Statelessness ความไร้สัญชาติ เป็นข้อความคิดทางกฎหมายซึ่งพรรณนาถึงการที่บุคคลไม่มีสัญชาติ ใดๆ เลย กล่าวคือ สภาวะซึ่งบุคคลไม่เป็นที่รับรองว่าเกี่ยวข้องกับรัฐชาติรัฐใดๆ เลย บุคคลเช่นนี้เรียก คนไร้สัญชาติ
ไร้สัญชาติโดยนิตินับ เป็นกรณีที่บุคคล "ไม่มีรัฐใดนับวว่าเป็นผุ้ถือสัญชาติโดยผลของกฎหมายแห่งรัฐนั้นเลย"ผุ้ไร้สัญชาติโดยนิตินัยอาจเป็นผู้ลี้ภัยด้วยแต่มิใช่ว่าผู้ขอที่ลั้ภัยทุกคนจะไร้สัญชาติโดยนิตินัย
ไร้สัญชาติโดยพฤตินัย เป็นกรณ๊ที่บุคคลไม่ได้อยู่ในรัฐที่ตนถือสัญชาติ และไม่อาจรับความคุ้มครองจากรับที่ตนกำลังอาศัยอยู่นั้ ซึ่งอาจเป้นผลมาจาการเบียดเบียนของรัฐ หรือการขาดความสัมพันธ์ทางทูตระหว่งรัฐทั้งสองดังกล่าว
โดยปกติ สัญชาติได้มาโดยหลักสองประการคือ ดินแดน และ หลักสายโลหิต หลักดินแดนระบุว่าบุคคลเกิดในดินแดนของรัฐใด ย่อมได้สัญชาติของรัฐนั้น ส่วนหลักสืบสายโบหิตวส่าบุดามารดาถือสัญชาติใด บุคคลย่อมถือสัญชาติตามนั้นด้วย (http//www.th.wikipedia.org.ความไร้สัญชาติ)
บทความ เรื่อง เรือมนุษย์ "โรฮิงญา"พวกเขาถูกจัดประเภทว่า"คนไร้รัฐ" โดยนารบัฒฑิต ไกรวิจิตร เผยแพร่เมื่อ 20 มีนาคม 2556 ..ส่วนหนึ่งของบทความ
".. ประเด็นปัญหา "โรฮิงจา ในประเทศไทยมาจากข้อกังวล คือ เกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาสร้างปัญหาความั่นคงและความสงบเรียบร้อย และเกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาแย่งชิงทรัพยากรในการจัดบริการสาธารณะของรัฐทำให้เกิดทัศนะต่อโรฮิงญาว่าเป้นภัยของประเทศไทยประเภทหนึ่ง
รัฐบาลไทยมีกรอบคิดต่อชาว"โรฮิงญา" จากคำนิยาม "สถานะของบุคคลตามกฎหมาย "ว่าไม่ใช้ "ผู้ลี้ภัย" เพราะจากากรย้ายถิ่นข้ามชายแดนประเทศไม่ได้มาจกาการถูก"การประหัตประหาร" โดยรัฐบาลหรือกลุ่มกองกำลังภายในประเทศพม่าโดยตรง จึงไม่ยอมรับ"สิทธิเพื่อลี้ภัย" รัฐจึงไม่ไใ้สิทธิในฐานะ"ผุ้ลี้ภัย"คำถามที่จะตามมาจึงเป็ฯการแสดงหาขอบเขตว่ารัฐไทยมีกรอบหน้าที่ในการจัดการปัญหาของชาวโรฮิงจาอย่างไร "สิทธิใดบ้างที่ชาวโรฮิงจาต้องได้รับการคุ้มครอง" และ "สิทธิใดบ้างที่แม้แต่คนต่างด้าวหรือไร้สัญชาติพึงได้รับการคุ้ครอง" ชาวโรฮิงจา ถือเป็นมนุษย์และบุคคลตามนิยามของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ทีต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิต่างๆ ตามทีกฎบัตรรับรองแน่นอน รัฐไทยในฐานะที่มีพันธกรณีอยู่กับกฎบัตรสิทธิมนุษชนย่อมมีหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและงดเว้นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของชาวโรฮิงญา แต่ชาวโรฮิงญามิใช่พลเมืองสัญชาติไทยและถึงแม้ชาวโรฮิงจาไม่ใช่พลเมืองไทย และมีปัญหาทางเอกสารยืนยันในความเป็นสัญชาติพม่า แต่การจัดการปัญหาผุ้อพยพชาวโรฮิงจาจะต้องไม่ละเมิดสิทธิขึ้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ รัฐที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือสูงสุดในการปกครองประเทศตามหลัก "นิติรัฐ" จะต้องใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาโดยไม่ขัดกับหลักความยุติธรรมของกฎหมาย คือ แนวทางที่นำไปสู่การสร้างบรรทัดฐานในการจัการปัญหาคนต่างด้าว ไร้สัญชาติ
.... การปฏิบัติจากหน่วยงานรัฐที่มีต่อโรฮิงญา เช่น การประสานงานไปยังรัฐบาลพม่าเพื่อให้รับรองสิทธิความเป็นพลเมืองของผุ้อพยพ การไม่ให้ใช้สิทธิสากลเพื่อยอมรับสิทธิเป็น "ผู้ลี้ภัย" สื่อความหมาว่าโรฮิงญาอพยพปัจจุบันไม่มีรัฐควบคุม ปกครอง ในทางวิชาการเรียกพวเขาว่า "คนไร้รัฐ" และเรียกลักษณะปัญหานี้ว่า "สภาพไร้รัฐ" คือบุคคลที่ไม่รู้ว่าเป็นพลเมืองของรัฐใดดังนั้นจึงไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายของรัฐที่พวกเขาเข้าไปขออาศัยหรือซ่อนตัวซึ่งนักปรัชญาชาวอิตาลีชือ กิออริโอ อากัมเบน เรียกคนประเภทนี้ว่า "ชีวิตอันเปลื่ยเปล่า" คือ บุคคลหรื
อกลุ่มบุคคลที่ไม่มีกฎมายคุ้มครอง..ประเด็นสำคัญต่อการพิจารณาเรื่องชีวิตที่เปลื่อยเปล่าจากอำนาจรัฐจากมุมมองของอาัมเบนนั้นเท่ากับยอมรับว่าสภาพไร้อำนาจรัฐที่จะบังคับให้คุณให้โทษตอผุ้อพยพซึ่งผลในท้ายที่สุดแล้วจะกสภาวะอันเปลือยเปล่าผู้อพยพอาจจะถูกสังหารหรือทำร้ายก็ได้เพราะรัฐเมินที่จะมองมายังบุคคลที่เลป่ยหรือคนทีไร้รัฐ แต่ปัญหาคือ ผุ้อพยพโดยเฉพาะโรฮิงจานั้นไร้รัฐจริงหรือ พวกเขาไร้รัฐจริงหรือ...
.... การยอมรับว่ามีสภาพไร้รัฐ ทั้งจาแนวคิดอากัมเบน และแนวคิดของรัฐไทยผ่านคำอธิบายโดยกองอำนวยการรักษความมั่นคงภายในราชอาณาจักร(กอ.รมน.) (ไทยรัฐ 2566 ) และผุ้บัญชาการทหารเรือ (ผู้จัดการออนไลน์ 13 มีนาคม 2556) ปฏิบัติการภายใต้นโยบายของกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งสองแนวคิดนี้แนบกันได้เกือบสนิท และทำให้สภาพของชาวดรฮิวยากลายเป็นผู้ที่ไม่สามรถรับสิทธิความเป็นมนุษย์ในกฎหมายนานาชาติสากลได้ รัฐบาลไทยลอยตัวออกมาจากปัญหาและสามารถผลักดันชาวโรฮิงจา.."
สำนักข้าหลวงใหญ่ผุ้ลี้ภัยสหประชาชาติ(UNHCR) แสดงความห่วงใยต่อเหตุการณ์ที่ได้มีการค้นพบศพจำนวนมากในค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเจ้ามเืองที่ภาคใต้ของประเทศไทยใสัปดาห์นี้ UNHCR เรียกร้องให้ประเทศในภูมิภาคร่วมือสร้างมาตรการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง และการค้ามนุษย์ในขณะเดียวกัน UNHCR มอบความคุ้มครองให้กับเหยื่อผุ้เคราะห์ร้าย
หน่วยงานของไทยได้แถลงถึงเหตุการณ์การพบศพประมาณ 30 ศพที่เชื่อว่าเป็นกลุ่มคนที่มีต้นกำเนิดจาประเทศพม่า และบังกลาเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการ สืบสวน ข้อสันนิษฐานเบื้องต้นจากตำรวจแจ้งว่าสาเหตุการเสียชีวิตน่าจะมาจากความเจ็บป่วยและการถูกทำร้าย
"มันเป็นเรื่องน่าสลดใจที่ได้รับรู้ว่าผู้คนที่ต้องหลบหนีความยากลำบากจากประเทศของตัวเอง เอาชีวิตมาฝากไว้ในมือของผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองอันเหี้ยมโหด และต้องเสียชีวิตแทนที่จะได้รับความปลอดภัย" เจมส์ ลินซ์ ผุ้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลีภัย แห่งสหประชาชาิระดับภูมิภาคประจำประเทศไทย และผุ้ประสานงานสสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภััยแห่งสหประชาชาติประจำภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าว นี้เป็นครั้งแรกของการพบหลุ่มฝังศพที่เกี่ยว้องกับบุลที่อยู่ในความห่วงใยของ UNHRC ในปีที่แล้ว UNHRC ทราบจากชาวโรฮิงญานับร้อยคนที่รอดชีวิตจาการถูกละเมิดอย่างรุนแรง และการถูกทอดทิ้งโดยผู้ลักลอบขนคนเข้าเมืองทางทะเลในอ่ายเบงกอล และในค่ายตามชายแดนไทย -มาเลเซีย บางคนเล่าว่าเคยเห็นคนเสียชีวิตจากการถูกเฆี่ยนตี และขาดอาหาร ข้อมูลนี้ได้รายงานไปยังรัฐบาลในประเทศต่างๆ เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว
ในประเทศไทย UNHCR ได้ให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลบุคคลที่อยู่ในความห่วงใยซึ่งตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้..เราให้ความช่วยเหลือผุ้รอดชีวิตจากการเข้าตรวจค้นค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเข้าเมือง โดยมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์เร่งด้วน เช่น ชุดอนามัย เสื้อผ้าและผ้าห้ม นอกจากนี้เรายังทำการสัมภาษณ์ ช่วยค้นหาญาติพี่น้องที่พลัดพรากระหว่างเดินทางให้ได้อยู่ด้วยกันอีกคร้งให้คำปรึกษาด้านต่างๆ และดำเนินการเพื่อสร้างโอาสในการตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศที่ 3 สำหรับผู้ที่มีความเปราะบางมากที่สุด
ในประเทศมาเลเซีย UNHCR ให้ความคุ้มครองต่อชุมชนชาวโรฮิงญา ผ่านการตรวจเยียมอย่างสม่ำเสมอและได้เข้าช่วยผุ้อพยพทางเรือให้ได้รับการปล่อยตัวจากศูนบ์กักกัน นอกจากนี้ ยังให้การสนับสนุนโครงการฝึกอาชีพ การพัฒนาชุมชน กิจกรรมเสริมสร้างทักษาะ และโครงกการการศึกษาให้กับชุมชนผุ้ลี้ภัย
"การลักลอบขนคนเข้าเมืองเป็นปัญหาระดับภูมิภาคที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคครอบคลุมถึงประเทศที่เป็นแหล่งที่มา ประเทศทางผ่าน และประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทาง"นายลินซ์กล่าว"มาตรการบังคับยใช้กฎหมรยต้องใช้ควบคู่กับความพยายามในการลดความต้องการในการอพยพและลี้ภัยของชนกลุ่มนี้ตั้งแต่แรกเร่ิม รวมถึงการระบุต้นตอของปัญหาที่ทำให้ผู้คนกลุ่มนี้ต้องตัดสินใจเสี่ยงชีวิตของตัวเองกับการเดินทางที่เสียงอัีนตรายเช่นนี้"
ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่าซึ่งเป็นแหล่วที่มาของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการลักลอบขนคนเข้าเมือง UNHRC ได้รณรงค์มาอย่างยาวนานและพร้อมที่จะทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัยหาที่เกีิดขึ้น โดยตระหนักถึงสิทธิของทุกฝ่าย การปรองดอง ความเท่าเี่ยมกันทางเศรษฐกิจและสังคม และประเด็นที่เกี่ยนวข้องกับความเป็นพลเมือง ( http//www.unhcr.or.th หน้าแรก,ข่าว,)
ไร้สัญชาติโดยนิตินับ เป็นกรณีที่บุคคล "ไม่มีรัฐใดนับวว่าเป็นผุ้ถือสัญชาติโดยผลของกฎหมายแห่งรัฐนั้นเลย"ผุ้ไร้สัญชาติโดยนิตินัยอาจเป็นผู้ลี้ภัยด้วยแต่มิใช่ว่าผู้ขอที่ลั้ภัยทุกคนจะไร้สัญชาติโดยนิตินัย
ไร้สัญชาติโดยพฤตินัย เป็นกรณ๊ที่บุคคลไม่ได้อยู่ในรัฐที่ตนถือสัญชาติ และไม่อาจรับความคุ้มครองจากรับที่ตนกำลังอาศัยอยู่นั้ ซึ่งอาจเป้นผลมาจาการเบียดเบียนของรัฐ หรือการขาดความสัมพันธ์ทางทูตระหว่งรัฐทั้งสองดังกล่าว
โดยปกติ สัญชาติได้มาโดยหลักสองประการคือ ดินแดน และ หลักสายโลหิต หลักดินแดนระบุว่าบุคคลเกิดในดินแดนของรัฐใด ย่อมได้สัญชาติของรัฐนั้น ส่วนหลักสืบสายโบหิตวส่าบุดามารดาถือสัญชาติใด บุคคลย่อมถือสัญชาติตามนั้นด้วย (http//www.th.wikipedia.org.ความไร้สัญชาติ)
บทความ เรื่อง เรือมนุษย์ "โรฮิงญา"พวกเขาถูกจัดประเภทว่า"คนไร้รัฐ" โดยนารบัฒฑิต ไกรวิจิตร เผยแพร่เมื่อ 20 มีนาคม 2556 ..ส่วนหนึ่งของบทความ
".. ประเด็นปัญหา "โรฮิงจา ในประเทศไทยมาจากข้อกังวล คือ เกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาสร้างปัญหาความั่นคงและความสงบเรียบร้อย และเกรงว่าคนจากที่อื่นจะเข้ามาแย่งชิงทรัพยากรในการจัดบริการสาธารณะของรัฐทำให้เกิดทัศนะต่อโรฮิงญาว่าเป้นภัยของประเทศไทยประเภทหนึ่ง
รัฐบาลไทยมีกรอบคิดต่อชาว"โรฮิงญา" จากคำนิยาม "สถานะของบุคคลตามกฎหมาย "ว่าไม่ใช้ "ผู้ลี้ภัย" เพราะจากากรย้ายถิ่นข้ามชายแดนประเทศไม่ได้มาจกาการถูก"การประหัตประหาร" โดยรัฐบาลหรือกลุ่มกองกำลังภายในประเทศพม่าโดยตรง จึงไม่ยอมรับ"สิทธิเพื่อลี้ภัย" รัฐจึงไม่ไใ้สิทธิในฐานะ"ผุ้ลี้ภัย"คำถามที่จะตามมาจึงเป็ฯการแสดงหาขอบเขตว่ารัฐไทยมีกรอบหน้าที่ในการจัดการปัญหาของชาวโรฮิงจาอย่างไร "สิทธิใดบ้างที่ชาวโรฮิงจาต้องได้รับการคุ้มครอง" และ "สิทธิใดบ้างที่แม้แต่คนต่างด้าวหรือไร้สัญชาติพึงได้รับการคุ้ครอง" ชาวโรฮิงจา ถือเป็นมนุษย์และบุคคลตามนิยามของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ทีต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิต่างๆ ตามทีกฎบัตรรับรองแน่นอน รัฐไทยในฐานะที่มีพันธกรณีอยู่กับกฎบัตรสิทธิมนุษชนย่อมมีหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและงดเว้นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของชาวโรฮิงญา แต่ชาวโรฮิงญามิใช่พลเมืองสัญชาติไทยและถึงแม้ชาวโรฮิงจาไม่ใช่พลเมืองไทย และมีปัญหาทางเอกสารยืนยันในความเป็นสัญชาติพม่า แต่การจัดการปัญหาผุ้อพยพชาวโรฮิงจาจะต้องไม่ละเมิดสิทธิขึ้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ รัฐที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือสูงสุดในการปกครองประเทศตามหลัก "นิติรัฐ" จะต้องใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาโดยไม่ขัดกับหลักความยุติธรรมของกฎหมาย คือ แนวทางที่นำไปสู่การสร้างบรรทัดฐานในการจัการปัญหาคนต่างด้าว ไร้สัญชาติ
.... การปฏิบัติจากหน่วยงานรัฐที่มีต่อโรฮิงญา เช่น การประสานงานไปยังรัฐบาลพม่าเพื่อให้รับรองสิทธิความเป็นพลเมืองของผุ้อพยพ การไม่ให้ใช้สิทธิสากลเพื่อยอมรับสิทธิเป็น "ผู้ลี้ภัย" สื่อความหมาว่าโรฮิงญาอพยพปัจจุบันไม่มีรัฐควบคุม ปกครอง ในทางวิชาการเรียกพวเขาว่า "คนไร้รัฐ" และเรียกลักษณะปัญหานี้ว่า "สภาพไร้รัฐ" คือบุคคลที่ไม่รู้ว่าเป็นพลเมืองของรัฐใดดังนั้นจึงไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายของรัฐที่พวกเขาเข้าไปขออาศัยหรือซ่อนตัวซึ่งนักปรัชญาชาวอิตาลีชือ กิออริโอ อากัมเบน เรียกคนประเภทนี้ว่า "ชีวิตอันเปลื่ยเปล่า" คือ บุคคลหรื
.... การยอมรับว่ามีสภาพไร้รัฐ ทั้งจาแนวคิดอากัมเบน และแนวคิดของรัฐไทยผ่านคำอธิบายโดยกองอำนวยการรักษความมั่นคงภายในราชอาณาจักร(กอ.รมน.) (ไทยรัฐ 2566 ) และผุ้บัญชาการทหารเรือ (ผู้จัดการออนไลน์ 13 มีนาคม 2556) ปฏิบัติการภายใต้นโยบายของกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งสองแนวคิดนี้แนบกันได้เกือบสนิท และทำให้สภาพของชาวดรฮิวยากลายเป็นผู้ที่ไม่สามรถรับสิทธิความเป็นมนุษย์ในกฎหมายนานาชาติสากลได้ รัฐบาลไทยลอยตัวออกมาจากปัญหาและสามารถผลักดันชาวโรฮิงจา.."
สำนักข้าหลวงใหญ่ผุ้ลี้ภัยสหประชาชาติ(UNHCR) แสดงความห่วงใยต่อเหตุการณ์ที่ได้มีการค้นพบศพจำนวนมากในค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเจ้ามเืองที่ภาคใต้ของประเทศไทยใสัปดาห์นี้ UNHCR เรียกร้องให้ประเทศในภูมิภาคร่วมือสร้างมาตรการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง และการค้ามนุษย์ในขณะเดียวกัน UNHCR มอบความคุ้มครองให้กับเหยื่อผุ้เคราะห์ร้าย
หน่วยงานของไทยได้แถลงถึงเหตุการณ์การพบศพประมาณ 30 ศพที่เชื่อว่าเป็นกลุ่มคนที่มีต้นกำเนิดจาประเทศพม่า และบังกลาเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการ สืบสวน ข้อสันนิษฐานเบื้องต้นจากตำรวจแจ้งว่าสาเหตุการเสียชีวิตน่าจะมาจากความเจ็บป่วยและการถูกทำร้าย
"มันเป็นเรื่องน่าสลดใจที่ได้รับรู้ว่าผู้คนที่ต้องหลบหนีความยากลำบากจากประเทศของตัวเอง เอาชีวิตมาฝากไว้ในมือของผุ้ลักลอบขนคนเข้าเมืองอันเหี้ยมโหด และต้องเสียชีวิตแทนที่จะได้รับความปลอดภัย" เจมส์ ลินซ์ ผุ้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลีภัย แห่งสหประชาชาิระดับภูมิภาคประจำประเทศไทย และผุ้ประสานงานสสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภััยแห่งสหประชาชาติประจำภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าว นี้เป็นครั้งแรกของการพบหลุ่มฝังศพที่เกี่ยว้องกับบุลที่อยู่ในความห่วงใยของ UNHRC ในปีที่แล้ว UNHRC ทราบจากชาวโรฮิงญานับร้อยคนที่รอดชีวิตจาการถูกละเมิดอย่างรุนแรง และการถูกทอดทิ้งโดยผู้ลักลอบขนคนเข้าเมืองทางทะเลในอ่ายเบงกอล และในค่ายตามชายแดนไทย -มาเลเซีย บางคนเล่าว่าเคยเห็นคนเสียชีวิตจากการถูกเฆี่ยนตี และขาดอาหาร ข้อมูลนี้ได้รายงานไปยังรัฐบาลในประเทศต่างๆ เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว
ในประเทศไทย UNHCR ได้ให้ความช่วยเหลือเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลบุคคลที่อยู่ในความห่วงใยซึ่งตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้..เราให้ความช่วยเหลือผุ้รอดชีวิตจากการเข้าตรวจค้นค่ายของกลุ่มลักลอบขนคนเข้าเมือง โดยมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์เร่งด้วน เช่น ชุดอนามัย เสื้อผ้าและผ้าห้ม นอกจากนี้เรายังทำการสัมภาษณ์ ช่วยค้นหาญาติพี่น้องที่พลัดพรากระหว่างเดินทางให้ได้อยู่ด้วยกันอีกคร้งให้คำปรึกษาด้านต่างๆ และดำเนินการเพื่อสร้างโอาสในการตั้งถิ่นฐานใหม่ในประเทศที่ 3 สำหรับผู้ที่มีความเปราะบางมากที่สุด
ในประเทศมาเลเซีย UNHCR ให้ความคุ้มครองต่อชุมชนชาวโรฮิงญา ผ่านการตรวจเยียมอย่างสม่ำเสมอและได้เข้าช่วยผุ้อพยพทางเรือให้ได้รับการปล่อยตัวจากศูนบ์กักกัน นอกจากนี้ ยังให้การสนับสนุนโครงการฝึกอาชีพ การพัฒนาชุมชน กิจกรรมเสริมสร้างทักษาะ และโครงกการการศึกษาให้กับชุมชนผุ้ลี้ภัย
"การลักลอบขนคนเข้าเมืองเป็นปัญหาระดับภูมิภาคที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคครอบคลุมถึงประเทศที่เป็นแหล่งที่มา ประเทศทางผ่าน และประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทาง"นายลินซ์กล่าว"มาตรการบังคับยใช้กฎหมรยต้องใช้ควบคู่กับความพยายามในการลดความต้องการในการอพยพและลี้ภัยของชนกลุ่มนี้ตั้งแต่แรกเร่ิม รวมถึงการระบุต้นตอของปัญหาที่ทำให้ผู้คนกลุ่มนี้ต้องตัดสินใจเสี่ยงชีวิตของตัวเองกับการเดินทางที่เสียงอัีนตรายเช่นนี้"
ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่าซึ่งเป็นแหล่วที่มาของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการลักลอบขนคนเข้าเมือง UNHRC ได้รณรงค์มาอย่างยาวนานและพร้อมที่จะทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัยหาที่เกีิดขึ้น โดยตระหนักถึงสิทธิของทุกฝ่าย การปรองดอง ความเท่าเี่ยมกันทางเศรษฐกิจและสังคม และประเด็นที่เกี่ยนวข้องกับความเป็นพลเมือง ( http//www.unhcr.or.th หน้าแรก,ข่าว,)