรัฐบาล ไม่มีองค์การทางการเมืองที่สำคัญ และยังแตกแยกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกัน การเรียร้องต่อรัฐบาลในปัญหาต่าง ๆ เช่นเรื่องเอกราช การยุติการอพยพของชาวยิวรวมถึงการจำกัดการขายที่ดิน แต่อาหรับไม่สามารถที่จะกระตุ้นรัฐบาลให้กระทำการใดๆ เพื่อจุดมุ่งหมายของตน
การประหัตประหารยิวโดยนาซีเยอรมัน ปี 1932 นาซีเยอรมันขึ้นมามีอำนาจและทำการประหัตประหารชาวยิวในเยอรมนี ผลที่ตามมาคือ จำนวนผุ้อพยพเพ่ิมเป็น 3 เท่าโดยมาจากเยอรนีความเกลียดกลัวของอาหรับที่มีต่อยิวเพิ่มมากขึ้น ท่าที่ผุ้นำอาหรับแสดงความเป็นศัตรูกับรัฐบาลและกดดันรัฐบาล
13 เมษา 1936 ชุมชนอาหรับเริ่มใช้ความรุนแรงและโหดร้าย การโจมตีเกิดขึ้นระหว่างชุมชนยิวและชุมชนอาหรับ
รายงานผลการสำรวจสาเหตุของความยุ่งยาก " ความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างชุมชนแห่งชาติ 2 กลุ่ม ภายใจพรมแดนแคบ ๆ ของประเทศเล็ก ๆ ชาวอาหรับประมาณ แสนคน อยู่ในความมอลหม่านต่อสู้กับชาวยิว 400,000 คน กลุ่มคนทั้งสองมีความแตกต่างกัน อาหรับเป็นเอเซีย ยิวแม้จะเป็นเซมิติกเหมือนอาหรับแต่ไ้รับอิทธิพลจากยุโรป ทั้งสองต่างกันทั้งในด้าน ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดและการปฏิบัติตนก็ต่างกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น เป็นอุปสรรคต่อขบวนการสันติภาพ.."
- เมื่อมีการเสนอให้แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และทันที่ที่มีอังกฤษออกประกาศแผนการณ์ มีปฏิกิรยิาต่อต้านจากทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแบ่งแยกก็จะเดินทางมาเพื่อพิจารณาดูพื้นที่ในการแบ่งการความยุ่งยากในแผนการณ์ โดยเฉพาะเรื่องการเงินจึงยังไม่สามารถดปฏิบัิติตามแผนได้
- รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจเสนอนโยบายใหม่ คือแผนการณ์ 10 ปี ในการจัดให้ปาเลสไตน์มีสภาบันที่เป้ฯตัวแทนของประชาชน ให้มีรัฐธรรมนูญ การพอพยของยิวจะสิ้นสุด ภายใน 5 ปี การขายที่ดินของอาหรับจะได้รับอนุญาตเพียงภายในพื้นที่ที่ถูกเลือกเท่านั้น.. รัฐาลพบว่าตัวเองอยู่ภายมจ้การโจมตีจากทั้งชุมชนยิวและชุมชนอาหรับในทันที
วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556
WWI:Win-Lost
ความทารุณของสงครามโลกครั้งที่ 1 ก่อให้เกิดความเกลียดชังและอาฆาตกันอย่างรุนแรงระหว่างประเทศคู่สงคราม เมื่อสงครามสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลาง ฝ่ายชนะบีบบังคับฝ่่า่ยแพ้ให้ยอมรับเงื่อนไขในสนธิสัญญาสันติภาพที่รุนแรง โดยเฉพาะสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซาย Treaty of Versailles ที่เยอรมันถูกบับบังคับให้ลงนาม มีผลให้เยอรมนีสูญเสียดินแดนในแก่ประเทศรอบข้าง สูญเสียพลเมืองคิดเป็นร้อยละ 10 ของจำนวนพลเมืองเยอรมันก่อนสงคราม กองทัพบกเยอรมันถูกจำกัดกำลัง ห้ามสร้างอาวุธ ยกเลิกกองเสนาธิการ รวมทั้งส่งมอบเรือรบและอาวูยุทธภันฑ์ทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ
ประเด็นที่ทำให้ชาวเยอรมันไม่พอใจมากที่สุดคือ สนธิสัญญาแวร์ซายข้อที่ 231 ซึ่งระบุว่าสงครามเกิดจากเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน ซึ่งการยกความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมนีฝ่ายเดียวนั้น ทำให้เยอรมนีต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดในการสงคราม การบีบบังคับให้เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามในอัตราปีละห้าพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจากจะเกินกำลังที่จะจ่ายแล้วผู้ชนะนังใช้มาตรการที่ทำให้เศรษฐกิจฝ่ายตรงข้ามต้องทรุดอีก เช่น ต้องส่งมอบเรือพาณิชย์ทั้งหมดและหนึ่งในสี่ของกองเรือประมงและรางรถไฟสำรองทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ ต้องสร้างเรือที่มีระวางบรรทุกสองแสดนตันทุกปี เพื่อชดใช้เรือฝ่ายพันธมิตรที่ถูกจม ต้องส่งถ่านหินจำนวนมหาศาลให้แก่ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียมเป็นรายปี ฝรั่งเศสยังมีอำนาจควบคุมเศรษฐกิจในแคว้นซาร์ ของเยอรมนีซึ่งมั่งคั่งด้วยถ่านหินและเหล็ก ิยอรมนีต้องรับภาระค่าใ้ช้จ่ายของกองทัพฝ่ายพันธมิตรที่ยึดครองแควนไรน์ ..
การระบุความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมัน นั้นทำให้ถูกกีดดันจากสันนิบาติชาติ (ุ้นำทั้งทางการเมืองและการทหารถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงคราม และถูกส่งตัวให้ศาลระวห่างประเทศ พิจารณาความผิด ห้ามการรวมตัวทางการเมืองระหว่างออสเตรียและเยอรมนี
การปฏิบัติอันเลวร้ายที่ผุ้แทนเยอรมนีได้รับระหว่างการเจรจาขอลดหย่อนมาตรการที่รุนแรง ทำให้คนเยอมันรู้สึกแค้นเคืองอย่างยิ่ง และเชื่อว่าเยอรมนีถูกหักหลัง เพราะบัญญัติ 14 ประการของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ซึ่งเสมือนคำสัญญาว่าเยอรมนีจะได้รับการปฏิบัติอย่างดีในการยอมแพ้สงคราม
ประเทศผู้แพ้สงครามอื่นๆ ก็ได้รับการปฏิบัติที่รุนแรง ออสเตรีย-ฮังการี จักวรรดิของราชวงศ์ฮับส์บวร์กถูกแบ่งออกเป็นประเทศเล็กๆ ที่ได้รับการสถาปนาขึ้นภายหลังสงคราม ออสเตรียและฮังการีถูกแยกออกโดยเด็ดขาด บัลแกแรียและตุรกีได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง โดยเฉพาะตุรกี มุสตาฟา อคมาล ทำากรปฏิบัติและเรียร้องให้มีการเจรจาทำในธิสัญญาฉบับใหม่
ประเด็นที่ทำให้ชาวเยอรมันไม่พอใจมากที่สุดคือ สนธิสัญญาแวร์ซายข้อที่ 231 ซึ่งระบุว่าสงครามเกิดจากเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน ซึ่งการยกความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมนีฝ่ายเดียวนั้น ทำให้เยอรมนีต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดในการสงคราม การบีบบังคับให้เยอรมนีจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามในอัตราปีละห้าพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจากจะเกินกำลังที่จะจ่ายแล้วผู้ชนะนังใช้มาตรการที่ทำให้เศรษฐกิจฝ่ายตรงข้ามต้องทรุดอีก เช่น ต้องส่งมอบเรือพาณิชย์ทั้งหมดและหนึ่งในสี่ของกองเรือประมงและรางรถไฟสำรองทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะ ต้องสร้างเรือที่มีระวางบรรทุกสองแสดนตันทุกปี เพื่อชดใช้เรือฝ่ายพันธมิตรที่ถูกจม ต้องส่งถ่านหินจำนวนมหาศาลให้แก่ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียมเป็นรายปี ฝรั่งเศสยังมีอำนาจควบคุมเศรษฐกิจในแคว้นซาร์ ของเยอรมนีซึ่งมั่งคั่งด้วยถ่านหินและเหล็ก ิยอรมนีต้องรับภาระค่าใ้ช้จ่ายของกองทัพฝ่ายพันธมิตรที่ยึดครองแควนไรน์ ..
การระบุความผิดให้ตกอยู่กับเยอรมัน นั้นทำให้ถูกกีดดันจากสันนิบาติชาติ (ุ้นำทั้งทางการเมืองและการทหารถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงคราม และถูกส่งตัวให้ศาลระวห่างประเทศ พิจารณาความผิด ห้ามการรวมตัวทางการเมืองระหว่างออสเตรียและเยอรมนี
การปฏิบัติอันเลวร้ายที่ผุ้แทนเยอรมนีได้รับระหว่างการเจรจาขอลดหย่อนมาตรการที่รุนแรง ทำให้คนเยอมันรู้สึกแค้นเคืองอย่างยิ่ง และเชื่อว่าเยอรมนีถูกหักหลัง เพราะบัญญัติ 14 ประการของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ซึ่งเสมือนคำสัญญาว่าเยอรมนีจะได้รับการปฏิบัติอย่างดีในการยอมแพ้สงคราม
ประเทศผู้แพ้สงครามอื่นๆ ก็ได้รับการปฏิบัติที่รุนแรง ออสเตรีย-ฮังการี จักวรรดิของราชวงศ์ฮับส์บวร์กถูกแบ่งออกเป็นประเทศเล็กๆ ที่ได้รับการสถาปนาขึ้นภายหลังสงคราม ออสเตรียและฮังการีถูกแยกออกโดยเด็ดขาด บัลแกแรียและตุรกีได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง โดยเฉพาะตุรกี มุสตาฟา อคมาล ทำากรปฏิบัติและเรียร้องให้มีการเจรจาทำในธิสัญญาฉบับใหม่
วันเสาร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:11/11 /1918
บัลแกเรียเป็นประเทศของฝ่ายมหาอำนาจกลางที่เจรจาสงบศึกในวันที่ 29กันยายน 1918 และตามมาด้วยจักรวรรดิออตโตมันเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1918
หลังจากยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต ของอิตาลีก็ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีถึงจุดจบ การสลายตัวของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กรุงบูดาเปสต์ ปราก และแซกเกร็บประกาศเอกราช การสงบศึกจัดการโดยทางโทรเลขกับฝ่า่ยสัมพันธมิตรในกรุงปารีส มีการลงนามในวิลลา กิอุสติ เมื่อวันที่่ 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรียและฮังการีแยกกันลงนามสงบศึกหลังล้มล้างราชวงศ์ฮัมส์บูร์ก
ต้นปี 1917 เยอรมนีประสบปัญหาและความยุ่งยากหลายประการ เนื่องจากประเทศเยรมนีใช้เงินที่มีอยุ่ในการทำสงครามจนหมด เกิดการปั่นป่วนทางภาวะการเงินและเศรฐกิจของประเทศ เสบียงอาหารและวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศไม่พอเลี้ยงทหารและประชาชน การติดต่อกับประเทศที่เป้นกลาง และพันธมิตรของตนถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม โดยอังกฤษทำการปิดล้อมและขัดขวางการติดต่อของเยอรมนีกับโลกภายนอก ในขณะที่ฝ่ายพันธมิตรได้รับความช่วยเหลือจากอาณานิคมของตน และได้รับการสนับสนุนทางการเงินและอาวุธจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
แม้ในช่วงต้นเยอรมนีจะได้เปรียบคู่ต่อสู้ในหลายด้านแต่เมื่ออเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมนีเนื่องจากสงครามเรือดำน้ำแบบไร้ขอบเขตของเยอรมนีสถานะการณ์จึงเปลี่ยนไป ปลายปี 1917 พันธมิตรของเยรมนีต่างพ่ายแพ้และเรียกร้องความช่วยเหลือจากเยอรมนี ทหารเยอรมันส่วนหญ่ทราบสถานการณ์ประเทศของตนเป็นอย่างดี
แม้ว่ารัสเซียจะออกจากสงครามและเยอรมนีถอนกำลังพลจากทางตะวันออกมาเสริมทางตะวันตกและทำการรุกครั้งใหญ่แต่เมื่อไม่ประสบความผลใดๆ เยรมนีจึงเริ่มถอย
8 สิงหาคม 1918 นายพล ฮินเดนบาร์ก และนายพล ลูเดนดอร์ฟแนะนำในห้รัฐบาลเยอรมันหาทางทำสัญญาสงบศึก
3 ตุลาคม 1918 เจ้าชาย แ็ม็กส์ ฟอน บาเดน Max von Baden ไดัรับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของจักรวรรดิเยอรมนี และติดต่อของทำสัญญาสงบศึกกับประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา วูดโร วิลสันในวันรุ่งขึ้น
เหตุการณ์ภายในประเทศเยอรมนี
8 สิงหาคม 1918 ทหารเยอมันไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของกองบัญชาการทหารสูงสุด ที่สั่งทหารว่างอาวุธ โดยเฉพาะทหารเรือไม่พอใจที่จะให้ทหารอังกฤษเข้ายึดเรือรบเยอรมัน
29 ตุลาคม 1918 ทหารเรือทำการจมเรือทั้งหมดของเยอรมันที่อยู่ ในฐานทัพ
4 พฤศจิกายน 1918 ทหารเรือและประชาชนในเมืองคีล Kiel ก่อความวุ่นวายและสามารถยึดครองเมืองคีลได้ ซึ่งเป็นเหตุให้ทหารและประชาชนในเมืองต่าง ๆ เอาเป็ยเยี่ยงอย่าง เกิดความวุ่นวายขึ้นในหลายเมือง นายพลฮินเดนบวร์ก โทรเลขติดต่อและทูลแนะนำให้จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ขณะนั้นทรงบัฐชาการรบอยู่ที่เมือสปา ในเบลเยี่ยม ให้ทรงสละราชสมบัติ พระองค์ทรงลังเล เจ้าชาย แม็ก วอน บาร์เดน ซึ่งเกรงจะเกิดจราจลเเละเป็นอันตรายต่อเชื้อพระวงศ์และพระมหากษัตริย์เองจึงประกาศการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 และมกุฎราชกุมารเจ้าชายวิลเฮล์ม
ฟิลลิปป์ ชเดมันน์ Philipp Scheidemann ผู้นำสำคัญพรรคสังคมประชาธิปไตรเยอรมัน เรียร้องให้เยอรมนีมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ Republik ในวันต่อมาเจ้าชาย Max von Baden จึงมอบตำแหน่างนายกรัฐมนตรีห้กับหัวหน้าพรรคสังคมประชาธิไตยเยอรมนี นายฟริคริคช์ เอเบอร์ท ในวันเดียวกันจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 เสด็จจากเมืองสปา ลี้ภัยทางการเมืองไปที่ประเทศฮอลแลนด์
11 พฤศจิกายน 1918 เวลา 11:00น. บนตู้รถไฟในคองเปียญ นายทัททิอัส แอสแบร์เกอร์ Matthias Erzberger ผู้แทนของประเทศเยอรมนีได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับผู้แทนของฝ่ายสัมพันธมิตร นายพลชาวฝรั่งเศส เฟอร์ดินานด์ ฟอค จึงเป็นอันยุติสงครามโลกครั้งที่ 1...
หลังจากยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต ของอิตาลีก็ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีถึงจุดจบ การสลายตัวของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กรุงบูดาเปสต์ ปราก และแซกเกร็บประกาศเอกราช การสงบศึกจัดการโดยทางโทรเลขกับฝ่า่ยสัมพันธมิตรในกรุงปารีส มีการลงนามในวิลลา กิอุสติ เมื่อวันที่่ 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรียและฮังการีแยกกันลงนามสงบศึกหลังล้มล้างราชวงศ์ฮัมส์บูร์ก
ต้นปี 1917 เยอรมนีประสบปัญหาและความยุ่งยากหลายประการ เนื่องจากประเทศเยรมนีใช้เงินที่มีอยุ่ในการทำสงครามจนหมด เกิดการปั่นป่วนทางภาวะการเงินและเศรฐกิจของประเทศ เสบียงอาหารและวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศไม่พอเลี้ยงทหารและประชาชน การติดต่อกับประเทศที่เป้นกลาง และพันธมิตรของตนถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม โดยอังกฤษทำการปิดล้อมและขัดขวางการติดต่อของเยอรมนีกับโลกภายนอก ในขณะที่ฝ่ายพันธมิตรได้รับความช่วยเหลือจากอาณานิคมของตน และได้รับการสนับสนุนทางการเงินและอาวุธจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
แม้ในช่วงต้นเยอรมนีจะได้เปรียบคู่ต่อสู้ในหลายด้านแต่เมื่ออเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมนีเนื่องจากสงครามเรือดำน้ำแบบไร้ขอบเขตของเยอรมนีสถานะการณ์จึงเปลี่ยนไป ปลายปี 1917 พันธมิตรของเยรมนีต่างพ่ายแพ้และเรียกร้องความช่วยเหลือจากเยอรมนี ทหารเยอรมันส่วนหญ่ทราบสถานการณ์ประเทศของตนเป็นอย่างดี
แม้ว่ารัสเซียจะออกจากสงครามและเยอรมนีถอนกำลังพลจากทางตะวันออกมาเสริมทางตะวันตกและทำการรุกครั้งใหญ่แต่เมื่อไม่ประสบความผลใดๆ เยรมนีจึงเริ่มถอย
8 สิงหาคม 1918 นายพล ฮินเดนบาร์ก และนายพล ลูเดนดอร์ฟแนะนำในห้รัฐบาลเยอรมันหาทางทำสัญญาสงบศึก
3 ตุลาคม 1918 เจ้าชาย แ็ม็กส์ ฟอน บาเดน Max von Baden ไดัรับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของจักรวรรดิเยอรมนี และติดต่อของทำสัญญาสงบศึกกับประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา วูดโร วิลสันในวันรุ่งขึ้น
เหตุการณ์ภายในประเทศเยอรมนี
8 สิงหาคม 1918 ทหารเยอมันไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งของกองบัญชาการทหารสูงสุด ที่สั่งทหารว่างอาวุธ โดยเฉพาะทหารเรือไม่พอใจที่จะให้ทหารอังกฤษเข้ายึดเรือรบเยอรมัน
29 ตุลาคม 1918 ทหารเรือทำการจมเรือทั้งหมดของเยอรมันที่อยู่ ในฐานทัพ
4 พฤศจิกายน 1918 ทหารเรือและประชาชนในเมืองคีล Kiel ก่อความวุ่นวายและสามารถยึดครองเมืองคีลได้ ซึ่งเป็นเหตุให้ทหารและประชาชนในเมืองต่าง ๆ เอาเป็ยเยี่ยงอย่าง เกิดความวุ่นวายขึ้นในหลายเมือง นายพลฮินเดนบวร์ก โทรเลขติดต่อและทูลแนะนำให้จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ขณะนั้นทรงบัฐชาการรบอยู่ที่เมือสปา ในเบลเยี่ยม ให้ทรงสละราชสมบัติ พระองค์ทรงลังเล เจ้าชาย แม็ก วอน บาร์เดน ซึ่งเกรงจะเกิดจราจลเเละเป็นอันตรายต่อเชื้อพระวงศ์และพระมหากษัตริย์เองจึงประกาศการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 และมกุฎราชกุมารเจ้าชายวิลเฮล์ม
ฟิลลิปป์ ชเดมันน์ Philipp Scheidemann ผู้นำสำคัญพรรคสังคมประชาธิปไตรเยอรมัน เรียร้องให้เยอรมนีมีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ Republik ในวันต่อมาเจ้าชาย Max von Baden จึงมอบตำแหน่างนายกรัฐมนตรีห้กับหัวหน้าพรรคสังคมประชาธิไตยเยอรมนี นายฟริคริคช์ เอเบอร์ท ในวันเดียวกันจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 เสด็จจากเมืองสปา ลี้ภัยทางการเมืองไปที่ประเทศฮอลแลนด์
11 พฤศจิกายน 1918 เวลา 11:00น. บนตู้รถไฟในคองเปียญ นายทัททิอัส แอสแบร์เกอร์ Matthias Erzberger ผู้แทนของประเทศเยอรมนีได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับผู้แทนของฝ่ายสัมพันธมิตร นายพลชาวฝรั่งเศส เฟอร์ดินานด์ ฟอค จึงเป็นอันยุติสงครามโลกครั้งที่ 1...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...