เวียดนาม เป็นประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทาด้านตะวันออกสุดของคาบสมุรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีนทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิสตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก
หมู่โบราณสถานเมืองเว้ Complex of Hue Monument
เว้ เป็นเมืองเอกของจังหวัด เถื่อเทียน-เว้ ประเทศเวียดนามและเคยเป็นเมืองหลวงเก่าในสมัยราชวงศ์เหงียนช่วงปี พ.ศ. 2345-2488 มีชื่อเสียงจากโบราณสถานที่มีอยุ่ทั่วเมือง แต่เดิมนั้นเว้เป็นเมืองหลวงของราชวงศ์เหงียน ซึ่งปกครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของเวียดนามตอนใต้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-19 เว้มีฐานะเป็ฯเมืองหลวงของประเทศจนึถงปี พ.ศ. 2488 เมื่อจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนามทรางสละราชสมบัติ และมีการก่อตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ทางตอานเหือของเวียดนาม ต่อมาในปี พ.ศ. 2492 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงได้รับการช่วยเหลือจากชาวฝรั่งเศสในอาณานิคม และทรงก่อตั้งเมืองหลวงใหม่ คือ ไซ่องอ่น ทางใต้ของประเทศ
ในช่วงสงครามเวียดนาม เว้อยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับอาณาเขตระหวางเวียดนามเหนือและเวียนามใต้ ดดยเว้อยู่ในอาณาเขตของเวียดนามใต้ ในปี พ.ศ. 2511 ตัวเมืองได้รับความเสียหายอย่างหนัก โดยเฉพาะโบราณสถานหลายแห่งมีระดมยิงและถูกระเบิดจากกองทัพอเมริกัน แม้หลังสงครามสงบลงแล้ว เหล่าโบราณสถานหลายแก่งที่ระดมยิงและถุกระเบิดจากกองทัีพอเมริกัน แม้หลังสงครามสงบลงแล้ว เหล่าโบราณสถานก็ยังไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ เนื่องจากถุกกลุ่มผุ้นำคอมมิวนิสต์และชขาวเวียดนามบางส่วนมองว่าเป็นสัญลักษณ์ของระบอบศักดินาในอดีต แตะหลังจากนี้แนวคิดทางการเมืองได้เปลี่ยนแปลงไป ก็เร่ิมมีการบูรณะโบราณสถานบางส่วน เว้ได้รับการยืนยันจากองค์การยูเนสโก็ประกาศขึนทะเบียนให้เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมในปี พ.ศ. 2536 สิ่งเหล่านีเองที่เป็นมนต์เสน่ห์ดึงดุดนักท่องเที่ยวจากทั่วดลกให้มาเยี่ยมเยือนรเมืองมรดกโลกริมแม่น้ำหอมที่ไม่ได้สูญกายไปพร้อมกับกาลเวลาแห่งนี้
สุสานจักรพรรดิตือดิ์ก อยู่ทางทิศตะวันตกเแียงใต้ของเมืองเว้ ตำหนัก 2 แห่งภายใต้อาคารไม้เก่าแก่ที่ตั้งอยู่ริมทะเลสาบลูเคียม อันรายล้อมด้วยดอกบัวที่บานสะพรั่งส่งกลิ่นหอมไปทั่ว พระองค์ทรงใช้เวลาว่างในตำหนักแก่งนี้นิพนธ์บทกวีและพักผ่อนหย่อนใจด้วยการตกปลา ถัดมาที่ส่วนกลางวงของสุสานมีศิลาจารึกขนาดใหญ่ที่กล่าวถึงพระเกียรติคุณและเรื่องราวต่างๆ เกิดขึ้นในรัชสมัย และอาคารทรงดรงขนาดใหญ่ที่ใช้เป็นโรงละครสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ส่วนตัวสุสานของพระองค์นั้นอยุ่ด้านในสุด รายล้อมไปด้วยความร่มรื่นขอวทิวสน ต้นไม้ที่แสดงถึงความอมตะ เพราะมีต้นไม่เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่มีใบเขียวตลอดปี ชาวเวียดนามจึงนำไปเปรียบเทียบกับความเป็นอมตะขององค์จักรพรรดิแห่งราชวงศ์เหงี่ยน
สุสานจักรพรรดิมินห์มาง ตั้งอยู่บริเวณปากน้ำตาตรักและหุรัค ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำหมอมาบรรจบกัน บริเวณหมุ่บ้านบานเวียด การก่อสร้างสุสานแห่งนี้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2383 หรือ 1 ปี ก่อนสิ้นพระชนม์ และสำเร็จลงโดยพระเจ้าเถี่ยวตรี รัชทายาทของพระองค์ในปี พ.ศ. 2386 เพระเจ้ามิงห์หมา่างเป็นพระโอรสองค์ที่ 4 ของพระเจ้ายอลอง และเป็นจักรพรรรดิองค์ที่ 2 ในราชวงศ์เหวียน พระองค์ทรงสร้างนครจักรพรรดิและได้รับการยอกย่องอย่างสูงจากการที่ทรงปฏิรูปขนบธรรมเนียมประเพณีและเกษตรกรรม พระองค์ทรงยึคดมั่นในแบบแผนการบริหารการปกครองตามแบบจีน โดยการให้หัวเมืองต่างๆ มาขึ้นตรงต่อราชสำนัก รวมทั้งนดยบายายต่อต้านฝรั่งเศสและปราบปรามพวกนอกศาสนาอย่างรุนแรง ซึ่งนโยบายนี้เองที่ทำให้เวียดนามตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในเวลาต่อมา
อ่าวหะล็อง Ha Long Bay อ่าวหะล็อง เป็นอ่าวแห่งหนึ่งในพื้นที่ของอ่าวตังเกี๋ยทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ใกล้ชายแดนติดต่อกับประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,500 ตารางกิโลเมตรและมีชายฝั่งยาว 120 กิโลเมตร ชื่อตามการออกเสียงในภาษเวยดนามเขียนได้ว่า Vinh Ha Long กมายถึง อ่าวแห่งมังกรผุ้ดำดิ่ง
ในอ่าวหะล็องมีเกาะหินปูนจำนวน 1,969 เกาะโผล่พ้นขึ้นมาจากผิวทะเล บนยอมของแต่ละเกาะมีต้นไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นหายเกาะมีถำ้ขนาดใหญ่อยู่ภายใน ถำ้ที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณอ่าวคือ ถ้ำเสกไม้ หรือชื่อเดิมว่า "กร็อตเดแมร์แวย์" ซึ่งตั้งชื่อโดยนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสที่ม่เยี่ยมชมอ่าวเมืองปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายในถ่ำประกอบไปด้วยโพรงกว้าง 3 โพรง มีหินงอกและหินย้อยขนาดใหญ่อยู่จำนวนมาก เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบริเวณอ่าว 2 เกาะ คือ เกาะกั็ตบ่า และเกาะต่วนเจิว ทั้งสองเกาะนี้มีคนตั้งถิ่นฐานอยู่อย่างถาวร บนเกาะมีโรงแรมและชายหาดจำนวนมาดคอยให้บริการนักท่องเที่ยว ส่วนเกาะขนาดเล็กอื่นๆ บางเกาะก็มีโรงแรมและชายหาดจำนวนมากคอยให้บริการนักท่องเที่ยว ส่วนเกาะขนาดเล็กอื่นๆ บางเกาะมีโรงแรมและชายหาดจำนนมากคอยให้บริการนักท่องเที่ยว ส่วนเกาะขนาดเล็กอื่นๆ บางเกาะมีชายหาดที่สวยงสามที่นักท่องเที่ยวนิยมไปเยี่ยมชม
ตามตำนานพื้นบ้าน กล่าวไว้ว่าในอดีต ระหว่างที่ชาวเวียดนามกำลังต่อสู้กับกองทัพชาวีนผู้รุกราน เทพเจ้าได้ส่งกองทัพมังกรลงมาช่วยปกป้องแผ่นดินเวียดนาม มังกรเหล่าน้ได้ดำดิ่งลงสู่ท้องทะเลบริเวณที่เป็นอ่าวหะล็องในปัจจุบัน ทำให้มีอัญมณีและหยกพุ่งกระเด็นออก อัญมณีเหล่านี้กลายเป็นเกาะแก่งน้อยใหญ่กระจายอยู่ทั่วอ่าย เป็นเกราะป้องกันผุ้รุกราน ทำให้ชาวเวียดนามปกป้องแผ่นดินของพวกเขาได้สำเร็จและก่อตั้งประเทศซึ่งต่อมาก็คือเวียดนามในปัจจุบัน บางตำนานสมัยใหม่ก็กล่าวไว้ว่า ปัจจุบันมีสัตว์ในตำนานอาศัยอยู่ที่ก้นอ่าว
เมืองโบราณ ฮอยอัน "แบ๊คแพ๊คไป ฮอยอัน ..." Caledonnia, 22 ตุลาคม 2555
..ความรู้สึกตอนนี้คือ หลงทาง เดินไปเรื่องๆ พลางถามทางไปด้วย เพื่อหาโรงแรมราคาถูก เดินมา 1 ชม. กว่า เข้าดรงแรมนุ้นออกโรงแรมนี้ บางที่ 20 เหรียญเราก็ไม่เอาเพราะแพง ต้องการ 10-15 เหรียญเท่านั้น จนได้มาพบกับโรงแรมเก่าๆ โทรมๆ เป็นราคามา 15 เหรียญเอาเลยๆ ไม่ไหวที่จะเดินหาแล้ว...ห้องพักไม่ได้แย่อะไร มีแอ่ร์ น้ำอุน wifi อยูได้สบายแฮะ..มีอ่างให้แช่ด้ย..ได้เวลาออกทัวร์รอบเมืองและหาอาหารให้กระเพาะแล้ว ขั้นแรกขอแผนที่เมืองจาก รีเซ็ปชั้นโรงแรมก่อนเค้าก็แนะนำนู่นนี่ ใกล้กับโรงแรมมีคุณยายเป็นให้เช่าจักรยามันละ 1 เหรียญ คุณยายใจดีช่างพูดช่างคุยยิ้มแย้มมาก..เริ่มหาร้านอาหาร Trung bac เป็นร้านที่คนไทยหลายคนบอกว่าอร่อย เราเลยตามมาพิสูจน์
ก่อนอื่นแวะซื้อตั๋วก่อน สำหรับเข้าสถานที่สำคัญ เช่น วัด บ้านเก่า ชมการแสดง หลายๆ อย่างในเมือง ตั๋วใบนึ่งสามารถเข้าได้ 5 สถานที่ ซึ่งในฮอยอันมีสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมประมาณ 20 หว่าๆ เลือกเอาได้แลยว่าจะไปไหน ราคาก็ 5 เหรียญ ตื่นเต้นๆ (เจอร้านอาหารเป็นที่เรียบร้อย)
.. รู้ตัวอีทีแสงอาทิตย์อันร้อนแรงก็ค่อยหายไป แสงไฟจากโคมตามร้านค้าต่างๆ เริ่ม่องสว่าง จุดตรงนี้คือจุดที่เรือประมงมาจอดพักไว้ เป็นช่วงน้ำกร่อย มีช่องน้ำที่สามารถออกทะเลได้ แสงโดคมนับร้อยหลากสีสันต่างอวดแสงแข่งกัน เมืองตอนเย็นๆ เริ่มคึกคักนักท่องเที่ยวออกมา เดินเล่นเพราะว่าอากาศเริ่มจะเย็น ฉัยงังพยายามจะตบหน้าตัวเอง ภาพที่อยุตรงหน้ามันสวยเกินที่ฝันไว้ ฉันก็ไม่ได้คิดว่าฮอยอันจะสวยขนาดนี้..
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์หมีเซิน My son Sanctury เป็นโบราณสถานในจังกวัดกว๋างนาม ภาคกลางของประเทศเวียดนาม สร้างด้วยศิลปะจามโบราณในสมัยศตวรรษที่ 4 เพื่อใช้เป็นศาสนสถานสำหรับบูชาพระศิวะ ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู ได้จัดให้เป็นแหล่งรดกโลกโดยองค์การยู่เนสโก หมีเซินเคยเป็นนครศักิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญอันดับต้นๆ ของอาณาจักรจามปาตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 -ศตวรรษที่ 15 ด้วยระยะเวลากว่า 900 ปี ทำให้โบราณสถานแห่งนี้เป็นที่รวบรวมลักษณะทางด้านศิลปกรรมที่หลากหลาย จัดเป็นกลุ่มโบราณสถานในศาสนาฮินดูที่เก่าแก่และสมบูรณ์ที่สุดในอินโดจีนกลุ่มแราสาทหม่เซินตั้งอุ่บริเวณที่รอบต่ำ มีภุเชาโอบล้อม เนื้อทที่ประมาณ 2 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยปราสาททั้งหมด 73 หลังแต่ในช่วงสงครามเวียดนาม ทหารเวียดนามได้ใช้ปราสาทหมีเซินเป็นกองบัญชาการ ฝ่ายอเมริกันจึงได้นำเครื่องบินทิ้งระเบิดบริเวณนี้ โบราณสถานจำนวนมากถูกทำลายทำให้ปัจจุบันเหลือปราสาทเพียง 22 หลัง
อุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่าง Phong Nha-Ke Bang Nation Park อยู่น่างจากนครโด่งเหน ไปทางทิศเหนือราว50 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 200,000 เฮกเตอร์ อยู่ในเขตจังหวัดกว่างบินห์ ซึ่งเป็นจังหวัดอยุ่ในพื้นที่ของภาคกลางอุทยานแห่งชาติฟองยา มีพื้นที่ทั้งที่อยุ่ในประเทศเวียดนาม และส่วนที่อยู่ในประเทศลาวอีกด้วย ดดยรวมแล้ว จะมีเนื้อที่กว้างถึง400,000 เฮกเตอร์อุทยานแห่งชติฟองยา เป็นเขตป่าและภูเขาเนินหินปูนที่มีอายุประมาณ 400 ล้านหว่าปี ถือว่าเก่าแก่ที่สุดในทวีปเอเชีย พื้ทีป่าไม้ในอุทยานกว่า เก้าสิบเปอร์เซ็นต์ คือป่าะรรมชาติ และเนื่องจากเป็นเขตของภูเขาหินปูนนี้เง อง จึงได้ทำให้มีอุโมงและถ้ำจำนวนหลายแหล่งและมีความสวยงามไปตามแนวของภูเขา จากการสำรวจของระหว่างสมาคมภูมิภาคประเทศแห่งสหราชอาณาจักรกับภาควิชาภูมิประเทศและธรณีจากมหาวทิยาลัยแห่งชาติ เวียดนาม ปรากฎว่า ในบริเวณภูเขาเนินหินปูนนั้นแก๋บ่าง นั้นมีทั้งถ้ำลอดขงอแม่น้ำชอน โดยมีความยาวถึง 13,939 เมตรและมีทั้งโถงต่างๆ ที่มีความสูงเฉลี่ยจากพื้นจรดเพดามถ้ำ 10-14 เมตร
มากกว่า 10 แก่งอีกด้วย เฉพาะส่วนถ้ำฟองยาที่ซึ่งขณะนั้สามารถสำรวจได้นั้นก็มีความยาว ราว 7,700 เมตร และมีการประมาณว่าความยาวของถ้ำที่มีทั้งหมดในอุทยานฯ แห่งนี้รวมแล้วก็ไม่ต่ำกว่า 44 กิโลเมตร
ฟองญ่า เป็นถ้ำที่ได้รับการยกย่องว่ามีความเป็นที่สุด ทั้งนี้ ได้แก่ ถ้ำอยุ่ในน้ำยาวที่สุ มีปากถ้ำกว่างและสูงที่สุด มีเนินทรายและหินใต้น้ำสวยที่สุด มีทะเลสาบน้ำจือดในถ้ำสวยที่สุด มีหินวอกหินย้อยรูปทรงต่างๆ สวยงานพิศดารสุดจะพรรณา มีลำน้ำลอดภูเขายาวที่สุด และถ้อมีทั้งปก้ง ทั้งกว้างและส่วยที่สุด
การเที่ยวชม ฟองญ่า-แก๋บ่าง จะเป็นการนั่งเรือไปเรื่อยๆ ซึ่งนอกจากเที่ยวชมวิวทิวทัศน์แล้วยังสามารถสัมผัสกับชีวิต กับวัฒนธรรมของชาวเขา ราษฎรชาวเวียดนาม ซึงจะมีทั้งเผ่าแซจ เผ่าหรุก เปาอาแรม และเผ่ามะเหลี่ยง ทั้งนี้ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 บาทหลวงชาวฝรั่งเศสได้ทำการสำรวจ เป้ฯครั้งแรกและก็ได้พบเจอเอกสารที่ชาวจามได้แกะสลักเป็นภาษาจามไว้ในถ้ำ และเขาได้กล่าวด้วยว่าเป็น "ถ้ำสวยที่สุดในอินโดจีน"
พระราชวังจักรพรรดิแห่งทังล็อง-ฮานอย Central Sector of Imperial Citadel of Thang LongHanoi ตั้งอยู่ในกรุงฮานอย ประเทศเวียดนามเป็นพระราชวังเก่าแก่อายุกว่า 1.000 ปี สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์หลีเหวีด(ก่อนกรุงสุโขทัยราว 200 ปี) เพื่อประกาศเอกราชอาณาจักรดายเหวียด ชื่อของอาณาจักเวียดนามโบราณ ทั้งหมดสร้างขึ้นทับป้อมปราการเก่าของจีนตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 7 ที่เคยเป็นศูนย์กลางการปกครองและการทหารติดต่อกันนาน 13 ศตวรรษ ลักษณะรูปแบบการก่อสร้างเหมือนป้อมปราการของจีนในสมัยศตวรรษที่ 7 ซึ่งประราชวังทังลอง สร้างบนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ในช่วงที่เวียดนามปกครองด้วยกษัตริย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกครองของประเทศ
ปัจจุบันทางการเวียดนามอนุญาตให้เข้าชมเขตโบราณสถานที่เป็นพระราชวังเก่า ในเขตปราการฮานอยอย่างจำกัด เนื่องจากยังมีการขุดค้นทางโบราณคดีอยุ่ภายในนั้น
ป้อมปราการของราชวงศ์โฮ Citadel of the Ho Dynasty เป็นกำแพงระราชวังหลวงสมัยราชวงศ์โฮ (พ.ศ. 1940-1950) ปราสาทเต็ยโด มีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวเหนือจรดใต้เท่ากับ 870.5 เมตร ตะวันออกจรดตะวันตกเท่ากับ 883.5 แมตร มีประตูสี่ด้าน ประตูหน้าคือประตูด้านทิสใต้ มีความสูง 9.5 เมตรและกว้าง15.17 เมตร อีกสามประตูอย่ทางทิศเหนือ ตะวันออก และตะวัตก ตัวปราสาทสร้างขึ้นจาก้อนหิน ซึ่งแต่ละก้อนมีขนาดประมาณ 2 ม.คูน 1ม. คูน 0.70ม. นอกจากประตูแล้ว ตัวปราสาทเกือบทั้งหมดได้พังทลายไปแล้ว
ป้อมปราการราชวงศ์โฮสร้างโดยจักรพรรดิโฮ่กุ๋ยลี ครั้งเป็นที่ปรึกษาจักรพรรดิราชวงศ์เจิ่น เวลานั้นเมืองหลวงของเวียดนามอยุ่ที่ ทังล็อก แต่ภูมิประเทศเป็นที่ราบเปิดกล้างต้อนรับศึกสงครามจากจีนเป็นระยะ โฮ่กุ๋ยหลีจึงเสนอโครงสร้างพระนครแห่งใหม่ไว้ป้องกันขอช้อศึกนอกประเทศ เมื่อสร้างเสร็จจึงเรียกว่า พระราชวังตะวันตก ส่วนพระราชวังทังล็อกเลี่ยปชื่อเป็นพระราชวังตะวันออก ระหว่างที่วังหลวงก่อสร้างโฮ่กุ๋ยไดทำการชิงอำนาจ สถาปนาราชวงศ์ใหม่ทิ้งทังล็องเป็นอดีตราชธานี
ราชวงศ์โฮครองราชได้เพียง 7 ปี ก็ต้องตกเป็นเมืองขึ้นของจีนอีกคร้ง ผู้คนและทรัพย์สินโดยเฉพาะหนังสือ เอกสารสำคัญ ถุกกว่าดต้อนรวบรวมไปยังราชสำนักหมิง อดีตจักพรรดิทั้งสองต้องใช้แรงงานในต่างแดนจนส้ินใจ...
แหล่งภฺมิทัศน์จ่างอาน Trang An Landscape Complex อยู่ใกล้ๆ กับเมืองนิญบิ่ญ จังหวัดนิญบิ่ญ บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง รายล้อมไปด้วยภูมิทัศน์อันงดงานของยอดเขาหินปูน รวมไปถึงแม่น้ำหลายสายที่ไหลลัดเลาะไปมา และบางส่วนก็จมอยู่ใต้น้ำนอกจากนี้จ่างอาน ยังงถูกล้อมรอบด้วยผาสูงชัน จึงทำให้สถานที่แห่งนี้งดงามน่าเที่ยวเป็นอย่างมาก
จากความสวยงามทางด้านภูมิทัศน์แล้วนั้น จ่างอานยังมีร่องรอยทางโบราณคดีที่เผยให้เก็นการตั้งถินฐานของมนุษย์สมัยโบราณ ทำให้สถานที่แห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ การชื่นชมทัศนียภาพที่สวยงามในจ่างอานนั้น คือ การล่องเรือเล็กประมาณลำละ 4-5 คน เพื่อเข้าไปเยี่ยมชมจ่างอาน เรือแจวก็จะพาเราไปเยี่ยมชมวัด หลังจากนั้นก็จะพาเราไปลอดถ้ำ มีทั้งหมด 49 ถ้ำ ซึ่งแตละถ้ำจะมีชื่อแตกต่างกันไปจะใช้ เวลาล่องเรือไปกลับร่วมสองชั่วโมงเลยที่เดียว
จ่างอานได้ชื่อว่าเป็นจุดหมายปลายทางท่องเทียวที่สำคัญแห่งหนึ่งในเวียดนาม และจ่างอานยังได้รับการยอย่องให้เป็น ฮาลองบก เนื่องจากมีเขาหินปูนและถ้ำคล้ายกับที่อ่าวฮาลอง จังหวัดกว่างนิงห์อีกด้วย ที่สำคัญคือระบบนิเวศ ของจ่างอานก็หลากหลายมีพันู์พืชหายากและสัตว์ป่าสงวนอาศัยอยู่ เป้นจำนวนมาก ในบริเวณเขตท่องเทียว จ่างอานยังมีโบราณสถานระดับชาติที่สวยงานแ่ห่งหนึ่ง ด้วยนั้นคือ วัดบ๋ายดิ่ง วัดที่ใหญ่และสวยที่สุดของเวียดนามนั่นเอง
- www.th.wikipedia.org/../รายชื่อแหล่งมรดกโลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- www.vntoyou.com/phongya.html
- www.manager.co.th/../ไปดู..พระราชวังเก่าทังลอง มรดกโลก1,000 ปี
- www.thaigoodview.com/../ป้อมปราการของราชวงศ์โฮ เวียดนาม
- travel.thaiza.com/../แหล่งภูมิทัศน์จ่างอาน Trang An สวรรค์บนดินที่ต้องมาเยือน
วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2560
ASAIN Heritage, World Heritage Site
มรดกโลก คือสถานที่อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโก ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
ปัจจุบัน มีมรกดโลกทังหมด 1049 แห่งใน 165 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 814 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 202 แห่งแฃะอีก 33 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท มรดกโลกแต่ละแห่งเป็นทรัพย์สินของประเทศที่เป็นเจ้าของอินแดนที่มรดกโลกตั้งอยุ่ แต่ได้ถูกพิจารณาให้เป็นผลประโยชน์ของประชาคมระหว่างประเทศในการอนุรักษ์มรดกโลกแห่งนั้น
หลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นทางวัฒนธรรมมนุษย์ ขบนธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งเสื่อมสลายได้ง่ายจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามกาลเวลา
หลักเกณฑ์ทางธรรมชาติ เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนใวิวัฒนาการสำคัญต่างๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคํญทางธราณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันะ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เกำลังเกิดอยู่ เชน ภูเขาไผ เกษตรกรรมขั้นบันได
มรดกโลกในอาเซียน การประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้ง 39 ระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน - 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ณ กรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งได้มีการประกาศมรดกโลกแห่งใหม่เพิ่มเติมนี้ ในจำนวนประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศนั้น มีสถานที่ที่ได้รับการขึ้นทะเบียบเป็นมรดกโลกทั้งทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ จำนวน 37 แห่งใน 9 ประเทศ เว้นบรูไนประเทศเดียว
ประกอบด้วย
เวียดนาม 8 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- หมู่โบราณสถาน เมืองเว้ Complex of Monuments
- เมืองโบราณฮายอัน Hoi An Ancient Town
- สถานศักดิ์สิทธิหมีเซิน My Son Sanctuary
- พระราชวังจักรพรรดิแห่งทังลอง-ฮานอย Central Sector of the Imperial Citadel of Thang Long-Hanoi
- ป้อมปราการราชวงศ์โฮ Citadel of the Ho Dynasty
มรดกโลกทางธรรมชาติ
- อ่าวฮาลอง Ha Long Bay
- อุทยานแห่งชาติฟง งา-เค บัง Phong Nha-Ke Bang National Park
มรดกโลกแบบผสม (วัฒนธรรมและธรรมชาติ)
- แหล่งภูมิทัศน์จ่างอาน Trang An Landscape Complex
อินโดนีเซีย 8 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- บูโรบูดูร์ Borobudur หรือ กลุ่มวัดบุโรพุทโธ Borobudur Temple Compounds
- ปรัมบานัน Prambanan หรือ กลุ่มวันพรัมบานั้น Prambanan Temple Compounds
- แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน Sangiran Early Man Site
- ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเขตบาหลี : ระบบสุบักหลักการตามปรัชญาไตรนิคตรณะ Cultural Landscape of Bali Province : the Subak as a Manifestation of the Tri Hita Karana Philosophy
มรดกโลกทางธรรมชาติ
- อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลอน Ujung Kulon National Park
- อุทยานแห่งชาติโคโมโด Kodomo National Park
- อุทยานแห่งชาติลอเรนซ์ Lorentz National Park
- มรดกป่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา Tropical Rainforest Heritage of Sumata
ฟิลิปปินส์ 6 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- นครประวัติศาสตร์วีกัน Historic Town of Vigan
- โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ Baroque Churches of the Philipine
- นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ Rice Terraces of the Philipine Cordilleras
มรดกทางธรรมชาติ
- อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โต-ปรินเซซา Puerto-Princesa Subterranean River Nation Park
- อุทยานปะการับทางทะเลทุบบาตาฮะ Tubbataha Reefs Natural Park
- เขตสงวนพันธู์สัตว์ป่าภูเขาฮามิกีตัน Mount Hamigutan Range Wildlife Sanctuary
ไทย 5 แห่ง ได้แก่
มรดกทางวัฒนธรรม
- แหล่งโปบราณคดีบ้านเชียง Ban Chiang Archaeological Site
- นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุะยาและเมืองบริวาร Historic City of Ayuttaya
- เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร Historic Town of Sukhothai and Associated
ปัจจุบัน มีมรกดโลกทังหมด 1049 แห่งใน 165 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 814 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 202 แห่งแฃะอีก 33 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท มรดกโลกแต่ละแห่งเป็นทรัพย์สินของประเทศที่เป็นเจ้าของอินแดนที่มรดกโลกตั้งอยุ่ แต่ได้ถูกพิจารณาให้เป็นผลประโยชน์ของประชาคมระหว่างประเทศในการอนุรักษ์มรดกโลกแห่งนั้น
หลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นทางวัฒนธรรมมนุษย์ ขบนธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งเสื่อมสลายได้ง่ายจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามกาลเวลา
หลักเกณฑ์ทางธรรมชาติ เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนใวิวัฒนาการสำคัญต่างๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคํญทางธราณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันะ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เกำลังเกิดอยู่ เชน ภูเขาไผ เกษตรกรรมขั้นบันได
มรดกโลกในอาเซียน การประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้ง 39 ระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน - 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ณ กรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งได้มีการประกาศมรดกโลกแห่งใหม่เพิ่มเติมนี้ ในจำนวนประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศนั้น มีสถานที่ที่ได้รับการขึ้นทะเบียบเป็นมรดกโลกทั้งทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ จำนวน 37 แห่งใน 9 ประเทศ เว้นบรูไนประเทศเดียว
ประกอบด้วย
เวียดนาม 8 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- หมู่โบราณสถาน เมืองเว้ Complex of Monuments
- เมืองโบราณฮายอัน Hoi An Ancient Town
- สถานศักดิ์สิทธิหมีเซิน My Son Sanctuary
- พระราชวังจักรพรรดิแห่งทังลอง-ฮานอย Central Sector of the Imperial Citadel of Thang Long-Hanoi
- ป้อมปราการราชวงศ์โฮ Citadel of the Ho Dynasty
มรดกโลกทางธรรมชาติ
- อ่าวฮาลอง Ha Long Bay
- อุทยานแห่งชาติฟง งา-เค บัง Phong Nha-Ke Bang National Park
มรดกโลกแบบผสม (วัฒนธรรมและธรรมชาติ)
- แหล่งภูมิทัศน์จ่างอาน Trang An Landscape Complex
อินโดนีเซีย 8 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- บูโรบูดูร์ Borobudur หรือ กลุ่มวัดบุโรพุทโธ Borobudur Temple Compounds
- ปรัมบานัน Prambanan หรือ กลุ่มวันพรัมบานั้น Prambanan Temple Compounds
- แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซังงีรัน Sangiran Early Man Site
- ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเขตบาหลี : ระบบสุบักหลักการตามปรัชญาไตรนิคตรณะ Cultural Landscape of Bali Province : the Subak as a Manifestation of the Tri Hita Karana Philosophy
มรดกโลกทางธรรมชาติ
- อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลอน Ujung Kulon National Park
- อุทยานแห่งชาติโคโมโด Kodomo National Park
- อุทยานแห่งชาติลอเรนซ์ Lorentz National Park
- มรดกป่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา Tropical Rainforest Heritage of Sumata
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- นครประวัติศาสตร์วีกัน Historic Town of Vigan
- โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ Baroque Churches of the Philipine
- นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ Rice Terraces of the Philipine Cordilleras
มรดกทางธรรมชาติ
- อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โต-ปรินเซซา Puerto-Princesa Subterranean River Nation Park
- อุทยานปะการับทางทะเลทุบบาตาฮะ Tubbataha Reefs Natural Park
- เขตสงวนพันธู์สัตว์ป่าภูเขาฮามิกีตัน Mount Hamigutan Range Wildlife Sanctuary
มรดกทางวัฒนธรรม
- แหล่งโปบราณคดีบ้านเชียง Ban Chiang Archaeological Site
- นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุะยาและเมืองบริวาร Historic City of Ayuttaya
- เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร Historic Town of Sukhothai and Associated
มรดกทางธรรมชาติ
- ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ Dong Phayayen-Khoa Yai Forest Complex
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้. Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries
มาเลเซีย 4 แห่ง ได้แก่
มรดกทางวัฒนธรรม
- มะละการและจอร์จทาวน์ นครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา Malaka and George Town,Historic Cities of the Straits of Malacca
- แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกอง Archaeological Heritage of the Lenggong Valley
มรดกโลกทางธรรมชาติ
- อุทยานคินาบาลู Kinabalu Park
- อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู Gunung Malu Nation Park
สาธราณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- เมืองหลวงพระบาง Town of Luang Prabang
- ปราสาทหินวัดพูและสิ่งก่อสร้างใกล้เคียงในแขวงจำปาสัก Vat Phou and Associated Ancient Settlement within the Champasak cultural Landscape
กัมพูชา 2 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- แองกอร์ หรือ เมืองพระนคร Angkor
- ปราสาทพระวิหาร Temple ofpreah Vihear
สิงคโปร์ 1 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- สวยพฤกษศาสตร์แห่งชาติสิงคโปร์
พม่า 1 แห่ง ได้แก่
มรดกโลกทางวัฒนธรรม
- กลุ่มเมืองโบราณ อาณาจักรพยู Pyu Ancient Cities
- www. terrabkk.com/..,37 มรดกโลก เที่ยวกันทั่วอาเซียน
- www. th.wikipedia.org..,มรดกโลก.., รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2560
Ethnicity of Asain
ชาติพันธ์ คือกลุ่มคนที่มีจุดกำเนิดของบรรพบุรุษร่วมกัน มีขนบธรรมเนียมประเพฯีเป็นแบบแผนเดียวกัน รวมถึงมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เชื้อชาติและสญชาติสอดคล้องกัน สำหรับผุ้คนที่อยู่ในกลุ่มชาติพันธ์เดียวกัน มักมีความรู้สึกผูกพันทางสายเลือดและทางวัฒนธรรมพร้อมๆ กันไป โดยเป็นความรู้สึกผูกพันที่ช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์ของบุคคลและของชาติพันธ์ุและในขณะเดียวกัน ก็สามารถเร้าอารมณ์ความรู้สึกให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิง ถ้าผุ้ที่อยู่ในกลุ่มชาติพันธ์ุนั้นนับถือศาสนาเดียวกัน หรือได้รับอิทธิพลจากกระบวนการกล่มเกลาทางสังคมแบบเดียวกัน
ชาติพันธ์ คือ สิ่งที่แสดงถึงพื้นฐานความเป็ฯมนุษย์ในแต่ละเช้อชาติและแสดงถึงวิวัฒนาะการของระบบสังคมการเมือง โดยในแต่ละภูมิภาคมักประกอบไปด้วยกลุ่มคนหลากหลายเผ่านพันธุ์ โดยแต่ละเชื้อชาติก็จะมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สวยงามเป็ฯของตนเอง ซ่ึ่งจัดว่าเป็นสีสันทางชาติพันธุ์ของมนุษย์อย่างหนึ่งและเป็นความงดงามของสัคมโลกที่ประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย
อุษาคเนย์ หระ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดเป็นภูมิภาคที่เต็มไปด้วยมนต์เสน่ห์ทางอารยธรรมและชาติพันธุ์วรรณนา ดดยหากพัิจารณาความแตกต่างทางภาษา อาจจัดแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ออกเป็นกลุ่มหลัก ได้แก่
- กลุ่มตระกูลมอญ-เขมร หรือ ออสโตรเอเชียติก เช่น มอญ เขมร ลัวะ ข่า ม้อย ฯลฯ
- กลุ่มตระกูลชวา-มลายู หรือออสโตรเนเซียน/มาลาโยโพลินิเซียน อาทิ ชวา มลายู จาม มอแกน ซาไก ฯลฯ
- กลุ่มตระกูลไทย-ลาว เช่น ไทย ลาว จ้วง หลี อาหม ฯ ลฯ
- กลุ่มตระกูลจีน-ทิเบต อาทิ พม่า กระเหรี่ยง อะข่า ปะด่อ ฯลฯ
- กลุ่มตระกุลม้ง-เมี่ยน เช่น แม้ว เย้า ฯลฯ
ขณะเดียวกันหากแบ่งตามตามการนับถือศาสนา กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียอาคเนย์ก็มักมักประกอบด้วย
- กลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ เช่น ไทย พม่า ลาว เขมร ฯลฯ
- กลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลาม เช่น ชวา มลายู จาม โรฮิงยา ฯลฯ
- กลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์ เช่น ฟิลิปปินส์ คะฉิ่น ติมอร์ ฯลฯ และ
- กลุ่มนับถือภูต ผี ท้องถ่ิน เช่น อะข่า ขมุ มูเซอ ลีซอ ฯลฯ
ในอีกแง่มุน หากพิจารณาตามรูปแบบการตั้งถ่ินฐาน ก็อาจแหบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ออกเป็น "ชนกลุ่มใหญ่" ซึ่งมักอาศัยอยุ่ในเขตที่รอบและหุบเขา กับ "ชนกลุ่มน้อย" ซึ่งมักอาศัยอยุ่ในเขตภูเขาและมี่สูงชัน ดดยแต่ละกลุ่มล้วนมีวิวัฒนาการและระดับการพัฒนาที่หลากหลายพอๆ กัน เช่น ชนที่ราบอย่างชาวพม่า ชาวเขมรและชาวเวียดนาม มักมีความชำนาญในการ ปลูกข้าว รวมถึงมีรากฐานอารยธรรมที่อิงแอบอยู่กับโครงข่ายชลประทานและระบบสังคมกสิกรรม
ในขณะที่ ชนภุเขาอย่างชาวลีซอ ชาวลาหู่และชาวอะขา มักดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูกแบบเร่ร่อน โดยเน้นการล่าสัตว์ เก็บของป่าและทำไร่เลือนลอย แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งชนที่ราบและชนภูเขา ต่างมีปฏิสัมพันธ์ทางการเมือง การค้า ภาษาและวัฒนธรรม ไม่มากก็น้อย ซึ่งจัดเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมที่พบเห็นได้ทั่วไปโดยเฉพาะอยา่งยิงในเขตเอชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป
นอกจากนี้น หากวิเคราห์ตามหลักรัฐศาสตร์ ก็อาจจัแบ่งกลุ่ทชนออกเป็น "ชนกลุ่มใหญ่" และ"ชนกลุ่มน้อย" ได้เช่นกัน โดยในแต่ละรัฐ มักมีกลุ่มชาติพันธุหลากหลายกลุ่มอาศัยอยุ่ในประเทศเดียวกันโดยกลุ่มชาติพันู์ที่มีอำนาจในการปกครองประเทศ มักถือว่าเป็นชนกลุ่มใหญ่ ส่วนหลุ่มชาติพันู์ที่ไม่มีอำนาจในการปกอครงอประเทศ มักเรียกขานกันว่าชนกลุ่มน้อย เช่น ปะเทศพม่าซึ่งประกอบด้วยชาวพม่าที่เป็นปมู่มากภายในประเทศ และชนเผ่าต่างๆ เช่น กะเหรี่ยง คะฉิ่น มอญ ไทใหญ่ คะยาห์ ฯลฯ ซึ่งถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ยังขาดอำนาจในการปกครองท้องถิ่น เป็นต้น
Ernst B.Hass ให้ทรรศนะว่า ความสำเร็จของการรวมตัวระหว่างประเทศ ควรประกอบด้วยเงื่อนไขสำคัญ 4 ประการ ได้แก่
ความสอดคล้องกันในเรื่องค่านิยมพื้นฐานทางสังคม
โอกาสและความสามารถในการต่อรองเรื่องผลประดยชน์ระหว่างหน่วยการเมืองต่างๆ
เครือข่ายการติดต่อสื่อสารภายในชุมชนนั้นๆ และ
ลักษณะความเป็นพหุนิยมของสังคม
Philip E.Jacop& Henry Teune อธิบายถึงปัจจัยบางประการที่มีอทธิพลต่อการรวมตัวกันใรรูปแบบประชาคมระหว่างผระเทศ ซึ่งมักประกอบด้วย
ความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการไปมาหาสู่และกระชับความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ
ประชากรในชาติที่จะรวมตัวกนเป็นประชาคมควรมีเชื้อสายหรือเผ่าพันู์เดียวกัน หรืออย่างน้อยที่สุดก็คล้ายคลึงกัน
กลุ่มที่จะรวมตัวกันควรมีแบบแผนการปฏิบัต ประสบการณ์ จุดมุ่งหมายและคงามเข้าใจร่วมกนเพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับประชาคม และ
สภานภาพของประชคมที่จะตั้งขึ้นควรมีความเป็นกลาง และไม่ผูกพันหรือพึงพาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมากเกินไป
จากการสำรวจข้อคิดเห็นของนักทฤษฎีโดยสังเขป อาจกล่าวได้ว่า การ้อยรัดประชาชาิตเข้าเป็นประชคมเดียวกันอย่างแนบแน่น ควรมีการเสาะหารูปแบบวัฒนธรรมร่วมประจำกลุ่มพร้อมกับปรับเทคนิคความร่วมมือเพื่อขัดแต่างให้รัฐและผุ้คนที่หลากหลายต่างมความเข้าใจและเห็ฯอกเห็นใจซึ่งกันและกันโดยในกรณีของอาเซียนั้น หากสมาชิกสามารถโน้มน้าวให้ชนกลุ่มใหญ่และชนกลุ่มน้อยมีความต้องการที่จะอยุ่ร่วมกันอย่างสันตุภายในประชาคมเดียวกัน โดยมีความภักดีและเคารพนอบน้อมต่อประชคมนั้นๆ แต่ก็ยังมีโอกาสรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนได้พอสมควรความสำเร็จในการบูรณาการอาจเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ซึ่งก็ต้องทำควบคู่กันไปทั้งในลักษณะของความเป็นประชาคมแห่งรัฐและประชาคมแห่งภูมิภาค ยกตัวอย่างเช่น ในขณะที่ชนชาติต่างๆ ในอินโดนีเซีย ต่างอยู่ายใต้ประชาคมการเมืองเดี่ยวกัน ดดยมีธงชาติ เพลงชาติและอุดมการณ์แห่งชาติร่วมกัน แต่ชนชาติต่างๆ นั้นยังคงรักษาวัฒนธรรมย่อย ของตนเอาไว้ เช่น ประเพณีแบบฮินดูของชาวบาหลี หรืป ประเพณีแบบเมลานีเซียนของขาวอิเรียนจาร์ยา
- ความหลากหลายทางชาติพันธุ์กับการอยู่ร่วมกันเป็นประชาคมอาเชียน, ดุลยภาค ปรชารัชช
ชาติพันธ์ คือ สิ่งที่แสดงถึงพื้นฐานความเป็ฯมนุษย์ในแต่ละเช้อชาติและแสดงถึงวิวัฒนาะการของระบบสังคมการเมือง โดยในแต่ละภูมิภาคมักประกอบไปด้วยกลุ่มคนหลากหลายเผ่านพันธุ์ โดยแต่ละเชื้อชาติก็จะมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สวยงามเป็ฯของตนเอง ซ่ึ่งจัดว่าเป็นสีสันทางชาติพันธุ์ของมนุษย์อย่างหนึ่งและเป็นความงดงามของสัคมโลกที่ประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย
อุษาคเนย์ หระ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดเป็นภูมิภาคที่เต็มไปด้วยมนต์เสน่ห์ทางอารยธรรมและชาติพันธุ์วรรณนา ดดยหากพัิจารณาความแตกต่างทางภาษา อาจจัดแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ออกเป็นกลุ่มหลัก ได้แก่
- กลุ่มตระกูลมอญ-เขมร หรือ ออสโตรเอเชียติก เช่น มอญ เขมร ลัวะ ข่า ม้อย ฯลฯ
- กลุ่มตระกูลชวา-มลายู หรือออสโตรเนเซียน/มาลาโยโพลินิเซียน อาทิ ชวา มลายู จาม มอแกน ซาไก ฯลฯ
- กลุ่มตระกูลไทย-ลาว เช่น ไทย ลาว จ้วง หลี อาหม ฯ ลฯ
- กลุ่มตระกูลจีน-ทิเบต อาทิ พม่า กระเหรี่ยง อะข่า ปะด่อ ฯลฯ
- กลุ่มตระกุลม้ง-เมี่ยน เช่น แม้ว เย้า ฯลฯ
ขณะเดียวกันหากแบ่งตามตามการนับถือศาสนา กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียอาคเนย์ก็มักมักประกอบด้วย
- กลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ เช่น ไทย พม่า ลาว เขมร ฯลฯ
- กลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลาม เช่น ชวา มลายู จาม โรฮิงยา ฯลฯ
- กลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์ เช่น ฟิลิปปินส์ คะฉิ่น ติมอร์ ฯลฯ และ
- กลุ่มนับถือภูต ผี ท้องถ่ิน เช่น อะข่า ขมุ มูเซอ ลีซอ ฯลฯ
ในอีกแง่มุน หากพิจารณาตามรูปแบบการตั้งถ่ินฐาน ก็อาจแหบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ออกเป็น "ชนกลุ่มใหญ่" ซึ่งมักอาศัยอยุ่ในเขตที่รอบและหุบเขา กับ "ชนกลุ่มน้อย" ซึ่งมักอาศัยอยุ่ในเขตภูเขาและมี่สูงชัน ดดยแต่ละกลุ่มล้วนมีวิวัฒนาการและระดับการพัฒนาที่หลากหลายพอๆ กัน เช่น ชนที่ราบอย่างชาวพม่า ชาวเขมรและชาวเวียดนาม มักมีความชำนาญในการ ปลูกข้าว รวมถึงมีรากฐานอารยธรรมที่อิงแอบอยู่กับโครงข่ายชลประทานและระบบสังคมกสิกรรม
ในขณะที่ ชนภุเขาอย่างชาวลีซอ ชาวลาหู่และชาวอะขา มักดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูกแบบเร่ร่อน โดยเน้นการล่าสัตว์ เก็บของป่าและทำไร่เลือนลอย แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งชนที่ราบและชนภูเขา ต่างมีปฏิสัมพันธ์ทางการเมือง การค้า ภาษาและวัฒนธรรม ไม่มากก็น้อย ซึ่งจัดเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมที่พบเห็นได้ทั่วไปโดยเฉพาะอยา่งยิงในเขตเอชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป
นอกจากนี้น หากวิเคราห์ตามหลักรัฐศาสตร์ ก็อาจจัแบ่งกลุ่ทชนออกเป็น "ชนกลุ่มใหญ่" และ"ชนกลุ่มน้อย" ได้เช่นกัน โดยในแต่ละรัฐ มักมีกลุ่มชาติพันธุหลากหลายกลุ่มอาศัยอยุ่ในประเทศเดียวกันโดยกลุ่มชาติพันู์ที่มีอำนาจในการปกครองประเทศ มักถือว่าเป็นชนกลุ่มใหญ่ ส่วนหลุ่มชาติพันู์ที่ไม่มีอำนาจในการปกอครงอประเทศ มักเรียกขานกันว่าชนกลุ่มน้อย เช่น ปะเทศพม่าซึ่งประกอบด้วยชาวพม่าที่เป็นปมู่มากภายในประเทศ และชนเผ่าต่างๆ เช่น กะเหรี่ยง คะฉิ่น มอญ ไทใหญ่ คะยาห์ ฯลฯ ซึ่งถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ยังขาดอำนาจในการปกครองท้องถิ่น เป็นต้น
Ernst B.Hass ให้ทรรศนะว่า ความสำเร็จของการรวมตัวระหว่างประเทศ ควรประกอบด้วยเงื่อนไขสำคัญ 4 ประการ ได้แก่
ความสอดคล้องกันในเรื่องค่านิยมพื้นฐานทางสังคม
โอกาสและความสามารถในการต่อรองเรื่องผลประดยชน์ระหว่างหน่วยการเมืองต่างๆ
เครือข่ายการติดต่อสื่อสารภายในชุมชนนั้นๆ และ
ลักษณะความเป็นพหุนิยมของสังคม
Philip E.Jacop& Henry Teune อธิบายถึงปัจจัยบางประการที่มีอทธิพลต่อการรวมตัวกันใรรูปแบบประชาคมระหว่างผระเทศ ซึ่งมักประกอบด้วย
ความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ เพื่อความสะดวกในการไปมาหาสู่และกระชับความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ
ประชากรในชาติที่จะรวมตัวกนเป็นประชาคมควรมีเชื้อสายหรือเผ่าพันู์เดียวกัน หรืออย่างน้อยที่สุดก็คล้ายคลึงกัน
กลุ่มที่จะรวมตัวกันควรมีแบบแผนการปฏิบัต ประสบการณ์ จุดมุ่งหมายและคงามเข้าใจร่วมกนเพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับประชาคม และ
สภานภาพของประชคมที่จะตั้งขึ้นควรมีความเป็นกลาง และไม่ผูกพันหรือพึงพาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมากเกินไป
จากการสำรวจข้อคิดเห็นของนักทฤษฎีโดยสังเขป อาจกล่าวได้ว่า การ้อยรัดประชาชาิตเข้าเป็นประชคมเดียวกันอย่างแนบแน่น ควรมีการเสาะหารูปแบบวัฒนธรรมร่วมประจำกลุ่มพร้อมกับปรับเทคนิคความร่วมมือเพื่อขัดแต่างให้รัฐและผุ้คนที่หลากหลายต่างมความเข้าใจและเห็ฯอกเห็นใจซึ่งกันและกันโดยในกรณีของอาเซียนั้น หากสมาชิกสามารถโน้มน้าวให้ชนกลุ่มใหญ่และชนกลุ่มน้อยมีความต้องการที่จะอยุ่ร่วมกันอย่างสันตุภายในประชาคมเดียวกัน โดยมีความภักดีและเคารพนอบน้อมต่อประชคมนั้นๆ แต่ก็ยังมีโอกาสรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนได้พอสมควรความสำเร็จในการบูรณาการอาจเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ซึ่งก็ต้องทำควบคู่กันไปทั้งในลักษณะของความเป็นประชาคมแห่งรัฐและประชาคมแห่งภูมิภาค ยกตัวอย่างเช่น ในขณะที่ชนชาติต่างๆ ในอินโดนีเซีย ต่างอยู่ายใต้ประชาคมการเมืองเดี่ยวกัน ดดยมีธงชาติ เพลงชาติและอุดมการณ์แห่งชาติร่วมกัน แต่ชนชาติต่างๆ นั้นยังคงรักษาวัฒนธรรมย่อย ของตนเอาไว้ เช่น ประเพณีแบบฮินดูของชาวบาหลี หรืป ประเพณีแบบเมลานีเซียนของขาวอิเรียนจาร์ยา
- ความหลากหลายทางชาติพันธุ์กับการอยู่ร่วมกันเป็นประชาคมอาเชียน, ดุลยภาค ปรชารัชช
วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2560
Nationalism : South East Asia
เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นคำใหม่ที่มีความหมายรวมถึงดินแดนจากทางใต้และทางตะวันออกของเขตแดนระหว่างอินเดีย และจีน ไปถึงเวียดนามเหนือและใต้ กัมพูชา ลาว ไทย พท่า มาเลิซีย สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ติมอร์ของโปรตุเกส และฟิลิปปินส์ ประเทศเหล่านี้มีเนื้อที่รวมกันถึง 1.5 ล้านตารางไมล์ และมีประชากรกว่า 220 ล้านคน เกือบครึ่งหนึ่งของประชากรอาศยอยู่ตามเกาะต่างๆ 3,000 เกาะของอินโดนีเซีย นักเขียนชาวฮอลันดาในศตวรรษที่สิบเก้าได้เขียนเปรีบเทียบหมู่เกาะอินโดนีเซียรวมทั้งหมู่เกาะอี 7,000 เกาะของฟิลิปปินส์ และรัฐบอร์เหนียวในมาเลเซยว่าเป็นเสมือนสายมรกภพาดรอบเส้นศูนย์สูตร หมู่เกาะต่างๆ เหล่านี้เป็นโลกอันกว้างใหญ่ที่แยกจากแผ่นดินใหญ่จากจุดที่ใกล้ที่สุด คือ ช่องแคบมะละกาและสิงคโปร์ และจุดที่ไกลที่สุดคือทะเลจีนใต้อันกว่างใหญ่
สำหรับแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น ในด้านภูมิศาสตร์ได้แยกออกจาส่วนอื่นของทวีปเอเชีย โดยมีทิวเขายาวเหยีดพากกั้นจากเทือกเขาหิมาลัยไปทางตะวันออกจนถึงตอนใต้ของจีน ทงด้านใต้ของเทือกเขานี้เป็นทิวเขาที่ค่อนข้างเรียบของแผ่นดินใหญ่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในทิศทางจากเหนือลงใต้ ต่างกับเทือกเขาในหมู่เกาะที่พาดจากตะวันตกไปตะวันออกเทือกเขาที่พาดจากเหนือลงใต้ในแผ่นดินใหญ่นั้นจะเห็นได้ชัดจากเส้นทางของแม่น้ำสายยาวๆ ต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สาละวิน เจ้าพระยา แม่โขง อิระวะดี ซึ่งไหลเป็นแนวขนานกันลงมา แม่น้ำเหล่านี้มีปริมาณน้ำ และตะกอนดินทรายมาก ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเพาระปลูกของแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนหใหญ่ตั้งอยุ่ระหว่างเส้นทรอปิกออฟเเคนเซอร์ และเส้นรุ้งที่ 12 องศา ทำให้มีฝนตกชุก และเมื่อประกอบกับอุณหภูมิเฉลี่ย 80 องศาฟาเรนไฮซ์ บริเวณส่วนใหญ่จึงเป็นป่าทึบ สภาพของป่าทึบนี้เป็นเหตุผลสำคัญประการหนึ่งที่ปลักดันทำให้ประชากรตั้งถ่ินฐานตามแนวแม่น้ำต่างๆ มาแต่อดีต จนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่งเป็นได้ว่าแม่น้ำยังเป็นเส้นทางคมนาคมและติต่อที่สำคัญอยู่
ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ แม่น้ำเป็นเสมือนเส้นทางที่ประชากรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้ในการอพยพลงใต้ หลังจากการอพยพของชนเผ่าดั้งเดิมคือพวกออสเตรลอยด์และนิกริโต ซึ่งยังมีหลงเหลืออยู่บ้างในออสเตรเลีย และบางส่วนของฟิลิปปินส์-อินโดนีเซีย-มาเลเซีย เผ่าที่มีอารยธรรมสูงกว่าอันได้แก่ อินโดนีเซียนหรืออสโตรนีเซียน ก็ได้เริ่มอพยพเคลื่อนย้ายอย่างช้าๆ ลงมาทางใต้-จากภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีนเมืองประมาณสองสามพันปีก่อนคริสต์วรรษ สันนิษฐานกันว่า เผ่าอินโดนีเซียนนี้แยกออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มโปรโต-มาเลย์ และกลุ่มดอยเตอโร-มาเลย์ กลุ่มแรกยังมีร่อยรอยของพวกมองโกลอยด์อยู่มาก คือ กลุ่มพงกจาคุน ในมลายู พวกโตราจาน์ในสุลาเวซี่ พวกคยัคในบอร์เนียว และพวกบาตัดในสุมาตรา ส่วนกลุ่มที่สองนั้นคือ พวกสายดอยเตอโร-มาเลย์ ซึ่งไม่ใคร่จะคล้ายคลึงกันนัก จะพบในพวกชาวมลายู ในสุมาตรา และมาเลเซีย พวกชว่า พวกซุนดา พวกบาหลี พวกมาดุรา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในอินโดนเซีย และก็ยังมีพวกบิสายัน ตาการล็อก อิโลคาโน บิโคล ปันปางัน ซึ่งอยู่ในฟิลิปปินส์
ระยะเวลาระหว่างแลหลังจากที่ประชกรเผ่าอินโดนีเซีนได้อพยพโยกย้ายอยู่ทางใ้ทั่วไปแล้ว กลุ่มมอญออสโตร-เอเชียติก ก็ได้อพยพจากกลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าไปอยู่แถบบริเวณชายฝั่งทะเลตอนล่างของพม่า และพวกเขมรซึ่งเกี่ยวดองกันก็ได้เข้าไปอยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ส่วนพวกเวยดนามซึ่งมีเชื้อสายเกี่วพันกัน เมื่อหนึ่งพันปีแรกแห่งคริสกาลได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรมของจีน ก็ไดอพยพลงมาทางใต้ของจีนสู่ลุ่มแม่น้ำแดง และได้ปะปนอยู่ในตอนบนของฝั่งทะเลอันนัมกับพวกจามปาซึ่งเป็นคนเผ่ามาเลโย-โปลีนีเซียน นอกจากนั้นพวกพยู และพม่า เชื้อสายแรกๆ ก็ได้เข้าไปตั้งรกรากในตอนกลางของลุ่มแม่น้ำอิระวะดีในตอนต้นๆ คริสต์ศตวรรษ และท้ายที่สุดคือพวกฉาน หรือไทยซึ่งเคยอยู่ทางตอนบนของแม่น้ำโขลและแม่น้ำแดง ก็ค่อยๆ เคลื่อนเข้าไปอยู่กระจัดกระจายระหว่างอัสสัมทางทิศตะวันตกจนถึงตังเกี๋ย และพรมแดนของกัมพุชาทางด้านตะวันออก
แม้ว่าชนดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความแตกต่างกันทางด้านเชื้อชาติ แต่ก็มีรูปแบบวัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน ดังนั้น วัฒนธรรมยุคหินกลาง ซึ่งมีเครื่องมือหินกะเทาะปลายคมแบบสิ่วขัดเกลาบ้างเล็กน้อยตามแบบแบคโซเนียน ที่พบในตังเกี๋ย และช้ินส่วนของประดิษฐกรรมดังกล่าวที่ค้นพบในไทย มลายู สุมาตรา ได้เริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นเครื่องมือหินขึดเรียบรูปขวานของยุคหินใหม่ ซึ่งเป็นช่วงสมัยหลังจากที่คนเผ่าอินโดนีเซียนได้อพยพลงใต้สู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในระหว่างสามถึงสองพันปีก่อนคริสต์ศักรช หม้อไหของยุคหินใหม่มีอยู่ทั่วไป และต่างก็มีลักษณะและรูปแบบดคึล้ายคลึงกัน ซ่งแสดงว่าชนเหล่านี้มีวัฒนธรรมร่วมกันเป็นเวลานานมาแล้ว และสืบเนื่องมจนสมัยใกล้คิรสต์ศตวรรษซึ่งจะเป็นยุคโลหะ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าวัฒนธรรมดองซอน ลักษณะที่เด่นของวัฒนธรรมนี้คือกลองมโหระทึกขนาดใหญ่ ซึ่งได้รับอิทะิพลจากจีน และพบอยุ่ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบางครั้งลวดลายศิลปะทางด้านการตกแต่งใหม่ ซึ่งเป็นที่ยอมรับในหมุ่คนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนในแถบอื่นๆ โดยเฉพาะบริเวณที่ติดกับจีนจะพบศิลปะแบบดองชอนที่แท้จริงมากกว่า
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มิได้ใช้โลหะเป็นเครื่องมือในการเพาะปลูกจนกระทั่งสมัยหลังและเมื่อมีกรเร่ิมใช้ขึ้นก็ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของการพัฒนาทางเศรษฐกิจของดินแดนแถบนี้ การเศรษบกิจเริ่มแรกของเอเชียตะวันออกเแียงใต้นั้นเป็ฯแบบเลี้ยงตนเองโดยสิ้นเชิง โดยยึดการล่าสัตว์และการจับปลาเป็นหลัก แต่ได้ขยายออกอย่างช้าๆ ด้วยการใช้วิธีการเพาะปลูกแบบดั้งเดิมโดยการโยกย้ายที่เพาะปลูกจากแหล่งที่ขอดความอุดมสมบุรณ์ไปถางป่าใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา ในปัจจุบันการเพาะหลูกแบบนี้ยังคงมีพบอยู่โดยทั่วไปในเอเลียตะวันออกเฉียงใต้ แตในระยะต่อมาก็ได้หันไปทำการเพาะหลูกแบบนาดำ คือมีการกักน้ำไว้ในนา ซึ่งจะเห็นได้จากชวาตอนกลางเป้นต้นเครื่องมือสำคญตอนี้ได้แก่ คันไถและสัตว์เลี้ยง การตั้งหลักแหล่งอย่างถาวรและการเพ่ิมผลผลิตทางการเพาะปลูกนี้ทำให้การเศรษฐกิจที่ชะงักงันขยายตัวอก โดยการแบ่งงานกันทำอย่างง่ายๆ ในการผลิตผ้าแพรและโลหะที่ใช้ในท้องถ่ิน ในดินแดนที่มีการเพาะปลูกแบบนาดำได้จัดให้มีการควบคุมงานทดน้ำ ซึ่งยังผลให้เกิดความสามัคคีสังคม และความเป็นระเบียบทางการเมือง อย่างไรก็ตาม วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงอย่างเบ็ดเสร็จของสงคมถือเป็นการเปลี่ยนแปลงจากระดับของสังคมและวัฒนธรรมหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่งจึงยากต่อการอธิบายให้เป็นพอใจในลักษณะปัจจัยโดดๆ ได้ สังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปลี่ยนแปลงไป และในการเปลี่ยนแปลงนั้นแนวทางที่จะปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ลักษณะเด่นทางวัตถุที่เห้นได้ชัดของอารยธรรเอเชียตะวันออก ในช่วงก่อนได้รับอิทธิพลจากภายนอกโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอินเดีย ส่วนลักษณะเด่นทางจิตใจที่เห็นได้ชัดคือการการบไหว้บูชาบรรพบุรุษ การตั้งที่เคารพบูชาไว้ในที่สูงๆ ความเชื่อต่างๆ เกี่ยวกับผีสาง หรือการถือลัทธิว่ามีอำนาจร่วกันในจักรวาล คือ ภูเขาและทะเล และสิ่งที่เป้นคู่อื่นๆ อีกมากซึ่งเกี่ยวโยงกับเวทนนตร์คาถา ถึงแม้ว่าลักษณะหล่านี้จะแตกต่างกันบ้างตามท้องถิ่นต่างๆ และรับอิทธิพลของฮินดุ พุทธ อิสลาม คริสต์ เข้ามาแทรกแต่ลัษณะทั่วไปของวัฒนธรรมแบนี้ก็ยังคงมีอยุ่ให้เห็นทั่วไป และในปัจจุบันนี้เป็นลหลักฐานที่สำคัญในการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเนื้อแท้ของอินแดนแถบนี้ ไม่ใช่เพียงแต่เป็นส่วนหนึ่งของจีนหรืออินเดีย เป็นที่ยอมรับกันมากขึ้นว่า กระบวนการกระจายอิทธิพลอินเดีย ไม่ใช่การถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียเข้าแทนวัฒนธรรมท้องถ่ินโดยนส้ินเชิง แต่เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนเกี่ยวเนื่องกับการผสมปนเประหว่างวัฒนธรรมต่างผระเทศกับวัฒนธรรมท้องถ่ินจนเป็นลักษณะพิเศษเฉพาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไป
มหาอำนาจตะวันตกซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วย โปรตุเกสอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สเปน และสหรัฐอเมริกา โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกที่เข้ามาในภูมิภาคนี้เป็นชาติแรก อังกฤษ มีอาณานิดคมประกอบด้วย พม่า มาเลเซีย สิงค์โปร ฝรั่งเศสมีเป็นเจ้าอาณานิคมของอินโดจีน หรือเรียกว่าอินโดจีนของฝรั่งเศส ประกอบด้วย เวียดนาม กัมพุชาและลาว เนเธอร์แลนด์เป็นเจ้าอาณานิคมอินโดนีเซีย สเปนเข้ามาครอบครองฟิลิปปินส์ก่อนที่พ่ายแพ้และยกฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐอเมริกา
มหาอำนาจตะวันออกได้แก่ญี่ปุ่น เข้าครอบครองดินแดนและปลดปล่อยชาวพื้นเมืองในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จากอำนาจของตะวันตก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่เมือญีปุ่นพ่ายแพ้สงคราม ประเทศตะวันตกที่เคยเป็นเจ้าอาณานิคมก็กลับเข้าครอบครองดินแดนอีกตามเดิม
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในสี่ประเทศทั่วโลกที่ไม่ตกเป็นอาณานิคมของมหาอำนาจยุโรป ประเทศไทยจึงเป็นประเทศที่ได้รับความกระทบกระเทือนน้อยที่สุดจากการครอบงำของตะวันตก และป็นเพียงประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่แถบจะไม่ได้รับผลร้ายแรงจากสงครามโลก ฝ่ายทหารยอมให้อำนาจแก่ฝ่ายพลเรือนหลังจากการปฏิวัติ ค.ศ.1932 เมื่อความสัมพันธ์ญีปุ่นไทยสิ้นสุดลงในระยะปลายสงครามแปซิฟิก เรื่องนี้พิสูจน์ได้ว่าเป็นเพียงการปรับตัวในระยะหัวเลี้ยวหัว่อให้เข้ากับความจำเป็นในการเสนอให้รัฐบาลเป็นที่ยอมรับของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ได้ชัยชนะ ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1947 คณะรัฐมนตรีพลเรือนมีนายปรีดีเป็นหัวหน้าถูกโค่นอำนาจลง และนายกรัฐมนตรีสมัยสงคราม คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ายึดอำนาจ ภายหลังจอมพล ป. ถูกขับไล่ออกนอกประเทศ และมีนายทหารครอื่นๆ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีต่อไมา ฉะนั้นการที่ทหารกลับเข้ามามีอำนาจนี้ ไม่เพียงแต่จะแสดงให้เก็นว่าการเข้ามาครองตำแหน่งของพวกผุ้นำหลังปี 1932 นั้น สามารถเข้ยึดครองอำนาจทางการเมืองได้อย่างมั่นคงเท่านนั้น แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถในทางปฏิบัติของประเทศไทยต่อสถานการณ์ระหว่างประเทศอีกด้วย
ประเทศบรูไน ในสมันเร่ิมแรกก่อนการเข้ามาของชาวตะวันตก เคยมีความยิ่งใหญ่ในฐานะของชาติทีเป็นมหาอำนาจมาครั้งหนึ่งในสมัยคริสตศตวรรษที่ 16 แต่จากการที่บรูไนเป็นเพียงรัฐเล็กๆ ที่ไม่มีอำนาจทางการเมืองมากเพียงพอจึงทำให้บรูไนต้องให้การยอมรับอำนาจทางการเมืองของมหาอำนาจต่างๆ ที่ผลัดเปลี่ยนแันเข้ามาครองอำนาจในภุมิภาค นับตั้งตแ่อาณาจักรศรีวิชัย ต่อมาก็อาณาจักรมัชปาหิต และสมัยของมะละกา ในฐานะรัฐเล็กๆ ที่ต้องส่งบรรณาการให้กับมหาอำไนาจเหล่านั้นตลอดมา บรูไนมีความสัมพันธ์อันดีกับจีนโดยเฉพาะทางด้านการค้า บรูไนมีการต้าขายที่เนริญรุ่งเรืองมากกับจีน และในฐานะของเมืองที่เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนสินค้าด้วยโดยเฉพาะสมัยที่อาณาจักรมะละกาเรืองอำนาจ บรูไนประสบกับความรุ่งเรืองทางการต้ามากขึ้น ในฐานะเป็นรัฐมุสลิมแบบเดียวกับมะละกา จึงนำมาซึ่งความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดมากเป็นพิเศษกับมะละกา จนทำให้บรูไนสามารถสร้างคามเข้มแข็งได้ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐฏิจ
ทันที่โปรตุเกสตะวันตกชาติแรกที่เข้ามา ทำลายความยิ่งใหญ่ของมะละกาลงได้ บรูไนจึงสามารถสร้างอำนาจให้กับอาณาจักของตนเองได้ในทันที ทำหใ้โปรตุเกสเป้นประเทศหนึ่งที่เป้นมิตรกับบรูไน จนสมารถสร้างความเข้มแข็งให้กับอาณาจักรของตนได้ จากการขยายอำนาจของบรูไนจึงใทำหใ้เกิดความขัดแย้งกับมหาอำนาจตะวันตกประเทศหนึ่งคือ สเปน เพราะขัดอย้งในเรื่องการแข่งขันกันขยายอำนาจเหนือฟิลิปปินส์ แต่บุรไนสามารถรักษาอาณาจักรของตนไวได้
เนื่องจากปัญหาภายในและการเข้ายึดครองอำนาจของพวกดัชท์แทนโปรตุเกส มีการบังคับผุกขาดการผลิตและการค้า เศรษฐกิจและการค้าแถวหมู่เกาะต้องปยุดชะงักรวมทั้งบรูไนด้วย บรูไนจึงกลายเป้นรัฐเล็กๆ ที่ไม่สามารถต่อต้านอำนาจของพวกสลัด จนกลายเป้นศูนย์กลางการเลแกเปลี่ยนสินค้าที่ปล้นมาของพวกสลัดแทน
และเมื่ออังกฤษเข้ามา และเป็นอีกมหาอไนาจหนึ่งที่มุ่งเข้ามเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในภุมิภาค อังกฤษให้ความสำคัญทำการค้ากับจีนมาก จึงพยายามที่จะเข้ายึดครองแถบตะวันตกเฉียงเหนือของบอร์เหนียวเพื่อใช้เป็นเส้นทางไปค้าขายกับจีน และการยึดครองของอังกฤษบริเวณบอร์เนียวก็ปะสบผลสำเร็จ จนในที่สุดแล้วบรูไนทำสัญญาให้การยอมรับการเป็นรัฐอารักขาของอังกฤษ และได้รับเอกราชในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527
ประเทศสิงคโปร์ เดิมทีสิงคโปร์เป็นเมืองที่ตั้งอบุ่ปลายสุดแหลมมลายู เป็นสถานพักสินค้าของพ่อค้าทั่วโลก เดิมชื่อว่า เทมาเส็ก (ทุมาสิค)มีกษัตริย์ปกครอง เมื่อโปรตุเกสเข้ายุึดมะละกาเป็นเมืองขึ้น สิงคโปร์ก็กลายเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกสด้วยและฮอลันาเข้ามายึดจากโปรตุเกส ซึ่งชาวดัตท์มีอิทธิพลอยุ่ในมะละกาช่วงศตวรรษที่ 17 อังกฤษเริ่มสนใจสิงคโปร์เมื่อเข้ามามีอิทธิพลในแหลมมลายู อังกฤษเล็งเห็นถึงความสำคัญของ "จุดแวะพัก"ทางยุธศษสตร์ สำหรับซ่อม เติมเสบียง และคุ้มกันกองทัพเรือของอาณาจักรที่เติบโตของตน รวมถึงเพื่อขัดขวางการรุกคืบของชาวฮาลแลนด์ในภมิภาคนี้ อังกฤษแช่งขชันกับดัตช์ในเรื่องอาณานิคม อังกฤษส่งเซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด บิงก์เลย์ รฟเฟิลส์ มาสำรวจดินแดนแถบสิงคโปร์ ซึ่งมีสุลต่านปกครองอยู่ แรฟเฟิลส์ตกลงกับสุลต่านว่า จะตั้งสถานีการค้าของอังกฤษที่นี่ แต่สุดท้ายอังกฤษก็ยึดสิงคโปร์ไว้เป็นเมืองขึ้นได้สำเร็จ ในปี 1819 อังกฤษได้ขอเช่าเกาะสิงคโปร์จากจักรวรรดิยะโฮร์ซึ่งอยุ่ภายใต้การปกครองของฮอลันดาราฟเฟิลส์ มองเห็ฯถึงทำเลที่ตั้งที่หมาะสมจง ได้พยายามย้ายศูนย์กลางของเครือข่ายการค้าของอังกฤษมาอยุ่ที่สิงคโปร์ และทำให้เกาะแห่งนี้มีการต้าแบบเสรี
แรฟเฟิลใช้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลายการต้ของอังกฤษกับซีกโลกตะวันออกให้เป็นสถานีการค้า นโยบายการค้าเสรีดึงดุดพ่อค้าจากทั่วทุกส่วนของเอเชียและจากที่ห่างไกลออกไป เช่น สหรัฐอเมริกาและตะวันออกกลาง อังกฤษมีสิทธิครอบครองสิงคโปร์ตามข้อตกลงที่ทำกับฮอลันดา เพียงแค่ห้าปีหลังจากนั้น ประชากรเพีิ่มขึ้นจาก 150 คนกลายเป็น 10,000 คน สิงคโปร์กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษ สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางรัฐบาลของถ่ินฐานข่องแคบปีนัง มะละกา และสิงคโปร์ การเปิดทำการของคลองสุเอซ สิงคโปร์ก็เปลียนแปลงไป เป็นท่าเรือนานาชาติที่สำคัญ ประกอบกับการเข้ามาของเครื่องโทรเลขและเรือกลไฟทำให้ความสำคัญของสิงคโปร์เพ่ิมขึ้นจนกลายเป็นศูน์กลางการค้าที่กำลังขยายตัวระหว่างโลกตะวันตกและตะวันออก อังกฤษยกสิงคโปร์เป็นอาณานิคม ปกครองภายใต้ระบบสเตรดส์เซ็ตเติลเมนท์ ควบคุมโดย บริษัท อินเดีย
ตะวันออกของอังกฤษ รวมถึงเกาะปีนัง (เกาะหมาก) และมะละกาด้วย
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง อังกฤษเข้ามาครอบครองสิงคโปร์ตามเดิม ญี่ปุ่นแพ้สงคราม ปกครองสิงคโปร์ในฐานะที่เป็นอาณานิคมแบบเอกเทศ สิงค์โปร์มีอำนาจปกครองกิจการภายในของตนเองแต่ไม่มีอำนาจดุลกิจการทหารและการต่างประเทศ และยังมีผุ้วาราชการจากอังกฤษมา ปกครองอู่ ในสภานิติบัญญัตินั้น อังกฤษเปิดโอกาสให้ประชาชนเลือกตั้งสมาชิกบางส่วน อังกฤษให้ชาวสิงคโปร์มีอำนาจและมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองมากขึ้นในช่วง 10 ปี ก่อนที่สิงคโปร์จะประกาศเป็นสาธารณะรัฐนั้น สิงคโปร์จึงอยุ่ภายใจ้กาารปกครองของรัฐบาล 3 ชุด คือ และหลังจากรัฐบาลของนาย ลี กวน ยู สิงคโปร์ได้รับอำนาจในการปกครองตนเองอย่างสมบูรณ์และนายลีได้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงค์โปร์
ช่วงที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษและสิงคโปร์รวมอยู่เป็นรฐหนึ่งของมาเลเซีย จกาการมี่สิงคโปร์เห้นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมายา ทันที่ เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ และอยู่ได้เพียง 2 ปี หลังจากการรวมอยุ่กับมาเลเซียไม่นาน เกิความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองขึ้นหลายครั้งประกบอกับภัยคุกคามที่เกิดจากลัทธิคิมมิวนิสต์และความสัมพันธ์ระหว่งสิงคโปร์และมลายาที่ไม่ดี โดยเฉพาะการที่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลิซียมากนักในเรื่องกการเหยียดชนชาติ ในมาเลเซียคนเชื่อสายมาเย์เป็นกลุ่มใหญ่และมีอภิสทิธิ์ แต่ในสิงคโปร์ชนกลุ่มใหญ่คือคนเชื้อสายจีน ทำให้พรรคกิจประชาชน ของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกรชและแยกตัวออกจากมลายา ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ตั้งแต่บัดนั้นมาจนก่อร่างสร้าตัวเป็นรัฐบาลและชาติที่มีเอกราชในท้ายที่สุด
มาเลเซีย เจีย บุน เคงอธิบายถึงการที่ความเป็นชาติของมาเลเซียก่อตัวและวิวัฒน์ขึ้นในทางปฏิบัติอย่างไร โดยเน้นการศึกษาไปที่การเมืองในระบบเลือกตั้ง บทบาทของนายกรัฐมนตรีที่ผท่นมา และนโยบายระดับประเทศ เจีย วิเคราะห์มาเลเซียผ่านมุมมองของ "การรับและการให้" โยศึกษาความตึงเครียดที่ดำรงอยุ่ ระหว่างแนวคิดชาตินิยมเชิงชาติพันธุ์ของชนเช้อสายมาเลย์ กับแนวคิดชาตินิยมมาเลเซีย ประเด็นข้อถกเถียงหลักที่เจียเสนอ คือ นายกรํบมนตรีที่ผท่ามาทั้ง 4 คน ล้วน "เร่ิมต้นจากการเป็นนักชาตินิยมมาเลย์ที่กีอกันคนเชื่อสายอื่นออกไป แต่ในที่สุดก็กลับหลายมาเป็นนักชาตินิยมมาเลเซียที่รวมกลุ่มชาติพันธ์ุอืนๆ เข้าไว้ด้วยกัน การที่เป็นเช่นนี้ถึงสี่ครั้งในประวัติศาสตร์ของชาติ ย่อมแสดงให้เห็นว่า รัฐชาติมาเลเซียได้พัฒนาตรรกะของตนเองขึ้น ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่า เกตัวนัม เมลายู หรือการครอบงำทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธ์ุมาเลย์นั้น จะยังดำรงอยุ่ตลอดไป แต่จะถูกจำกัดด้วยตรรกะดังกล่าวหนังสือของเจียเสนอความจริงด้านหนึ่งของมาเลเซีย ที่มีควมหลากหลายและความอดกลั้นทางวํมนธรรม
สาธารณรัฐเมียนม่าร์ ขบวนการชาตินิยมในเมียนม่าร์ในระยะเริ่มแรกยังไม่ก่อตั้งขึ้นเป็นสมาคมหรือองค์กรซึ่งมีรูปแบบการจัดตั้งที่ดีพอ ในแง่การรวมกลุ่มมีสมาชิกเข้าร่วมดำเนินงานและมีนโยบายแผนงาน เป้าหมายในการเคลื่อนไหวที่สำคัคือยังมิได้มีท่าทีต้องการก่อกระแสปลุกเร้าสร้างจิตสำนึกทางการเมืองขึ้นมาร่วมกันอย่างมีน้ำหนักของความเป็นเหตุเป็นผล เพื่อให้คนส่วนใหญ่ยอมรับและสนับสนุนการเคลื่อนไหวในแต่ละครั้งแต่อันที่จริงแล้ว แม้ว่าขบวนการชาตินิยมในยะะแรกจะมิได้มีแบบแผน วิธีการเคลื่อนไหวอย่างมีจุดประสงค์ชัดเจนทางการเมือง
ขบวนการชาตินิยมของพม่าเริ่มเกิดขึ้นเป็นทางการที่มีกาจัดตั้งและดำเนินงานอย่างได้ผลคือ สมาคม YMBA สมาคมยุวพุทธ แต่ก็ถูกจำกัดอยู่ในขอบเขตที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมืองโดยตรง อย่างไรก็ตามเมือสมาคมยุวพุทธเริ่มเป็นที่ยอมรับมากขึ้นเพราะมีความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมเพื่อต่อต้านเจ้าอาณานิคม โดยเฉพาะในเรื่องศาสนา จึงต้องการขยายบทบาทไปสู่กิจกรรมทางการเมืองโดยตรง ดังนันจึงมีการจัดตั้งสมาคมขึ้นใหม่ มีชื่อว่า สภาใกญ่ของสมาคมชาวพม่า GCBA การเปลีวยนแปลงสมาคม YMBA มาเป็น GCBA ต้องการต่อสู้เพื่อเอกราชของพม่า แต่ก็ยังมีข้อจำกัดในด้านที่ผุ้นำของสมาคมในการต่อสุ้ยังเป็นพระสงฆ์อยู่มากเช่นเดิม ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สมาชิกมีความขัดแย้งกันเกี่ยวกับบทบาทของสงฆ์ที่มายุ่งเกี่ยวกับการเมืองเป็นการขัดวินัยสงฆ์ จึงมีผลกระทบต่อการขยายบทบาทของทางสมาคม ต่อมาบทบาทผุ้นำชาตินิยมเปลี่ยนมาเป็ฯกลุ่มผุ้นำนักศึกษาในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งที่ตั้งขึ้นใหม่ พร้อมๆ กับการปรากฎตัวของขบวนการนักศึกษาที่เรียกว่าตัวเองว่า "ตะขิ่น" ได้กลายมาเป็นผุ้นำที่สำคัญของขบงนการชาตินิยมในเมียนม่าร์ กระทั่งสามารถดำเนินงานทางการเมืองในการเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษได้สำเร็จ
เวียดนาม ชาตินิยมในเวียดนามเป็นชาตินิยมที่มีพัฒนาการอย่างยาวนาน อันเกิดจากการค้นหาแนวทางการต่อต้านแบบใหม่ๆ หลังจากความล้มเหลวของขบวนการต่อต้านรุปแบบเก่า ดังจะเห็นว่าแรกเร่ิมนั้นศุนย์กลางชขาตินิยมของเวียดนามถูกผุกติดอยู่ราชสำนักอันเกิดขึ้นจากความไม่พอใจของขุนนางขงจื้อบางส่วนที่ถุดลดทอนบทบามและอำนาจที่เคยมี แต่ชาติยินมลักษณะนี้มิได้เกิดจากการรวมตัวและสร้างฐานในหมู่ประชาชนมากเท่าที่ควรทั้งนี้เนื่องจากสำนึกของประชาชนต่อสังคมักดินาแบบก่อน
อาณานิคมไม่ได้ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะชาวนาที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงทำให้พลังการต่อต้านในระยะแรกนี้มีไม่มากเท่าที่ควร ส่งผลให้ชาตินิยเวียดนามในระยะแรกไม่ประสบความสำเร็จและได้ก่อเกิดการต่อต้านในรูปแบบใหม่ขึ้น พยายามเปลี่ยนแปลงการต่อต้านในรูปแบบใหม่คือพยายามสร้างฐานในปมุ่ประชาชน แต่ก็ยังไม่สามารถที่จะตัดความสำคัญของกษัตริย์ในฐานะสัญลักษณ์ของการต่อต้านได้ทั้งหมด ทั้งนี้เพราะยังคงต้องการกษัตริย์ที่จะชักจูงมวบชนและราชสำนักให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการต่อต้านได้ แต่ทว่าก็ยังไม่ามารถสร้างประชคมใหม่ในจินตนาการของประชาชนได้เท่าที่ควร อีกทั้งการต่อต้านนั้นมีลักษณะกระจายเป็นหย่อมๆ ไม่สามารถรวมตัวกันได้อย่างมีประสิทะิภาพทำให้การดำเนินการชาตินิยมในระยะนี้ขาดเอกภาพ กระทั่งเมื่อพรรคอมมิวนิสต์อินโดจีนเกิดข้นใน ค.ศ. 1930 ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงเชิงรูปแบบชองขบวนการต่อต้าน เมื่อพรรคคอมมูนิสต์ใช้ปรัชญาตามแนวทางลัทะิมาร์กซิสต์ที่ให้ความสำคัญกับประชาช ดยเฉพาะอย่างยิ่งกับชาวนาและชนชั้นกรรมาชีพ ที่เป็นประชกรหลักของประเทศในการจัดตั้งปรชาคมใหม่ของเวียดนามเข้ามาเป็นตัวสร้างชาตินิยมให้เกิดขึ้น อันสามารถสร้างชาตินิยมในหมู่ประชาชนได้อย่างกว้าง ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมใหม่ที่มีประชาชนเป็นตัวแสดงแทนการต่อต้านทุกรูปแบบ เกิดการเป็นการต่อสู้ของประชาชนเพื่อประชาชนของเวียดนาม จนในที่สุดนำปสู่ชัยชนะแห่งการปลกแอกตัวเองออกาจากระบอบนิคมฝรั่งเศส
ลาว ในช่วงสงครามดลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้รุกเข้ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อญีุ่ป่นใกล้แพ้สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึ่งเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อกู้เอกราชลาวในเวลานั้นประกาศเอกราชให้ประเทศลาวเป็นประเทศราชอาณาจักรลาวหลังี่ปุ่นแพ้สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอำนาจในอินโดจีนอีกครั้งหนึ่ง แต่เนื่องจากการที่เวียดมินห์ปลดปล่อยเวียดนามได้ จึงเป็นหารสั่นคลอนอำนาจฝรั่งเศสจนยอมให้ลาวประกาศเอกราชบางส่วน และได้เอกราชสมบุรณ์ในปี 1953 ภายหลังฝรั่งเศสแพ้เวียดนามที่เดียเบียนฟู ผุ้ที่มีบทบาทในการประกาศเอกราชคือ เจ้าสุวณณภูม เจ้าเพชรราช และเจ้าสภานุวงศ์ โดยมีเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ามหาชีวิต จากอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางเดิมและได้รวมทั้ง 3 อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ล้านช้างเวียงจันทน์ และล้านช้างจำปาศึกดิ์ เข้าด้วยกันเป็นราชอาณาจักรลาว ลาวอิดสะระ เป็นขบวนการต่อต้ารฝรั่งเศสเน้นชาตินิยมและไม่นิยมคอมมิวนิสต์
กัมพูชา เขมรอิสระ เป็นกลุ่มต่อต้านฝรั่งเศสและกลุ่มชาตินิยมเขมร ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2488 โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทยจุดประสงค์เพื่อต่อต้านการเป็ฯอาณานิคมของฝรั่งเศสและจัดตั้งรัฐเขมรที่เป็นเอกราชอย่างไรก็ตาม ภายในกลุ่มมีความแตกแยกทางความคิดมาก สุดท้ายทำให้สมาชิกแยกตัวออกไปสมาชิกของกลุ่มหลายคนมีบทบามสำคัญในสงครามกลางเมืองกัมพูชา
อินโดนีเซีย ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น ญี่ปุ่นอนุญาติให้ก่อตั้งศุนย์อำนาจของประชาชน ญี่ปุ่นตระหนักได้ว่างานจะสำเร็จได้จะต้องทำงานผ่านผุ้นำของคนพื้นเมือง กลุ่มผุ้นำชาตินิยม เป็ฯองค์การที่รวมนักชาตินิยมทั้งหมดไว้ ผุ้นคือ คฯต้นใบสามแฉก สีใบ คือพวกชาติยิยมชั้นนำ ได้แก่ ซุการ์โน, มุฮัมหมัด ฮัตตา, ฮัดยาร์ เทวัญ โตโร และผุ้แทนของความคิดแบบมุสลิมคือ กีอายี เอช เอ็ม มันซูร์ โดยองค์กรนี้ไดรับความเชื่อถืออย่างกว้างขวางที่จะนำไปสู่การเป็นชาติยนิยมอย่างแม้จริง
ต่อมาญี่ปุ่นรู้ว่าตนเป็นรองในสงครามท่าทีของญี่ปุ่นที่มีต่อขบวนการชาตินิยมเริ่มเปลีี่ยนไป ญี่ปุ่นสัญญาว่าจะให้เอกราชแก่ชาวอินโดนีเซีย ซุการ์โน ร่างกฎ 5 ข้อ ซึ่งญีปุ่นก็ไม่มีท่าที่ต่อต้านใดๆ
ในวันที่ 8 สิงหาคม 1945 หลังจากที่สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมณุครั้งแรกที่ฮิโรชิมา ซุการ์โน และฮัตตาบินไปยังศูนย์บัญชาการของญี่ปุ่นที่ไซง่อน วันที่ 11 ญี่ปุ่นยอมรับการยอมแพ้สงคราม และสัญญาว่าจะคืนเอกราชให้ในวันที่ 14 สิงหาคม เมื่อซุการ์โน และฮัตตาหลับจากไซ่ง่อน ได้ไม่กี่วันความหวาดหวั่นว่ากลุ่มต่างๆ ในหมู่ชนชั้นสูงอาจจะกีดกันความพยยามของกันและกัน ในขณะนั้นซุการ์ไนเป็ฯผุ้นำชาตินิยมที่มีผุ้รู้จักมากที่สุดและทรงอิทธิพลมากที่สุด มีควาสำคัญต่อการปรกาศเอกราชในขณะนั้น แต่ทว่าซุการ์โนยังรีรอ กระทั่งวันที่ 17 สิงหาคม จึงได้มีการประการเอกราช "เราประชาชนอินโดนีเซีย ขอประกาศเอกราชของประเทศอินโดนีเซีย ณ บัดนี้ เกรื่องเกี่ยวกับการโอนอำนาจและเรื่องอื่นๆ จะจัดการไปเป็นลำดับและให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้"
ฟิลิปปินส์ ขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็นสามระยะ ซึ่งในการจัดตั้งขบวนการชาตินิยมเองก็มีความขัดแย้ง คือ มีกลุ่มชาตินิยมปัญญาชนและกลุ่มชาตินิยมด้อยโอกาส การถึงแก่มรณกรรมของ โฮเซ่ ริชา เป็นมูลเหตุและแรงจูงใจอย่างมากต่อขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์
- www.satrit.up.ac.th/..,ประวัติศาสตร์สิงคโปร์
- "ประวัติเอเซึยตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป"
- www.kyotoreview.org, ทำความเข้าใจความเป็น "มาเลเซีย"
- digi.library.tu.ac.th/..,บทที่ 3 ขบวนการชาตินิยมของพม่า
- www.midnighttuniv.org พัฒนาการชาตินิยมเวียดนาม
- sites.google.com/..,ขบวนการลาวอิสระและเส้นทางสุ่เอกราชของลาว
- www.th.wikipedia.org.., เขมรอิสระ
- www.sac.or.th/..,อินโดนีเซีย-ประวัติศาสตร์
- www.gotoknow.org/..,ฟิลิปปินส์ : ขบวนการชาตินิยมของชาวฟิลิปปินส์
- "ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่ ลัทธิอาณานิคม ลัทธิชาตินิยมและการสลายตัวของลัทธิอาณานิคม"จอห์น แบสติน,แฮรี่ เจ.เบ็นดา
สำหรับแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น ในด้านภูมิศาสตร์ได้แยกออกจาส่วนอื่นของทวีปเอเชีย โดยมีทิวเขายาวเหยีดพากกั้นจากเทือกเขาหิมาลัยไปทางตะวันออกจนถึงตอนใต้ของจีน ทงด้านใต้ของเทือกเขานี้เป็นทิวเขาที่ค่อนข้างเรียบของแผ่นดินใหญ่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในทิศทางจากเหนือลงใต้ ต่างกับเทือกเขาในหมู่เกาะที่พาดจากตะวันตกไปตะวันออกเทือกเขาที่พาดจากเหนือลงใต้ในแผ่นดินใหญ่นั้นจะเห็นได้ชัดจากเส้นทางของแม่น้ำสายยาวๆ ต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สาละวิน เจ้าพระยา แม่โขง อิระวะดี ซึ่งไหลเป็นแนวขนานกันลงมา แม่น้ำเหล่านี้มีปริมาณน้ำ และตะกอนดินทรายมาก ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเพาระปลูกของแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนหใหญ่ตั้งอยุ่ระหว่างเส้นทรอปิกออฟเเคนเซอร์ และเส้นรุ้งที่ 12 องศา ทำให้มีฝนตกชุก และเมื่อประกอบกับอุณหภูมิเฉลี่ย 80 องศาฟาเรนไฮซ์ บริเวณส่วนใหญ่จึงเป็นป่าทึบ สภาพของป่าทึบนี้เป็นเหตุผลสำคัญประการหนึ่งที่ปลักดันทำให้ประชากรตั้งถ่ินฐานตามแนวแม่น้ำต่างๆ มาแต่อดีต จนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่งเป็นได้ว่าแม่น้ำยังเป็นเส้นทางคมนาคมและติต่อที่สำคัญอยู่
ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ แม่น้ำเป็นเสมือนเส้นทางที่ประชากรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้ในการอพยพลงใต้ หลังจากการอพยพของชนเผ่าดั้งเดิมคือพวกออสเตรลอยด์และนิกริโต ซึ่งยังมีหลงเหลืออยู่บ้างในออสเตรเลีย และบางส่วนของฟิลิปปินส์-อินโดนีเซีย-มาเลเซีย เผ่าที่มีอารยธรรมสูงกว่าอันได้แก่ อินโดนีเซียนหรืออสโตรนีเซียน ก็ได้เริ่มอพยพเคลื่อนย้ายอย่างช้าๆ ลงมาทางใต้-จากภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีนเมืองประมาณสองสามพันปีก่อนคริสต์วรรษ สันนิษฐานกันว่า เผ่าอินโดนีเซียนนี้แยกออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มโปรโต-มาเลย์ และกลุ่มดอยเตอโร-มาเลย์ กลุ่มแรกยังมีร่อยรอยของพวกมองโกลอยด์อยู่มาก คือ กลุ่มพงกจาคุน ในมลายู พวกโตราจาน์ในสุลาเวซี่ พวกคยัคในบอร์เนียว และพวกบาตัดในสุมาตรา ส่วนกลุ่มที่สองนั้นคือ พวกสายดอยเตอโร-มาเลย์ ซึ่งไม่ใคร่จะคล้ายคลึงกันนัก จะพบในพวกชาวมลายู ในสุมาตรา และมาเลเซีย พวกชว่า พวกซุนดา พวกบาหลี พวกมาดุรา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในอินโดนเซีย และก็ยังมีพวกบิสายัน ตาการล็อก อิโลคาโน บิโคล ปันปางัน ซึ่งอยู่ในฟิลิปปินส์
ระยะเวลาระหว่างแลหลังจากที่ประชกรเผ่าอินโดนีเซีนได้อพยพโยกย้ายอยู่ทางใ้ทั่วไปแล้ว กลุ่มมอญออสโตร-เอเชียติก ก็ได้อพยพจากกลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าไปอยู่แถบบริเวณชายฝั่งทะเลตอนล่างของพม่า และพวกเขมรซึ่งเกี่ยวดองกันก็ได้เข้าไปอยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ส่วนพวกเวยดนามซึ่งมีเชื้อสายเกี่วพันกัน เมื่อหนึ่งพันปีแรกแห่งคริสกาลได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองและวัฒนธรรมของจีน ก็ไดอพยพลงมาทางใต้ของจีนสู่ลุ่มแม่น้ำแดง และได้ปะปนอยู่ในตอนบนของฝั่งทะเลอันนัมกับพวกจามปาซึ่งเป็นคนเผ่ามาเลโย-โปลีนีเซียน นอกจากนั้นพวกพยู และพม่า เชื้อสายแรกๆ ก็ได้เข้าไปตั้งรกรากในตอนกลางของลุ่มแม่น้ำอิระวะดีในตอนต้นๆ คริสต์ศตวรรษ และท้ายที่สุดคือพวกฉาน หรือไทยซึ่งเคยอยู่ทางตอนบนของแม่น้ำโขลและแม่น้ำแดง ก็ค่อยๆ เคลื่อนเข้าไปอยู่กระจัดกระจายระหว่างอัสสัมทางทิศตะวันตกจนถึงตังเกี๋ย และพรมแดนของกัมพุชาทางด้านตะวันออก
แม้ว่าชนดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความแตกต่างกันทางด้านเชื้อชาติ แต่ก็มีรูปแบบวัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน ดังนั้น วัฒนธรรมยุคหินกลาง ซึ่งมีเครื่องมือหินกะเทาะปลายคมแบบสิ่วขัดเกลาบ้างเล็กน้อยตามแบบแบคโซเนียน ที่พบในตังเกี๋ย และช้ินส่วนของประดิษฐกรรมดังกล่าวที่ค้นพบในไทย มลายู สุมาตรา ได้เริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นเครื่องมือหินขึดเรียบรูปขวานของยุคหินใหม่ ซึ่งเป็นช่วงสมัยหลังจากที่คนเผ่าอินโดนีเซียนได้อพยพลงใต้สู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในระหว่างสามถึงสองพันปีก่อนคริสต์ศักรช หม้อไหของยุคหินใหม่มีอยู่ทั่วไป และต่างก็มีลักษณะและรูปแบบดคึล้ายคลึงกัน ซ่งแสดงว่าชนเหล่านี้มีวัฒนธรรมร่วมกันเป็นเวลานานมาแล้ว และสืบเนื่องมจนสมัยใกล้คิรสต์ศตวรรษซึ่งจะเป็นยุคโลหะ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าวัฒนธรรมดองซอน ลักษณะที่เด่นของวัฒนธรรมนี้คือกลองมโหระทึกขนาดใหญ่ ซึ่งได้รับอิทะิพลจากจีน และพบอยุ่ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบางครั้งลวดลายศิลปะทางด้านการตกแต่งใหม่ ซึ่งเป็นที่ยอมรับในหมุ่คนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนในแถบอื่นๆ โดยเฉพาะบริเวณที่ติดกับจีนจะพบศิลปะแบบดองชอนที่แท้จริงมากกว่า
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มิได้ใช้โลหะเป็นเครื่องมือในการเพาะปลูกจนกระทั่งสมัยหลังและเมื่อมีกรเร่ิมใช้ขึ้นก็ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของการพัฒนาทางเศรษฐกิจของดินแดนแถบนี้ การเศรษบกิจเริ่มแรกของเอเชียตะวันออกเแียงใต้นั้นเป็ฯแบบเลี้ยงตนเองโดยสิ้นเชิง โดยยึดการล่าสัตว์และการจับปลาเป็นหลัก แต่ได้ขยายออกอย่างช้าๆ ด้วยการใช้วิธีการเพาะปลูกแบบดั้งเดิมโดยการโยกย้ายที่เพาะปลูกจากแหล่งที่ขอดความอุดมสมบุรณ์ไปถางป่าใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา ในปัจจุบันการเพาะหลูกแบบนี้ยังคงมีพบอยู่โดยทั่วไปในเอเลียตะวันออกเฉียงใต้ แตในระยะต่อมาก็ได้หันไปทำการเพาะหลูกแบบนาดำ คือมีการกักน้ำไว้ในนา ซึ่งจะเห็นได้จากชวาตอนกลางเป้นต้นเครื่องมือสำคญตอนี้ได้แก่ คันไถและสัตว์เลี้ยง การตั้งหลักแหล่งอย่างถาวรและการเพ่ิมผลผลิตทางการเพาะปลูกนี้ทำให้การเศรษฐกิจที่ชะงักงันขยายตัวอก โดยการแบ่งงานกันทำอย่างง่ายๆ ในการผลิตผ้าแพรและโลหะที่ใช้ในท้องถ่ิน ในดินแดนที่มีการเพาะปลูกแบบนาดำได้จัดให้มีการควบคุมงานทดน้ำ ซึ่งยังผลให้เกิดความสามัคคีสังคม และความเป็นระเบียบทางการเมือง อย่างไรก็ตาม วิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงอย่างเบ็ดเสร็จของสงคมถือเป็นการเปลี่ยนแปลงจากระดับของสังคมและวัฒนธรรมหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่งจึงยากต่อการอธิบายให้เป็นพอใจในลักษณะปัจจัยโดดๆ ได้ สังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปลี่ยนแปลงไป และในการเปลี่ยนแปลงนั้นแนวทางที่จะปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ลักษณะเด่นทางวัตถุที่เห้นได้ชัดของอารยธรรเอเชียตะวันออก ในช่วงก่อนได้รับอิทธิพลจากภายนอกโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอินเดีย ส่วนลักษณะเด่นทางจิตใจที่เห็นได้ชัดคือการการบไหว้บูชาบรรพบุรุษ การตั้งที่เคารพบูชาไว้ในที่สูงๆ ความเชื่อต่างๆ เกี่ยวกับผีสาง หรือการถือลัทธิว่ามีอำนาจร่วกันในจักรวาล คือ ภูเขาและทะเล และสิ่งที่เป้นคู่อื่นๆ อีกมากซึ่งเกี่ยวโยงกับเวทนนตร์คาถา ถึงแม้ว่าลักษณะหล่านี้จะแตกต่างกันบ้างตามท้องถิ่นต่างๆ และรับอิทธิพลของฮินดุ พุทธ อิสลาม คริสต์ เข้ามาแทรกแต่ลัษณะทั่วไปของวัฒนธรรมแบนี้ก็ยังคงมีอยุ่ให้เห็นทั่วไป และในปัจจุบันนี้เป็นลหลักฐานที่สำคัญในการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเนื้อแท้ของอินแดนแถบนี้ ไม่ใช่เพียงแต่เป็นส่วนหนึ่งของจีนหรืออินเดีย เป็นที่ยอมรับกันมากขึ้นว่า กระบวนการกระจายอิทธิพลอินเดีย ไม่ใช่การถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียเข้าแทนวัฒนธรรมท้องถ่ินโดยนส้ินเชิง แต่เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนเกี่ยวเนื่องกับการผสมปนเประหว่างวัฒนธรรมต่างผระเทศกับวัฒนธรรมท้องถ่ินจนเป็นลักษณะพิเศษเฉพาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไป
มหาอำนาจตะวันตกซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วย โปรตุเกสอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สเปน และสหรัฐอเมริกา โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกที่เข้ามาในภูมิภาคนี้เป็นชาติแรก อังกฤษ มีอาณานิดคมประกอบด้วย พม่า มาเลเซีย สิงค์โปร ฝรั่งเศสมีเป็นเจ้าอาณานิคมของอินโดจีน หรือเรียกว่าอินโดจีนของฝรั่งเศส ประกอบด้วย เวียดนาม กัมพุชาและลาว เนเธอร์แลนด์เป็นเจ้าอาณานิคมอินโดนีเซีย สเปนเข้ามาครอบครองฟิลิปปินส์ก่อนที่พ่ายแพ้และยกฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐอเมริกา
มหาอำนาจตะวันออกได้แก่ญี่ปุ่น เข้าครอบครองดินแดนและปลดปล่อยชาวพื้นเมืองในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้จากอำนาจของตะวันตก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่เมือญีปุ่นพ่ายแพ้สงคราม ประเทศตะวันตกที่เคยเป็นเจ้าอาณานิคมก็กลับเข้าครอบครองดินแดนอีกตามเดิม
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในสี่ประเทศทั่วโลกที่ไม่ตกเป็นอาณานิคมของมหาอำนาจยุโรป ประเทศไทยจึงเป็นประเทศที่ได้รับความกระทบกระเทือนน้อยที่สุดจากการครอบงำของตะวันตก และป็นเพียงประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่แถบจะไม่ได้รับผลร้ายแรงจากสงครามโลก ฝ่ายทหารยอมให้อำนาจแก่ฝ่ายพลเรือนหลังจากการปฏิวัติ ค.ศ.1932 เมื่อความสัมพันธ์ญีปุ่นไทยสิ้นสุดลงในระยะปลายสงครามแปซิฟิก เรื่องนี้พิสูจน์ได้ว่าเป็นเพียงการปรับตัวในระยะหัวเลี้ยวหัว่อให้เข้ากับความจำเป็นในการเสนอให้รัฐบาลเป็นที่ยอมรับของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ได้ชัยชนะ ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1947 คณะรัฐมนตรีพลเรือนมีนายปรีดีเป็นหัวหน้าถูกโค่นอำนาจลง และนายกรัฐมนตรีสมัยสงคราม คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ายึดอำนาจ ภายหลังจอมพล ป. ถูกขับไล่ออกนอกประเทศ และมีนายทหารครอื่นๆ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีต่อไมา ฉะนั้นการที่ทหารกลับเข้ามามีอำนาจนี้ ไม่เพียงแต่จะแสดงให้เก็นว่าการเข้ามาครองตำแหน่งของพวกผุ้นำหลังปี 1932 นั้น สามารถเข้ยึดครองอำนาจทางการเมืองได้อย่างมั่นคงเท่านนั้น แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถในทางปฏิบัติของประเทศไทยต่อสถานการณ์ระหว่างประเทศอีกด้วย
ทันที่โปรตุเกสตะวันตกชาติแรกที่เข้ามา ทำลายความยิ่งใหญ่ของมะละกาลงได้ บรูไนจึงสามารถสร้างอำนาจให้กับอาณาจักของตนเองได้ในทันที ทำหใ้โปรตุเกสเป้นประเทศหนึ่งที่เป้นมิตรกับบรูไน จนสมารถสร้างความเข้มแข็งให้กับอาณาจักรของตนได้ จากการขยายอำนาจของบรูไนจึงใทำหใ้เกิดความขัดแย้งกับมหาอำนาจตะวันตกประเทศหนึ่งคือ สเปน เพราะขัดอย้งในเรื่องการแข่งขันกันขยายอำนาจเหนือฟิลิปปินส์ แต่บุรไนสามารถรักษาอาณาจักรของตนไวได้
เนื่องจากปัญหาภายในและการเข้ายึดครองอำนาจของพวกดัชท์แทนโปรตุเกส มีการบังคับผุกขาดการผลิตและการค้า เศรษฐกิจและการค้าแถวหมู่เกาะต้องปยุดชะงักรวมทั้งบรูไนด้วย บรูไนจึงกลายเป้นรัฐเล็กๆ ที่ไม่สามารถต่อต้านอำนาจของพวกสลัด จนกลายเป้นศูนย์กลางการเลแกเปลี่ยนสินค้าที่ปล้นมาของพวกสลัดแทน
และเมื่ออังกฤษเข้ามา และเป็นอีกมหาอไนาจหนึ่งที่มุ่งเข้ามเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในภุมิภาค อังกฤษให้ความสำคัญทำการค้ากับจีนมาก จึงพยายามที่จะเข้ายึดครองแถบตะวันตกเฉียงเหนือของบอร์เหนียวเพื่อใช้เป็นเส้นทางไปค้าขายกับจีน และการยึดครองของอังกฤษบริเวณบอร์เนียวก็ปะสบผลสำเร็จ จนในที่สุดแล้วบรูไนทำสัญญาให้การยอมรับการเป็นรัฐอารักขาของอังกฤษ และได้รับเอกราชในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527
ประเทศสิงคโปร์ เดิมทีสิงคโปร์เป็นเมืองที่ตั้งอบุ่ปลายสุดแหลมมลายู เป็นสถานพักสินค้าของพ่อค้าทั่วโลก เดิมชื่อว่า เทมาเส็ก (ทุมาสิค)มีกษัตริย์ปกครอง เมื่อโปรตุเกสเข้ายุึดมะละกาเป็นเมืองขึ้น สิงคโปร์ก็กลายเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกสด้วยและฮอลันาเข้ามายึดจากโปรตุเกส ซึ่งชาวดัตท์มีอิทธิพลอยุ่ในมะละกาช่วงศตวรรษที่ 17 อังกฤษเริ่มสนใจสิงคโปร์เมื่อเข้ามามีอิทธิพลในแหลมมลายู อังกฤษเล็งเห็นถึงความสำคัญของ "จุดแวะพัก"ทางยุธศษสตร์ สำหรับซ่อม เติมเสบียง และคุ้มกันกองทัพเรือของอาณาจักรที่เติบโตของตน รวมถึงเพื่อขัดขวางการรุกคืบของชาวฮาลแลนด์ในภมิภาคนี้ อังกฤษแช่งขชันกับดัตช์ในเรื่องอาณานิคม อังกฤษส่งเซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด บิงก์เลย์ รฟเฟิลส์ มาสำรวจดินแดนแถบสิงคโปร์ ซึ่งมีสุลต่านปกครองอยู่ แรฟเฟิลส์ตกลงกับสุลต่านว่า จะตั้งสถานีการค้าของอังกฤษที่นี่ แต่สุดท้ายอังกฤษก็ยึดสิงคโปร์ไว้เป็นเมืองขึ้นได้สำเร็จ ในปี 1819 อังกฤษได้ขอเช่าเกาะสิงคโปร์จากจักรวรรดิยะโฮร์ซึ่งอยุ่ภายใต้การปกครองของฮอลันดาราฟเฟิลส์ มองเห็ฯถึงทำเลที่ตั้งที่หมาะสมจง ได้พยายามย้ายศูนย์กลางของเครือข่ายการค้าของอังกฤษมาอยุ่ที่สิงคโปร์ และทำให้เกาะแห่งนี้มีการต้าแบบเสรี
แรฟเฟิลใช้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลายการต้ของอังกฤษกับซีกโลกตะวันออกให้เป็นสถานีการค้า นโยบายการค้าเสรีดึงดุดพ่อค้าจากทั่วทุกส่วนของเอเชียและจากที่ห่างไกลออกไป เช่น สหรัฐอเมริกาและตะวันออกกลาง อังกฤษมีสิทธิครอบครองสิงคโปร์ตามข้อตกลงที่ทำกับฮอลันดา เพียงแค่ห้าปีหลังจากนั้น ประชากรเพีิ่มขึ้นจาก 150 คนกลายเป็น 10,000 คน สิงคโปร์กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษ สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางรัฐบาลของถ่ินฐานข่องแคบปีนัง มะละกา และสิงคโปร์ การเปิดทำการของคลองสุเอซ สิงคโปร์ก็เปลียนแปลงไป เป็นท่าเรือนานาชาติที่สำคัญ ประกอบกับการเข้ามาของเครื่องโทรเลขและเรือกลไฟทำให้ความสำคัญของสิงคโปร์เพ่ิมขึ้นจนกลายเป็นศูน์กลางการค้าที่กำลังขยายตัวระหว่างโลกตะวันตกและตะวันออก อังกฤษยกสิงคโปร์เป็นอาณานิคม ปกครองภายใต้ระบบสเตรดส์เซ็ตเติลเมนท์ ควบคุมโดย บริษัท อินเดีย
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง อังกฤษเข้ามาครอบครองสิงคโปร์ตามเดิม ญี่ปุ่นแพ้สงคราม ปกครองสิงคโปร์ในฐานะที่เป็นอาณานิคมแบบเอกเทศ สิงค์โปร์มีอำนาจปกครองกิจการภายในของตนเองแต่ไม่มีอำนาจดุลกิจการทหารและการต่างประเทศ และยังมีผุ้วาราชการจากอังกฤษมา ปกครองอู่ ในสภานิติบัญญัตินั้น อังกฤษเปิดโอกาสให้ประชาชนเลือกตั้งสมาชิกบางส่วน อังกฤษให้ชาวสิงคโปร์มีอำนาจและมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองมากขึ้นในช่วง 10 ปี ก่อนที่สิงคโปร์จะประกาศเป็นสาธารณะรัฐนั้น สิงคโปร์จึงอยุ่ภายใจ้กาารปกครองของรัฐบาล 3 ชุด คือ และหลังจากรัฐบาลของนาย ลี กวน ยู สิงคโปร์ได้รับอำนาจในการปกครองตนเองอย่างสมบูรณ์และนายลีได้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงค์โปร์
ช่วงที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษและสิงคโปร์รวมอยู่เป็นรฐหนึ่งของมาเลเซีย จกาการมี่สิงคโปร์เห้นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมายา ทันที่ เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ และอยู่ได้เพียง 2 ปี หลังจากการรวมอยุ่กับมาเลเซียไม่นาน เกิความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองขึ้นหลายครั้งประกบอกับภัยคุกคามที่เกิดจากลัทธิคิมมิวนิสต์และความสัมพันธ์ระหว่งสิงคโปร์และมลายาที่ไม่ดี โดยเฉพาะการที่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลิซียมากนักในเรื่องกการเหยียดชนชาติ ในมาเลเซียคนเชื่อสายมาเย์เป็นกลุ่มใหญ่และมีอภิสทิธิ์ แต่ในสิงคโปร์ชนกลุ่มใหญ่คือคนเชื้อสายจีน ทำให้พรรคกิจประชาชน ของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกรชและแยกตัวออกจากมลายา ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ตั้งแต่บัดนั้นมาจนก่อร่างสร้าตัวเป็นรัฐบาลและชาติที่มีเอกราชในท้ายที่สุด
มาเลเซีย เจีย บุน เคงอธิบายถึงการที่ความเป็นชาติของมาเลเซียก่อตัวและวิวัฒน์ขึ้นในทางปฏิบัติอย่างไร โดยเน้นการศึกษาไปที่การเมืองในระบบเลือกตั้ง บทบาทของนายกรัฐมนตรีที่ผท่นมา และนโยบายระดับประเทศ เจีย วิเคราะห์มาเลเซียผ่านมุมมองของ "การรับและการให้" โยศึกษาความตึงเครียดที่ดำรงอยุ่ ระหว่างแนวคิดชาตินิยมเชิงชาติพันธุ์ของชนเช้อสายมาเลย์ กับแนวคิดชาตินิยมมาเลเซีย ประเด็นข้อถกเถียงหลักที่เจียเสนอ คือ นายกรํบมนตรีที่ผท่ามาทั้ง 4 คน ล้วน "เร่ิมต้นจากการเป็นนักชาตินิยมมาเลย์ที่กีอกันคนเชื่อสายอื่นออกไป แต่ในที่สุดก็กลับหลายมาเป็นนักชาตินิยมมาเลเซียที่รวมกลุ่มชาติพันธ์ุอืนๆ เข้าไว้ด้วยกัน การที่เป็นเช่นนี้ถึงสี่ครั้งในประวัติศาสตร์ของชาติ ย่อมแสดงให้เห็นว่า รัฐชาติมาเลเซียได้พัฒนาตรรกะของตนเองขึ้น ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่า เกตัวนัม เมลายู หรือการครอบงำทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธ์ุมาเลย์นั้น จะยังดำรงอยุ่ตลอดไป แต่จะถูกจำกัดด้วยตรรกะดังกล่าวหนังสือของเจียเสนอความจริงด้านหนึ่งของมาเลเซีย ที่มีควมหลากหลายและความอดกลั้นทางวํมนธรรม
สาธารณรัฐเมียนม่าร์ ขบวนการชาตินิยมในเมียนม่าร์ในระยะเริ่มแรกยังไม่ก่อตั้งขึ้นเป็นสมาคมหรือองค์กรซึ่งมีรูปแบบการจัดตั้งที่ดีพอ ในแง่การรวมกลุ่มมีสมาชิกเข้าร่วมดำเนินงานและมีนโยบายแผนงาน เป้าหมายในการเคลื่อนไหวที่สำคัคือยังมิได้มีท่าทีต้องการก่อกระแสปลุกเร้าสร้างจิตสำนึกทางการเมืองขึ้นมาร่วมกันอย่างมีน้ำหนักของความเป็นเหตุเป็นผล เพื่อให้คนส่วนใหญ่ยอมรับและสนับสนุนการเคลื่อนไหวในแต่ละครั้งแต่อันที่จริงแล้ว แม้ว่าขบวนการชาตินิยมในยะะแรกจะมิได้มีแบบแผน วิธีการเคลื่อนไหวอย่างมีจุดประสงค์ชัดเจนทางการเมือง
ขบวนการชาตินิยมของพม่าเริ่มเกิดขึ้นเป็นทางการที่มีกาจัดตั้งและดำเนินงานอย่างได้ผลคือ สมาคม YMBA สมาคมยุวพุทธ แต่ก็ถูกจำกัดอยู่ในขอบเขตที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมืองโดยตรง อย่างไรก็ตามเมือสมาคมยุวพุทธเริ่มเป็นที่ยอมรับมากขึ้นเพราะมีความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมเพื่อต่อต้านเจ้าอาณานิคม โดยเฉพาะในเรื่องศาสนา จึงต้องการขยายบทบาทไปสู่กิจกรรมทางการเมืองโดยตรง ดังนันจึงมีการจัดตั้งสมาคมขึ้นใหม่ มีชื่อว่า สภาใกญ่ของสมาคมชาวพม่า GCBA การเปลีวยนแปลงสมาคม YMBA มาเป็น GCBA ต้องการต่อสู้เพื่อเอกราชของพม่า แต่ก็ยังมีข้อจำกัดในด้านที่ผุ้นำของสมาคมในการต่อสุ้ยังเป็นพระสงฆ์อยู่มากเช่นเดิม ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สมาชิกมีความขัดแย้งกันเกี่ยวกับบทบาทของสงฆ์ที่มายุ่งเกี่ยวกับการเมืองเป็นการขัดวินัยสงฆ์ จึงมีผลกระทบต่อการขยายบทบาทของทางสมาคม ต่อมาบทบาทผุ้นำชาตินิยมเปลี่ยนมาเป็ฯกลุ่มผุ้นำนักศึกษาในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งที่ตั้งขึ้นใหม่ พร้อมๆ กับการปรากฎตัวของขบวนการนักศึกษาที่เรียกว่าตัวเองว่า "ตะขิ่น" ได้กลายมาเป็นผุ้นำที่สำคัญของขบงนการชาตินิยมในเมียนม่าร์ กระทั่งสามารถดำเนินงานทางการเมืองในการเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษได้สำเร็จ
เวียดนาม ชาตินิยมในเวียดนามเป็นชาตินิยมที่มีพัฒนาการอย่างยาวนาน อันเกิดจากการค้นหาแนวทางการต่อต้านแบบใหม่ๆ หลังจากความล้มเหลวของขบวนการต่อต้านรุปแบบเก่า ดังจะเห็นว่าแรกเร่ิมนั้นศุนย์กลางชขาตินิยมของเวียดนามถูกผุกติดอยู่ราชสำนักอันเกิดขึ้นจากความไม่พอใจของขุนนางขงจื้อบางส่วนที่ถุดลดทอนบทบามและอำนาจที่เคยมี แต่ชาติยินมลักษณะนี้มิได้เกิดจากการรวมตัวและสร้างฐานในหมู่ประชาชนมากเท่าที่ควรทั้งนี้เนื่องจากสำนึกของประชาชนต่อสังคมักดินาแบบก่อน
อาณานิคมไม่ได้ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะชาวนาที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงทำให้พลังการต่อต้านในระยะแรกนี้มีไม่มากเท่าที่ควร ส่งผลให้ชาตินิยเวียดนามในระยะแรกไม่ประสบความสำเร็จและได้ก่อเกิดการต่อต้านในรูปแบบใหม่ขึ้น พยายามเปลี่ยนแปลงการต่อต้านในรูปแบบใหม่คือพยายามสร้างฐานในปมุ่ประชาชน แต่ก็ยังไม่สามารถที่จะตัดความสำคัญของกษัตริย์ในฐานะสัญลักษณ์ของการต่อต้านได้ทั้งหมด ทั้งนี้เพราะยังคงต้องการกษัตริย์ที่จะชักจูงมวบชนและราชสำนักให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการต่อต้านได้ แต่ทว่าก็ยังไม่ามารถสร้างประชคมใหม่ในจินตนาการของประชาชนได้เท่าที่ควร อีกทั้งการต่อต้านนั้นมีลักษณะกระจายเป็นหย่อมๆ ไม่สามารถรวมตัวกันได้อย่างมีประสิทะิภาพทำให้การดำเนินการชาตินิยมในระยะนี้ขาดเอกภาพ กระทั่งเมื่อพรรคอมมิวนิสต์อินโดจีนเกิดข้นใน ค.ศ. 1930 ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงเชิงรูปแบบชองขบวนการต่อต้าน เมื่อพรรคคอมมูนิสต์ใช้ปรัชญาตามแนวทางลัทะิมาร์กซิสต์ที่ให้ความสำคัญกับประชาช ดยเฉพาะอย่างยิ่งกับชาวนาและชนชั้นกรรมาชีพ ที่เป็นประชกรหลักของประเทศในการจัดตั้งปรชาคมใหม่ของเวียดนามเข้ามาเป็นตัวสร้างชาตินิยมให้เกิดขึ้น อันสามารถสร้างชาตินิยมในหมู่ประชาชนได้อย่างกว้าง ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมใหม่ที่มีประชาชนเป็นตัวแสดงแทนการต่อต้านทุกรูปแบบ เกิดการเป็นการต่อสู้ของประชาชนเพื่อประชาชนของเวียดนาม จนในที่สุดนำปสู่ชัยชนะแห่งการปลกแอกตัวเองออกาจากระบอบนิคมฝรั่งเศส
ลาว ในช่วงสงครามดลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้รุกเข้ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อญีุ่ป่นใกล้แพ้สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึ่งเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อกู้เอกราชลาวในเวลานั้นประกาศเอกราชให้ประเทศลาวเป็นประเทศราชอาณาจักรลาวหลังี่ปุ่นแพ้สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอำนาจในอินโดจีนอีกครั้งหนึ่ง แต่เนื่องจากการที่เวียดมินห์ปลดปล่อยเวียดนามได้ จึงเป็นหารสั่นคลอนอำนาจฝรั่งเศสจนยอมให้ลาวประกาศเอกราชบางส่วน และได้เอกราชสมบุรณ์ในปี 1953 ภายหลังฝรั่งเศสแพ้เวียดนามที่เดียเบียนฟู ผุ้ที่มีบทบาทในการประกาศเอกราชคือ เจ้าสุวณณภูม เจ้าเพชรราช และเจ้าสภานุวงศ์ โดยมีเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ามหาชีวิต จากอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางเดิมและได้รวมทั้ง 3 อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ล้านช้างเวียงจันทน์ และล้านช้างจำปาศึกดิ์ เข้าด้วยกันเป็นราชอาณาจักรลาว ลาวอิดสะระ เป็นขบวนการต่อต้ารฝรั่งเศสเน้นชาตินิยมและไม่นิยมคอมมิวนิสต์
กัมพูชา เขมรอิสระ เป็นกลุ่มต่อต้านฝรั่งเศสและกลุ่มชาตินิยมเขมร ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2488 โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทยจุดประสงค์เพื่อต่อต้านการเป็ฯอาณานิคมของฝรั่งเศสและจัดตั้งรัฐเขมรที่เป็นเอกราชอย่างไรก็ตาม ภายในกลุ่มมีความแตกแยกทางความคิดมาก สุดท้ายทำให้สมาชิกแยกตัวออกไปสมาชิกของกลุ่มหลายคนมีบทบามสำคัญในสงครามกลางเมืองกัมพูชา
อินโดนีเซีย ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น ญี่ปุ่นอนุญาติให้ก่อตั้งศุนย์อำนาจของประชาชน ญี่ปุ่นตระหนักได้ว่างานจะสำเร็จได้จะต้องทำงานผ่านผุ้นำของคนพื้นเมือง กลุ่มผุ้นำชาตินิยม เป็ฯองค์การที่รวมนักชาตินิยมทั้งหมดไว้ ผุ้นคือ คฯต้นใบสามแฉก สีใบ คือพวกชาติยิยมชั้นนำ ได้แก่ ซุการ์โน, มุฮัมหมัด ฮัตตา, ฮัดยาร์ เทวัญ โตโร และผุ้แทนของความคิดแบบมุสลิมคือ กีอายี เอช เอ็ม มันซูร์ โดยองค์กรนี้ไดรับความเชื่อถืออย่างกว้างขวางที่จะนำไปสู่การเป็นชาติยนิยมอย่างแม้จริง
ต่อมาญี่ปุ่นรู้ว่าตนเป็นรองในสงครามท่าทีของญี่ปุ่นที่มีต่อขบวนการชาตินิยมเริ่มเปลีี่ยนไป ญี่ปุ่นสัญญาว่าจะให้เอกราชแก่ชาวอินโดนีเซีย ซุการ์โน ร่างกฎ 5 ข้อ ซึ่งญีปุ่นก็ไม่มีท่าที่ต่อต้านใดๆ
ในวันที่ 8 สิงหาคม 1945 หลังจากที่สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมณุครั้งแรกที่ฮิโรชิมา ซุการ์โน และฮัตตาบินไปยังศูนย์บัญชาการของญี่ปุ่นที่ไซง่อน วันที่ 11 ญี่ปุ่นยอมรับการยอมแพ้สงคราม และสัญญาว่าจะคืนเอกราชให้ในวันที่ 14 สิงหาคม เมื่อซุการ์โน และฮัตตาหลับจากไซ่ง่อน ได้ไม่กี่วันความหวาดหวั่นว่ากลุ่มต่างๆ ในหมู่ชนชั้นสูงอาจจะกีดกันความพยยามของกันและกัน ในขณะนั้นซุการ์ไนเป็ฯผุ้นำชาตินิยมที่มีผุ้รู้จักมากที่สุดและทรงอิทธิพลมากที่สุด มีควาสำคัญต่อการปรกาศเอกราชในขณะนั้น แต่ทว่าซุการ์โนยังรีรอ กระทั่งวันที่ 17 สิงหาคม จึงได้มีการประการเอกราช "เราประชาชนอินโดนีเซีย ขอประกาศเอกราชของประเทศอินโดนีเซีย ณ บัดนี้ เกรื่องเกี่ยวกับการโอนอำนาจและเรื่องอื่นๆ จะจัดการไปเป็นลำดับและให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้"
ฟิลิปปินส์ ขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็นสามระยะ ซึ่งในการจัดตั้งขบวนการชาตินิยมเองก็มีความขัดแย้ง คือ มีกลุ่มชาตินิยมปัญญาชนและกลุ่มชาตินิยมด้อยโอกาส การถึงแก่มรณกรรมของ โฮเซ่ ริชา เป็นมูลเหตุและแรงจูงใจอย่างมากต่อขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์
- www.satrit.up.ac.th/..,ประวัติศาสตร์สิงคโปร์
- "ประวัติเอเซึยตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป"
- www.kyotoreview.org, ทำความเข้าใจความเป็น "มาเลเซีย"
- digi.library.tu.ac.th/..,บทที่ 3 ขบวนการชาตินิยมของพม่า
- www.midnighttuniv.org พัฒนาการชาตินิยมเวียดนาม
- sites.google.com/..,ขบวนการลาวอิสระและเส้นทางสุ่เอกราชของลาว
- www.th.wikipedia.org.., เขมรอิสระ
- www.sac.or.th/..,อินโดนีเซีย-ประวัติศาสตร์
- www.gotoknow.org/..,ฟิลิปปินส์ : ขบวนการชาตินิยมของชาวฟิลิปปินส์
- "ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่ ลัทธิอาณานิคม ลัทธิชาตินิยมและการสลายตัวของลัทธิอาณานิคม"จอห์น แบสติน,แฮรี่ เจ.เบ็นดา
วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2560
Nationalism : Filipine
บทกวีที่โฮเซ่ ริซาลเขียนขึ้นในค่ำคือก่อนถูกประหาร
"คำอำลาสุดท้าย"(ถอดความจากภาษาเสน)
ลาก่อน แผ่นดินที่รักยิ่งของฉัน อินแดนแห่งดวงตะวันอันอบอุ่น
ไย่มุกแข่งทะเลบูรพา สวนอีเดนของพวกเรา
ด้วยความปิติ ฉันของมอบชีวิตที่แสนเศร้าและหมองมัวของฉันให้กับเธอ
และขอให้มันเจิดสรัสยิ่งขึ้น มีชีวิตชีวายิ่งขึ้นมากที่สุดเท่าที่มันจะมีได้
และเพื่อที่ฉันจะมอบมันหใ้กับเธอ เพื่อเธอจะได้มีความผาสุขชั่วกัปกัลป์
ในสนามรบท่ามกลางความรุนแรงของการต่อสู้
ผุ้คนมอบชีวิตให้กับเธอ โดยปราศจากความลังเลและความเจ็บปวด
ณ หนใด ไม่สำคัญ แท่นแห่งเกียรติยศ สถานที่อันศักดิสิทธิ
แดนประหาร ทุ่งร้าง เขตปรกปักษ์ หรือทัฒฑสถาน
มันไม่มีความแตกต่างกันเลย หากว่าเป็นความต้องการของมาตุภูมิ
ความตายของฉันเปรียบเสมือนแสงแรกแห่งอรุณ
และแสงเรื่องรองสุดท้ายของวารวัน ที่ส่องสว่างหลังจากค่ำคือนอันมือมน
ถ้าเธอต้องการสีเพื่อย้อมอรุณรุ่ง
รินเลือดของฉันแล้ว ระบายลงให้ทั่ว
จากนั้นจึงสาดส่องด้วยแสงแรกของแผ่นดิน
ความฝันของฉัน เมื่อแรกเติบใหญ่จากวัยเยาว์
ความฝันของฉันเมืองครั้งวัยแรกรุ่น เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังที่จะค้นหา
เพื่อที่จะได้พบกับเธอ อัญมณีแห่งทะเลบูรพา
ดวงตาที่ดำขลับ คิ้วที่รับกับหน้าผาก ปราศจากรอยขมวด
ใบหน้าที่เรียบลื่น และผุผ่องไร้รอยราคี
ชีวิตของฉันเต็มไปด้วยจินตนาการ ความเร่าร้อนของฉัน เปี่ยมไปด้วนแรงปรารถนา
มาเถิด! มันช่างแสนหวานที่จะได้เติมเต็มในสิ่งที่เธอต้องการ
ตายเพื่อกำเนิดชีวิตให้กับเธอ อยู่ใต้ฟ้าของเธอจนลมหายใจสุดท้าย
และอยู่ใต้ผืนดินที่มีมนต์ขลังของเธอ เพื่อหลับไปชัวนิรันดร์
หากวันใดเธอเห็นสายลมพัดอยู่เหนือหลุ่มศพของฉัน
สายลมที่ผ่านพัดดอกไม้ที่เอนลู่ท่ามกลางพงหญ้าที่รกร้าง
ขอเธอนำมันมาเคียงริมผีปาก และโปรดจุมพิตดวงจิตของฉัน
ใต้หลุมศพที่หนาวเย็น ฉันจะรับรู้ได้ผ่านสายลม
ลมหายใจที่อบอุ่นของเธอ สัมผัสแห่งความรักและอาทร
ขอให้ดวงจันทร์ทอแสงนวลใยโอบไล้ฉัน
ขอให้อรุณฉายทาทางแันด้วยแสงทองของวันใหม่
ขอให้สายลมผ่านพัดเสียงครวญคร่ำ
และถ้าจะมีนกมาเกาะที่ไม่กางเขนที่เหนือหลุมศพ
ขอให้มันขับขานเพลงแห่งสันตุสุขแด่เถ้ากระดูกของฉัน
ขอให้ดวงตะวันแผดเผาไอหมอกให้ลอยขึ้นสู่ฟ้า
และด้วยเสียงตระดกนไล่หลังของฉัน จะทำให้ท้องฟ้าแจ่มใส
ขอให้เพื่อหลังน้ำตาให้กับเป้าหมายในชีิวตของฉัน
และในตอนบ่ายที่เงียบสงบเมื่อใครสักคนหนึ่งสวดภาวนา
ฉันจะภาวนาไปพร้อมกัน โอ มาตุภูมิของฉัน ขอให้ฉันได้พำนักอยู่กับพระผุ้เป็นเจ้า
และโปรดภาวนาให้กับผุ้เคราะห์ร้ายที่ได้พรากจาก
ให้กับผุ้ที่ได้รับความทุกข์ยากจากความอยุติธรรม
ให้กับเหล่าแม่ขอเราที่ต้องร้องให้ด้วยความขมขื่น
ให้กับเหล่ากำพร้าและแม่หม้าย ให้กับผุ้ที่ถูกจับไปทัฒฑ์ทรมาน
ฉันจะภาวนาพร้อมกับเธอ เพื่อให้เธอได้รับการชำระบาปจากพระองค์
และเมื่อรัตติกาลที่มือมิดปกคลุมไปทั่วสุสาน
และมีเพียงผุ้ที่ตายจาก ทอดร่างอย่างสงบอยู่ ณ ที่แห่งนี้
อย่ารบกวนการพักผ่อนของพวกเขา อย่ารบกวนความสงบสุขขดชองพวกเขา
ถ้าเธอได้ยินเสียดีดสีธเธอร์หรือเสียงพิณดังแว่วมา
นั่นคือฉันเอง แผ่นดินที่รัก ฉันกำลังบรรเลงกลุ่มเธอ
และในวันที่หลุมศพของฉันถูกลืมเลือน
ปราศจากไมกางเขนหรือป้ายบอกชื่อเป็นที่สังเกตอีกต่อไป
ขอให้มันถูกกวาดถูกขุดรื้อทิ้งไป
และขอให้เุถ้ากระดูกของฉันผุพังสูญสลาย
กลายเป็นธุลีกลับคืนสู่ผืนแผ่นดิน
ไม่เป็นไรหรอกถ้าเธอจะลืมเลือนแันไป
ในอากาศในท้องฟ้า ในหุบเขา รอบตัวเธอ ฉันจะข้ามผ่าน
ฉันจะเป็นเสียงพิสุทธิ์สำหรับเธอ
กลิ่นที่หอม แสงสว่าง สีสันอันงดงาม เสียงกระซิบ บทเพลง เสียกรน
จะคอยย้ำแก่นแท้ของศรัทธาของฉันตลอดไป
มาตุภูมิที่รักยิ่งของฉัน ผุ้ซึ่งเสียใจกับควารมทุกข์ที่ฉันได้รับ
ฟิลิปปินส์ที่รัก โปรดได้ฟังการอำลาเป็นครั้งสุดท้ายจากฉัน
ฉันต้องจากทุกคนไปแล้ว พ่อ แม่ และเธอ ที่รักของฉัน
ฉันจะไปยังสภานที่ ที่ซึ่งไม่มีใครต้องเป็นทาส ไม่มีทรราชผุ้กดขี่
ทีซึ่งศรัทะาจะไม่ถูกทำลายและที่ซึ่งปกครองดดยพระผุ้เป็นเจ้า
ลาก่อนครับพ่อ ลาก่อนครับแม่ ลาก่อนพี่น้องที่รักทุกคน
เพื่อนสมัยยังเด็ก เพื่อในที่คุทขัง
ขอบคุณที่ฉันจะได้พ้นจากวันที่น่าเบื่อหน่าย
ลาก่อน ทุกคนที่ฉันผ่านพบ เพื่อนผุ้ซึ่งทำให้ชีวิตของฉันสดใสทุกคน
ลาก่อน ผุ้เป็นที่รักของฉันทุกคน
การตายคือการพักผ่อนนิจนิรันดร์
ปลายศตวรรษที่ 18 สเปนได้เปิดมะนิลาให้พ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาค้าขายไม่มช่เฉพาะชาวจีน ชาวสเปน และชาวละตินอเมริกา เหมือนเมื่อก่อน เปิดโอกาสให้อังกฤษ ฝรั่งเศสและดัทช์ เข้ามาทำให้หมู่เกาะฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากภายนอกและรู้ความเป็นไปของชาติตะวันตกต่างๆ มกขึ้นกว่าแต่ก่อน การค้าขยายตัวเจริญมากขึ้น พื่อค้าชาวฟื้นเมืองบางคนร่ำรวยขึ้น มีโอกาสส่งบุตรธิดาของตนเข้าไปศึกษาในยุดรป เมื่อมีคการเปิดคลองสุเอช ระยะเวลาการเดินทางระหว่างยุดรปกับฟิลิปปินส์สั้นลง การเดินทางสะดวกขึ้น
ชาวนาไม่มีสทิะิเป็นเจ้าของที่ดิน ที่ดินส่วนใหญ่เป็นของชนชั้นสูงและพวกพระเพราะกฎหมายสเปนห้ามชาวนาเป็นเจ้าของที่ดิน พระเสปนมีอภิสิทธิ์เหนือพระพื้นเมืองในการเลื่อนตำแหน่ง การกดดันทางการศึกษา เก็บค่าเล่าเรียนแพง
เม็กซิกแยกตัวจากสเปน และการปฏิวัติในสเปน
ที่กล่าวมานี้คือสาเหตุของการเกิดขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์ บรรดานักศึุกษาที่ไปพบเห็นระบบการปกครองในยุโรป เห็นว่าสเปนปกครองคนแตกต่างงไปจากระบบการปกครองในยุโรป ประชาชนไม่มีสทิธิและเสรีภาพ ทำให้กลุ่มนักศึกษาเร่ิมมีบทบาทในการเรียกร้องให้รัฐบาลสเปนปรับปรุงระบบการปกครองในฟิลิปปินส์ปรับปรุงสวัสดิการของคนให้ดีขึ้น
การต่อต้านการปกครองของสเปนแบ่งเป็น 3 ระยะ
- การกบฎและการต่ต้านระดับท้องถิ่นเกิดขึ้นอย่างประปรายยังไม่มีการรวมตัว
- ขบวนการโฆษณาหาเสียง มุ่งที่จะให้เกิดการปรับปรุง และการปฏิรูประหว่างปี ค.ศ. 1872-1892
- การปฏิวัติ 1892-1896
ระยะการกบฎ เนื่องจากประชาชนไม่พอใจในระบบการปกครองของสเปนที่ปกครองอย่างกดขี่ อยุติธรรมและคนพื้นเมืองต้องเสียภาษีหนัก และถูกเกณฑ์แรงงานโดยได้รับค่าตอบแทนน้อยจึงได้รวมตัวกันเฉพาะบางแห่งก่อกบฎต่าต้าน ยังไม่มีการรวมตัวกันอย่างจริงจังเป็นขบวนการชาตินิยม ระยะของการกบฎนี้เกิดขึ้นอย่างประปรายตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ซึ่งไม่ค่อยได้ผลเท่าไรนักเพราะขาดการรวมตัวที่ดีและถูกสเปนปราบอย่างรุนแรง
ระยะของขบวนการโฆษณาหาเสียง เนื่องจากการกบฎย่อยๆ บ่อยครั้งไม่ได้ผลเพราะขาดยุทธวิธีการรบที่ดี และขาดกำลังอาวุธทีทันสมัย และเนื่องมาจากการกบฎที่ คาวิท โดยทหารของขาวฟิลิปปินส์จำนวน 200 คนและคนงานประจำคลังสรรพาวุธไม่ได้ค่าจ้างตอบแทนโดยมีพวกพระให้ความร่วมมือด้วย เพราะมิได้รับความเสมอภาคในการแต่างตั้งตำแหน่งทางศาสนาและไม่มีเสรภาพในการแสดงความคิดเห็น กบฎครั้งนี้ถูกปราบปย่างราบคาบและถูกสเปนลงโทษอย่างรุนแรง มีทั้งจำคุก เนรเทศและประหารชีวิต ซึ่งในจำนวนผุ้ที่ถูกประหารชีวิตนี้มีพระชาวฟิลิปปินส์รวอยู่ด้วย ทำให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่ม
ปัญญาชนเกิดความไม่พอใจ มพวกปัญญาชนที่รวมมือในการกบฎครั้งนี้หลบหนีออกนอกประเทศ ไปฮ่องกง,สิงคโปร์,ญี่ปุ่นและยุโรป ได้จัดตั้งขบวนการชาตินยิม Propanganda MovenmentW ขึ้นเป็นครั้งแรกของชาวฟิลิปปินส์ ขบวนการที่ได้ดำเนินการเรียกร้องให้สเปนปฏิรูปการปกครองและความเป็นอยู่ของชาวฟิลิปปินส์ใหดีขึ้น และได้เรียกร้องสิทธิเสมอภาค เสรภาพในกรพูด การเขียน การออกหนังสือพิมพ์ และการชุมนุมกัน นอกจากนั้นก็ให้เก็บภาษีอย่างเป็นธรรม เพราะสเปนกับคนพื้นเมืองแตกต่างกัน ขอให้ชาวฟิลิปปินส์ได้มที่นั่งในสภานิติบัญญัติของสเปน พอให้พระชาวฟิลิปปินส์ไดดำรงตำแหน่งทางสงฆ์ได้บ้าง ขบวนการนี้นอกจากจะเสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ต่อสเปนแล้วยังสร้างความรู้สึกชาตินิยมให้กับคนพื้นเมืองอีกด้วย โดยเน้นความสำคัญของวรรณคดีและภาษาตากาล็อค ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองของชาวฟิลิปปินส์ ตลอดจนพยายามสร้างความเป็ฯอันอนึ่งอันเดี่ยวกันของชาติขึ้นมา กลุ่มผุ้นำของขบวนการ นี้ประกอบด้วย ดร.ริซาล, มาร์เซโล เดล ปิลาร์ และแกรซิโน โลเปซ แจน่า สำหรับ โฮ่เซ่ ริซล ซึ่งเป็นผุ้นำของขบวนการที่สำคัญที่สุด จบการศึกษาขึ้นต้นจากโรงเรียนของเยซูอิด ในมะนิลาและไปศึกษาต่อที่สเปน ได้รับปริญญาทางการแพทย์ เขามีความสามารถในการเขียนและมองเห็นปัญหาของชาวฟิลิปปินส์ ต้องการที่จะแก้ไขฐานะความเป็ฯอยู่ของชาวฟิลิปปินส์ งานเขียนของเขาที่เบอร์ลินบรรยายถึงความเดือดร้อยยากลำบากของชาวฟิลิปปินส์ ภายใต้การปกครองของสเปน และอีก 4 ปี ต่อมาเขาก็ได้เขียนงานออกมาอีก ซึ่งโจมตีกฎเกณฑ์ของสถาบันศาสนาสเปน
การปฏิวัติ หลังจากริซาลถูกส่งตัวไปอยู่ ดาปิตันบนเกาะดามินเนาแล้ว บทบาททางการเมืองของเขาต้องหยุดลง ขบวนการชาตินิยมของเขาก็หยุดลงและกระบอกเสียงหรือหนังสือพิมพ์ต้องยุติลงไปด้วย นักชาตินิยมเริ่มมองเห็นว่าการเรียกร้องโดยสันติวิธีนั้นไม่ได้ผล เห็นว่าควรจะใช้การปฏิวัติแทนการเรียกร้องจะดีกว่า ดังนั้น จึงมีการจัดตั้งสมาคมลับขึ้นในมะนิลา เรียกว่าขบวนการ Katipunan แปลว่าชวนการที่เคารพสูงสุดของพวกฟิลิปปินส์มีเป้าหมายคือ เรียกร้องเอกราชโดยใช้กำลังและรวมชาวฟิลิปปินส์ให้เป็นอันเหนึ่งอนเดียวกัน โดยมีผุ้นำคือ บอนนิฟาซิโอ Andres Bonifacio เป็นเด็กกำพร้าและเรียนด้วยตัวเอง ทำงานเป็นเสมียนอยุ่ที่กรุงมะนิลา เขาต้องการที่จะรวมพวกกาติปูนัน ซึ่งเป็นชนชั้นผุ้น้อยด้อยการศึกษา ขาดทุนทรัพย์ และอิทธิพลเข้ากับพวก อิลบุสทราดอส ซึ่งเป็นพวกปัญญาชนชั้นสุง เพื่อรวมพลังของขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์อยู่แล้ว บอนนิฟาซิโอได้ของความเห็นและความร่วมมือจาก โฮเซ่ ริซาล ซึ่งริซาลไม่เห็นด้วยที่จะทำการปฏิวัต โดยชี้ให้เห็นว่ายังมีการเตียรมการไม่ดีพอ เช่น กำลังคนและอาวุธมีน้อย และริซาลเห็นว่าการปฏิวัติควรมาจากชนชั้นสุงที่เป็นปัญญาชน ในระหว่างนั้น รัฐบาลสเปนได้ทำการกวาดล้างจับกุมพวกขบวนการกาติปูนัน รวมทั้งตัวบอนนิฟาซิโอเองก็ถูกตามล่า บอนนิฟาซิโอจึงไม่สามารถจะรอคอยต่อไปได้ และทำการปฏิวัติ การปฏิวัติลุกลามไปทั่ว ทางรัฐบาลสเปนได้จับ โฮเซ่ ริซาล ขณะเดินทางไปคิวบา โดยอ้างว่าเขาเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิวัติครั้งนี้ขึ้น เป็นการบ่อนทำลายการปกครองของสเปนในฟิลิปปินส์ แม้ริซาลจะปฏิเสธ แต่รัฐาลสเปนก็ไม่รับฟัง และทำการประหารเขาในปี 1896
การตายของโฮเซ่ ริซาลทำให้กลุ่มปัญญาชนไม่อพใจและหันไปให้ความร่วมมือกับพวกกาติปูนัน ทำการต่ต้านสเปนอย่างรุนแรงมากขึ้น และได้ผุ้มีความสามารถทางการทหารมาเป็นผุ้นำในการปฏิวัติ คือ อากินาลโด Emilio Aguinado ทำให้ได้รับชัยชนะหลายครั้งและสามารถตั้งรัฐบาลขึ้นได้ที่ ทีจีรอส ในปี 1897 อากินาลโดได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี และเกิดการแตกแยกกับบอนนิฟาซิโอ ซึ่งแยกไปจัดตั้งรัฐบาลของตน แต่ถูกรัฐบาลปฏิวัติของอากินาลจับได้และประหารชีวิต ทำใหขบวนการชาตินิยมของฟิลิปปินส์แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ กลุ่มปัญญาชน และกลุ่มชันชั้นผุ้น้อย การดำเนินการต่อต้านรัฐบาลสเปนจึงไม่ค่อยได้ผล ทางสเปนได้เปลี่ยตัวผุ้นำซึ่งเป็นผุ้ชอบการประนีประนอม และเกิดการปฏิวัติในคิวบาืสเปนจึงหันมาเจรจากับอากินาลโด และตกลงทำสัญญา แต่การทำสัญญาล้มเหลวเมื่อรัฐบาลสเปนไม่ทำตามสัญญา การต่อสู้จึงเริ่มขึ้นใหม่ในปี 1890 พวกปฏิวัติได้ผุ้ทางการทหารคนใหม่คือ พรายพล ฟรานซิโก้ มากาบูลาส และตั้งรรัฐบาลใหม่ขึ้นที่ลุซอน พอดีกับเกิดสงครามระหว่างสะเปนกำับสหรัฐอเมริกา มะนิลาถูกสหรัฐยึดได้ในวันที่ 1 พฤษภาคม 1898
ฟิลิปปินส์ภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ในขณะที่สเปนทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา อเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือขบวนการชาตินิยมในฟิลิปปินส์ ทำให้อากินาลโดและพรรคพวกได้กลับเข้าฟิลิปปินส์อีกครั้ง และได้เเข้ารวมกับกลุ่มปัญญาชนเป็นผุ้นำจนสามารถจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ มาโลลอส เตรียมการจะประกาศเอกราชโดยหวังว่าสหรัญฯจะยินยอม ในระยะแรกอเมริกา ลังเลที่จะเข้าปกครองฟิลิปปินส์ ทางวอชิงตันส่งคณะกรรมมาธิการ 5 คน มาทำรายงานเกียวกับเรื่องนี้ และทำบันทึกเสนอต่อประธานาธิบดี แมคคินลีย์ว่า ประชาชนฟิลิปปินส์มีความต้องการจะได้เอกราช แต่ว่าประชาชนฟิลิปปินส์ยัวงไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง ดังนั้นสภาสูงของสหรัฐฯได้ตัดสินในให้สเปนยินยอมมอบฟิลิปปินส์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของอเมริกาต่อไป และได้ลงนามกันในสนธิสัญญาปารีส
การประกาศเข้าครอบครองฟิลิปปินส์ ของสหรัฐฯทำให้กลุ่มปฏิวัติและกลุ่มปัญญาชนประกาศสงครามต่อต้านสหรัฐอเมริกา แต่ก็ถูกสหรัฐฯปราบได้อย่างราบคาบ สหรัฐฯเปิดโอกาสให้ชาวฟิลิปปินส์ที่มีการศึกษาเข้ารับหน้าที่ต่างๆ แทนข้าราชการสเปนทำให้พวกปัญญาชนวางอาวุธเข้ากับสหรัฐฯ พวกด้อยการศึกษก็ถูกปราบได้ ขบวนการชาตินิยมของฟิลิปปินส์ในระยะที่สหรัฐอเมริกาเข้าปกครองได้คลายความรุนแรงลง
สหรัฐฯวางรากฐานประชาธิไตยในฟิลิปปินส์ ปรับปรุงระบบการศึกษาภาคบังคับ ล้มศษสนจักรของสเปน และตั้งศาสนจักรใหม่ประจำชาติฟิลิปปินส์ขึ้น โดยวาติกันให้การรับรอง จัดตำแหน่งต่างๆ ทางศาสนาให้เป็นพระฟิลิปปินส์และวเนคือที่ดินของพระสเปนจัดสรรให้ประชาชน
สงครามโลกครั้งที่ 2 ญ๊่ปุ่นเข้ายึดฟิลิปปินส์ ชาวฟิลิปปินส์ส่วนหนึ่งที่อยากได้เอกราชก็ให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่น รัฐบาลเครือจักรภพของฟิลิปปินส์หนีไปออกสเตรเลีย ต่อมาสหรัฐได้จัดตั้งรัฐบาลพลัดถ่ินให้ที่กรุงวอชิงตัน ระหว่างที่ญีุ่ปุ่น ยึดครองฟิลิปปินส์ได้มีกลุ่มชาวนาที่ไม่พอใจทำการต่อต้านญีปุ่นเป็นกองโจรฮุกบาลาฮับ ซึ่งมีพวกคอมมูนิสต์รวมอยู่ด้วย และสามารถตั้งกองบัญชาการในกาลางเกาะลูซิน.. นายพลแมคอาเธอร์ มีชัยชนะเหนือญี่ปุ่น ยกพลขึ้นบกที่เลเต้ และให้มีการเลื่อกตั้งทั่วไปในปี 1946 ฟิลิปปินส์ก็ได้เอกราช โดยมีนายมานูเอล โรซาส ได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีครแรกของฟิลิปปินส์ โดยสหรับอเมริกาสัญญาว่าจะถอนทหารและฐานทัพเรือออกไป..
- spriezelo.blogspot.com "โฮเซ่ รีซัล วีรบุรษของชาวฟิลิปปินส์
- "ประวัติศาสตร์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป", ผศ. ศิวพร ชัยประสิทธิกุล
-
วันพุธที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2560
Nationalism : “Nusantara”
“Nusantara”นูสันตารา หรือ "หมู่เกาะในภูมิภาคมลายู" ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่คาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตรา กาลิมันตัน เรื่อยไปจนถึงปมู่เกาะทั้งหมดที่เป็นพื้นที่ของประเทศมาเลเซย บรูไน สิงคโปร์และอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และภาคใต้ของไทย
แนวคิด นูสันตาราสะท้อนให้เห็นถึงความใกล้ชิดและการเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร คำว่า นูสันตารา เป็นคำที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรมัชปาหิต ซึ่งปรากฎอยุ่ในพงศาวดารชวา ซึ่งเป็นหนังสือที่ค้นพบที่เกาะบาหลี ในศตวรรษที่ 9 หนังสือเล่มเขียนในสมัยอาณาจักรมัชปาหิต มีความตอนหนึ่งได้กล่าวถึง กาจาห์ มาดา ผุ้นำทางทหารผุ้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นอัครมหาเสนาบดีโดยราชินีแห่งอาณาจักรมัชปาหิต กาจาห์มาคาได้ให้สัตยาบันต่อนหนึ่งไว้ว่า "ข้าจะงอเว้นความสุขทางโลกทั้งมวล จนว่าข้าจะทำให้ นูสันตาราเป็นหนึ่งเกี่ยวกัน และยังกล่วว่า "ถ้าสามารถเอาชนะหมู่เกาะฝั่งตรงข้ามได้แล้วข้จะพักผ่อน" กล่าวคือ เป็นเมืองต่างๆ ที่อยู่ล้อมรอบอาณาจักรมัชปาหิตและอาณาจักมัชปาหิตเป็นสูนย์กลางของอินแดนต่างๆ หล่านี้ ดังนั้น "นุสันตารา"ในสมัยอาณาจักมัชปาหิตจึงหมายถึงดินแดนต่างๆ หรือเกาะรอบนอกของเกาะชวานั่นเอง
ในปี 1920 ดร.เซเทียบูดิ ได้เสนอชื่อของประเทศอินโดนีเซีย ชื่อที่เขาเสนแนั้นคือ นูสนตารา โดยได้กล่าว่าความหมายของคำว่า "นูสันตารา" ในสมัยมัชปาหิตเป็นการให้ความหมายแบบชาตินิยม แต่การให้ความหมายนี้เขากล่าวว่า "antara" มีความหมายในภาษามลายูว่า "ระหว่าง" ดังนั้นคำว่า "Nusantara"ในความหมายนี้จึงหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ระหว่างสองทวีป สองมหาสมุทร ซึ่งจะทำให้เกาะชวาของอินโดนีเซียเป็นส่วนหนึ่งของอินแดนดังกล่าวด้วย
ในช่วงขบวนการต่อสู้เพื่อเอกราชของอินโดนีเซียนี้เอง มีข้อเสนอให้มีการจัดตั้ง "มหาอาณาจักรอินโดนีเซีย"ซึ่งเหล่าบรรดานักชาตินิยมต่างๆ ได้วางโครงการประเทศอินโดนีเซียที่ประกบด้วยดินแดนมาเลเซียและดินแดนของประเทสอื่นๆ ถ้าเป็นไปได้ที่กล่าวมานี้ หมายถึง "นูสันตารา" หมู่เกาะอินโดนีเซียทั้งหมดในอดีต หรือ ดินแดนอินโดนีเซียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งอินโดนีเซียเป็นทายาทอันชอบธรรมที่จะไ้รับอินแดนต่างๆ นอกจากนี้ ยังหมายถึงว่าอินโดนีเซียจะรวมดินแดนที่เคยอยู่ได้การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ท้งหมดและรวมถึงรวมอินแดนของอังกฤษนมาลายาและบอร์เนียวเข้ด้วยกันกับอนิโดนีเซียอีกด้วย
นอกจากนั้นแ้วยังได้มีการอธิบายคำว่า "นูสันตารา"ในพื้ที่ทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับกระแสอิสลามนิยมนั่นก็คือ ดินแดนของผุ้คนที่นับถือศาสนาอิสลามที่ครอบคลุมพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับการะแสอิสลามนิยมนั่นก็คือ ดินแดนของผุ้คนที่นับถือศสนาอิสลามที่ครอบคลุมพื้นทีทุกประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรรวมไปถึงบรรดาผุ้นำศาสนาที่มีบทบาทในการต่อสู้ปกป้องชุมชนมุสลิมบนดินแดนภาคพื้นสมุทรจากการรุกรานของอาณานิคมตะวันตก เช่นปาไซ มะละกา ชวาและที่อื่นๆ บุคคลเหล่านั้นได้รับการอธิบายว่าเป็นวีรบุรุษของ "นูสันตารา" ในฐานะผุ้ปกป้องศาสนาอิสลาม เช่นในกรณีของหะยีสุหลง อับดุล กาเอร์ ผุ้นำมลายูผุ้เรยกร้องสิทธิให้กับชาวปัตตานีจากสยาม ชื่อของ อัจญี สุหลง อับดุล กาเดร์ ก็ยังคงได้รับการเคารพและยอมรับไม่ใช่แค่ในหมู่คนในปัตตานีเท่านั้น แต่ยังรวมถึงกลุ่มอิสลามนิยมในคาบสมุทรมลายูและสุมาตราอีกด้วย อิทธิพลของศาสนาอิสลามทำให้ความปลากหลายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรลดลง มีแบบแผนบางประการร่วมกนเกิดขึ้น และยังเป็นพลังขับเคลื่อนทางวัฒนธรรมในรูปแบบอื่นๆ อีกด้วย
"นูสันตารา" ในความหมายที่กล่าวมาข้างต้นนั้นไม่ว่าจะป็นความหมายใด ก็ไม่อาจจะกำหนดขอบเขตที่แน่นอนในทางภูมิศาสตร์ ไม่มีเส้นแบ่งเขตอำนาจอธิปไตยอย่างชัดเจน และมีอาณาเขตที่กว้างไกลกว่าอาณาเขตของรัฐชาติต่างๆ ของภาคพื้นสมุทรในปัจจุบัน ซึ่งสิ่งดังกล่าวเหล่านี้สามารถที่จะทำให้มองเห็นภาพของความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันในพื้นที่บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการตอกย้ำแนวความคิดการเป็นเจ้าของในรัฐภาคพืนสมุทรของอินโดนีเซียและมาเลเซียได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
แน่นอนว่าความเข้าใจ เรื่อง "นูสันตารา" ของทังสองประเทศจึงอยู่ในสภาพที่มีความทับซ้อนกันอยู่มาก เราจะพบว่าภายหลังจากได้รับเอกราชแล้ว "นูสันตารา" ได้กลายมาเป็นเครื่องมือทางการะมืองของเหล่าบรรดานักชาตินิยมในการปลุกกระแสชาตินิยม เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้กับประเทศ และยังถูกใช้แสดงอำนาจความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนและวัฒนธรรมต่างๆ อยู่เสมอ
ความเข้าใจเรื่อง "นูสันตารา" นำมาสู่สำนึกความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนของทั้งสองประเทศรวมทั้งฟิลิปปินส์ด้วย และได้นำมาสู่การประจันหน้ากันระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซียภายหลงจากการที่มีความพยายามที่จะสร้างสหพันธ์มาเลเซียขึ้นมาดดยดึงเอาซาบาห์และซาราวักเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
ความขัดแย้งในการอ้างสิทธิความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนทั้งทางบกและทางทะเลระหว่างมังสองประเทศก็มีอยู่บ่อยครั้ง เช่น กรณีพิพาทในบริเวณหมู่เกาะชีปาดัน และลีกีตัน ที่เป็ฯปัญหาชายแดและอธิปไตยของประเทศ ซึ่งทั้งสองประเทศต่างอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนดังกล่าว ทางอินโดนีเซียได้อ้างถึงข้อตกลงเส้นเขตแดนระหว่งอังกฤษกับดัตช์ ว่าด้วยการแบ่งสรรดินแดนบริเวณเกาะกาลิมันตัน .ึ่งหากยึดข้อตกลงตามนั้นเมือลากเส้นพรมแดนระหว่างสองประเทศที่เกาะเซบาติกและลีกีตันจะอยู่ใฝั่งเนเธอร์แลนด์และควรที่จะเป็นของอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราช ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือของเกาะเซบาติกจะเป็นของอังกฤษ ส่วนพื้นที่ทางมาเลเซียนั้นอ้างว่าเกาะทั้งสองควรเป็นของมาเลเซียมากกว่าเนื่องจากเกาะทั้งสองเป็นมรดกตกทอดมาแต่สมัยสุชต่านซูลู หลังจากนั้นก็ตกทอดไปสู่มือสเปน และอังกฤษก็ได้เข้าครอบครองในที่สุด อย่างไรก็ดี จากปัญหาของพิพาทดังกล่าวหากใช้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะพบว่าดินแดนของเกาะทั้งสองนี้เป็นของประเทศมาเลเซีย
ปัญหาความทับซ้อนระหว่างมาเลเซียอินโดนีเซียนั้นยังได้ลุกลามบานปลายไปจนถึงเรื่องวัฒนธรรม เนื่องจากภายหลังจากยุคอาณานิคมแล้วรัฐชาติที่เกิดขึ้นทังสองนี้เป็นการเกิดขึ้นโดยการสร้างพรมแดนทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดใหม่ทับลงพบพรมแดนทางสังคม และงฒนธรรมที่มีอยุ่ร่วมกัน ในกรณีของ "วัฒนธรรมมลายู" การทับซ้อนของวัฒนธรรมจะโดเด่นเป็นพิเศษ เนื่องจากวัฒนธรรมมลายูเป็นรุปแบบของวัฒนธรรมที่ปรกกฎอยู่ในทังสองประเทศมีรูปแบบทางวัฒธรรมที่คบ้ายคลึงกันและมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ร่วกัน และหากพูดถึงวัฒนธรรมมลายูนั่นไม่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นวัฒนธรรมของประเทศใด เพราะหากนำเอาความเป็นชาติพันธหรือรากของภาษาเป็นตัวตั้งแล้วนั้นขอบเขตของโลกมลายูจะมีขอบเขตที่กว้างขวางขยายไปทั่วลบริเวณคาบสมุทรและกลุ่มเกาะรวมถึงตอนใต้ของไทยด้วยเนื่องจากพื้นที่ทางการเมืองกบพื้นที่ทางด้านวัฒนธรรมมันแยกออกจากกัน
จึงเป็นการขึดเส้นเขตแดนทางการเมืองลงบนเขตแดนทางวัฒนธรรมที่ผุ้คนเดคยเดินทางข้ามไปข้ามาได้หรือ มีการเคลื่อนย้ายผุ้คนระหว่างกันอยู่ตลอดเวลา จนในที่สุดความทับซ้อนดักลาวได้กลายเป็นปัญหาชนชาตินิยมแบ่งเขา เบ่งเรา เพือที่จะได้รับช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรทางการเมือง สังคม และวัตถุต่างๆ ดังนั้น อัตลักษณ์ทางชาติพันธ์หรือการรวมกลุ่มทางชาติพันะ์จึงถุกนำมาใช้เพื่อทำให้ตนและกลุ่มตนบรรลุความต้องการในเรื่องผลประดยชน์และก่อให้เกิดสำนึกแห่งกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของทางด้านวัฒนธรรมในหมู่ผุ้คนของทั้งสองประเทศเฉกเช่นเดี่ยวกับปัญหาการอ้างสิทธิเหนืดินแดนต่างๆ
การอ้างสิทธิกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศนั้นเกิดขึ้นในหลายกรณี เช่น กรณีพิพาทเรื่องเพลง ราซา ซาแยง ที่กระทรวงการท่องเที่ยวของมาเลเซียนั้นได้นำเสนอในการโปรโมทการท่องเที่ยวของประเทศ รัฐมนตรีการท่องเที่ยวของมาเลเซียได้กล่าวว่าเป็นเพลงของคาบสมุทรมลายุ ในขณะที่ผุ้ว่าการจังหวัดมาลูกูของอินโดนีเซียได้กล่าวว่า เป็นเพลงของชาวโมลุกูของอินโดนีเซียและอินโดนีเซียจะรอบรวมหลักฐานมาเพื่อเป็นการยืนยันการเป็นเจ้าของ ซึ่งจริงแล้วนั้น เพลงนี้เป็นเพลงพื้นเมืองอันเก่าแก่ของชาวมลายูดังจึงไม่แปลกที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเหตุผลต่างๆ เพื่อแสดงถึงความเป็นเจ้าของบทเพลงนี้
ผ้าบาติก ซึ่งเป็นความทับซ้อนทางวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่มีร่วมกันมาอย่างยาวนานของผุ้คนครอบคลุมพื้นที่หลายๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรซึ่งวัฒนธรรมการผลิตผ้าบาติกนี้ได้ถูกอธิบายโดยศาสตรจารย์ไมเคิล ฮิทช์ค๊อด แห่งมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ว่าการผลิตผ้าบาติกที่เป็นวัมนธรรมของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมนั้นจำแนกออกเป็น 2 สายใหญ่ของโลก สายหนึ่งมาจากหมู่เกาะชวา และอีกสายหนึ่งมาจากหมู่เกาะสุมาตรา มาเลเซีย และรอบๆ ชายแดนของมาเลเซีย ซึ่งก็ยากที่จะตัดสินว่าส่วนใดที่มีอายุเก่าแก่หว่ากัน จะเห็นได้ว่าทั้งสองประเทศมีความใกล้ชิดกันทางวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก
จะเห็นได้ว่ามาเลเซียกับอินโดนีเซียเป็นประเทศเพื่อบ้านที่มีความกล้ชิดกนทางด้านูมิศาสตร์และวัฒนธรรมแต่ความใกล้ชิดแฝงไปด้วยความขัดยแย้งระหว่างกัน นับต้งแต่พัฒนาเป็นรัฐสมัยใหม่ขึ้นมา โดยเฉพาะประเด็นปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้อน ข้อพิพาทเรื่องการอ้างสิทธิเหนือดินแดนและยังลุกลามไปจนถึงปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
ความตึงเครียดในความสัมพันธ์ระหว่งมาเลเซียและอินโดนีเซียเกิดขึ้นเนื่องจากเรื่องของนโยบายและผลประโยชน์แห่งชาติ ซึ่งเป็นเรื่องที่แต่ละรัฐต่างต้องนิยามกันเอง เพราะแต่ละรัฐนั้นมีสภาวะและองค์ประกอบยบ่อยที่มีความแตกต่างกน ดังนั้นรัฐแต่ละรัฐบ่อมต้องพยายามทุกวิธีเพื่อที่จะดำรงรักษาผลประโยชน์ของชาติตนตามที่ไดนิยามวไว้ให้ได้
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในทางภูมิศาสตร์ การมีจุดร่วมกันในทางเชื้อชาตแ ศาสนา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมในโลกมลายู เป็ฯสาเหตุหนึ่งที่ก่อความขัดแย้ง ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดรเรื่องพื้นที่และาณาบริเวณ หรือ "นูสันตารา" ที่มีร่วมกันของผุ้คนที่อยุ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรได้นำมาสู่สำนึกแ่งกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของในหมู่ผู้คนของทั้งสองประเทศท้ายที่สุดก็ก่อให้เกิดปัญหาข้อพิพาท ทั้งประเด็นปัญหาการอ้างสิทธิเหนือดินแดนต่างๆ และยังลุกลามไปจนถึงเรื่องของวัฒนธรรม
ความเข้าใจ เรื่อง "นูสันตารา" ของทั้งสองประเทศจึงอยู่ในภาพที่มีความทับซ้อนกันอยู่มาก จนกระทั่งภายหลังจากได้รับเอกราช เป็นการเกิดขึ้นจากการสร้างพรมแดนทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดใหม่ทับลงบนพรมแดนทางสังคม และวัฒนธรรมที่มีอยู่ร่วมกันนั่นคือ "วัฒนธรรมมลายู" ซึ่งมีของเขตที่กว้างขวางขยายไปทั่วบริเวณคาบสมุทรและกลุ่มเกาะรวมถึงตอนใต้ของไทย เมื่องเกิดพรมแดนรัฐชาติชึ่งมันเกิดที่หลัง มันเกิดการขีดเส้นแบ่งพื้นที่และแน่นอนว่าการสร้างตัวตน หรือ อัตลักษณ์ของรัฐชาติที่เกิดขึ้นใหม่นี้ย่อมเกิดผ่านการสร้างสำนึกทางประวัติศาสตร์ที่มีความเหลื่อมล้ำทับซ้อนกันอยุ่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์และวัฒนธรรมจนในที่สุดความทับซ้อนดังกล่าวได้กาลายเป็นปัญหาชนชาตินิยม แบ่งเค้า แบ่งเรา การแย่งชิงเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติของตน ดังนั้นเราจะพบว่าต่อมาความเข้าใจในเรื่อง "นูสันตารา" ได้กลายเป็นเครื่องมือในทางการเมืองของเหล่าบรรดานักชาตินิยมในการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อแสวงหาผลประดยชน์ให้กับประเทศและยังถุกใช้แสดงอำนาจความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนและวัฒนธรรมต่างๆ อยู่เสมอ
แนวคิด นูสันตาราสะท้อนให้เห็นถึงความใกล้ชิดและการเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร คำว่า นูสันตารา เป็นคำที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรมัชปาหิต ซึ่งปรากฎอยุ่ในพงศาวดารชวา ซึ่งเป็นหนังสือที่ค้นพบที่เกาะบาหลี ในศตวรรษที่ 9 หนังสือเล่มเขียนในสมัยอาณาจักรมัชปาหิต มีความตอนหนึ่งได้กล่าวถึง กาจาห์ มาดา ผุ้นำทางทหารผุ้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นอัครมหาเสนาบดีโดยราชินีแห่งอาณาจักรมัชปาหิต กาจาห์มาคาได้ให้สัตยาบันต่อนหนึ่งไว้ว่า "ข้าจะงอเว้นความสุขทางโลกทั้งมวล จนว่าข้าจะทำให้ นูสันตาราเป็นหนึ่งเกี่ยวกัน และยังกล่วว่า "ถ้าสามารถเอาชนะหมู่เกาะฝั่งตรงข้ามได้แล้วข้จะพักผ่อน" กล่าวคือ เป็นเมืองต่างๆ ที่อยู่ล้อมรอบอาณาจักรมัชปาหิตและอาณาจักมัชปาหิตเป็นสูนย์กลางของอินแดนต่างๆ หล่านี้ ดังนั้น "นุสันตารา"ในสมัยอาณาจักมัชปาหิตจึงหมายถึงดินแดนต่างๆ หรือเกาะรอบนอกของเกาะชวานั่นเอง
ในปี 1920 ดร.เซเทียบูดิ ได้เสนอชื่อของประเทศอินโดนีเซีย ชื่อที่เขาเสนแนั้นคือ นูสนตารา โดยได้กล่าว่าความหมายของคำว่า "นูสันตารา" ในสมัยมัชปาหิตเป็นการให้ความหมายแบบชาตินิยม แต่การให้ความหมายนี้เขากล่าวว่า "antara" มีความหมายในภาษามลายูว่า "ระหว่าง" ดังนั้นคำว่า "Nusantara"ในความหมายนี้จึงหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ระหว่างสองทวีป สองมหาสมุทร ซึ่งจะทำให้เกาะชวาของอินโดนีเซียเป็นส่วนหนึ่งของอินแดนดังกล่าวด้วย
ในช่วงขบวนการต่อสู้เพื่อเอกราชของอินโดนีเซียนี้เอง มีข้อเสนอให้มีการจัดตั้ง "มหาอาณาจักรอินโดนีเซีย"ซึ่งเหล่าบรรดานักชาตินิยมต่างๆ ได้วางโครงการประเทศอินโดนีเซียที่ประกบด้วยดินแดนมาเลเซียและดินแดนของประเทสอื่นๆ ถ้าเป็นไปได้ที่กล่าวมานี้ หมายถึง "นูสันตารา" หมู่เกาะอินโดนีเซียทั้งหมดในอดีต หรือ ดินแดนอินโดนีเซียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งอินโดนีเซียเป็นทายาทอันชอบธรรมที่จะไ้รับอินแดนต่างๆ นอกจากนี้ ยังหมายถึงว่าอินโดนีเซียจะรวมดินแดนที่เคยอยู่ได้การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ท้งหมดและรวมถึงรวมอินแดนของอังกฤษนมาลายาและบอร์เนียวเข้ด้วยกันกับอนิโดนีเซียอีกด้วย
"นูสันตารา" ในความหมายที่กล่าวมาข้างต้นนั้นไม่ว่าจะป็นความหมายใด ก็ไม่อาจจะกำหนดขอบเขตที่แน่นอนในทางภูมิศาสตร์ ไม่มีเส้นแบ่งเขตอำนาจอธิปไตยอย่างชัดเจน และมีอาณาเขตที่กว้างไกลกว่าอาณาเขตของรัฐชาติต่างๆ ของภาคพื้นสมุทรในปัจจุบัน ซึ่งสิ่งดังกล่าวเหล่านี้สามารถที่จะทำให้มองเห็นภาพของความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันในพื้นที่บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการตอกย้ำแนวความคิดการเป็นเจ้าของในรัฐภาคพืนสมุทรของอินโดนีเซียและมาเลเซียได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
แน่นอนว่าความเข้าใจ เรื่อง "นูสันตารา" ของทังสองประเทศจึงอยู่ในสภาพที่มีความทับซ้อนกันอยู่มาก เราจะพบว่าภายหลังจากได้รับเอกราชแล้ว "นูสันตารา" ได้กลายมาเป็นเครื่องมือทางการะมืองของเหล่าบรรดานักชาตินิยมในการปลุกกระแสชาตินิยม เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้กับประเทศ และยังถูกใช้แสดงอำนาจความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนและวัฒนธรรมต่างๆ อยู่เสมอ
ความเข้าใจเรื่อง "นูสันตารา" นำมาสู่สำนึกความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนของทั้งสองประเทศรวมทั้งฟิลิปปินส์ด้วย และได้นำมาสู่การประจันหน้ากันระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซียภายหลงจากการที่มีความพยายามที่จะสร้างสหพันธ์มาเลเซียขึ้นมาดดยดึงเอาซาบาห์และซาราวักเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
ความขัดแย้งในการอ้างสิทธิความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนทั้งทางบกและทางทะเลระหว่างมังสองประเทศก็มีอยู่บ่อยครั้ง เช่น กรณีพิพาทในบริเวณหมู่เกาะชีปาดัน และลีกีตัน ที่เป็ฯปัญหาชายแดและอธิปไตยของประเทศ ซึ่งทั้งสองประเทศต่างอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนดังกล่าว ทางอินโดนีเซียได้อ้างถึงข้อตกลงเส้นเขตแดนระหว่งอังกฤษกับดัตช์ ว่าด้วยการแบ่งสรรดินแดนบริเวณเกาะกาลิมันตัน .ึ่งหากยึดข้อตกลงตามนั้นเมือลากเส้นพรมแดนระหว่างสองประเทศที่เกาะเซบาติกและลีกีตันจะอยู่ใฝั่งเนเธอร์แลนด์และควรที่จะเป็นของอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราช ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือของเกาะเซบาติกจะเป็นของอังกฤษ ส่วนพื้นที่ทางมาเลเซียนั้นอ้างว่าเกาะทั้งสองควรเป็นของมาเลเซียมากกว่าเนื่องจากเกาะทั้งสองเป็นมรดกตกทอดมาแต่สมัยสุชต่านซูลู หลังจากนั้นก็ตกทอดไปสู่มือสเปน และอังกฤษก็ได้เข้าครอบครองในที่สุด อย่างไรก็ดี จากปัญหาของพิพาทดังกล่าวหากใช้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะพบว่าดินแดนของเกาะทั้งสองนี้เป็นของประเทศมาเลเซีย
ปัญหาความทับซ้อนระหว่างมาเลเซียอินโดนีเซียนั้นยังได้ลุกลามบานปลายไปจนถึงเรื่องวัฒนธรรม เนื่องจากภายหลังจากยุคอาณานิคมแล้วรัฐชาติที่เกิดขึ้นทังสองนี้เป็นการเกิดขึ้นโดยการสร้างพรมแดนทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดใหม่ทับลงพบพรมแดนทางสังคม และงฒนธรรมที่มีอยุ่ร่วมกัน ในกรณีของ "วัฒนธรรมมลายู" การทับซ้อนของวัฒนธรรมจะโดเด่นเป็นพิเศษ เนื่องจากวัฒนธรรมมลายูเป็นรุปแบบของวัฒนธรรมที่ปรกกฎอยู่ในทังสองประเทศมีรูปแบบทางวัฒธรรมที่คบ้ายคลึงกันและมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ร่วกัน และหากพูดถึงวัฒนธรรมมลายูนั่นไม่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นวัฒนธรรมของประเทศใด เพราะหากนำเอาความเป็นชาติพันธหรือรากของภาษาเป็นตัวตั้งแล้วนั้นขอบเขตของโลกมลายูจะมีขอบเขตที่กว้างขวางขยายไปทั่วลบริเวณคาบสมุทรและกลุ่มเกาะรวมถึงตอนใต้ของไทยด้วยเนื่องจากพื้นที่ทางการเมืองกบพื้นที่ทางด้านวัฒนธรรมมันแยกออกจากกัน
จึงเป็นการขึดเส้นเขตแดนทางการเมืองลงบนเขตแดนทางวัฒนธรรมที่ผุ้คนเดคยเดินทางข้ามไปข้ามาได้หรือ มีการเคลื่อนย้ายผุ้คนระหว่างกันอยู่ตลอดเวลา จนในที่สุดความทับซ้อนดักลาวได้กลายเป็นปัญหาชนชาตินิยมแบ่งเขา เบ่งเรา เพือที่จะได้รับช่องทางในการเข้าถึงทรัพยากรทางการเมือง สังคม และวัตถุต่างๆ ดังนั้น อัตลักษณ์ทางชาติพันธ์หรือการรวมกลุ่มทางชาติพันะ์จึงถุกนำมาใช้เพื่อทำให้ตนและกลุ่มตนบรรลุความต้องการในเรื่องผลประดยชน์และก่อให้เกิดสำนึกแห่งกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของทางด้านวัฒนธรรมในหมู่ผุ้คนของทั้งสองประเทศเฉกเช่นเดี่ยวกับปัญหาการอ้างสิทธิเหนืดินแดนต่างๆ
การอ้างสิทธิกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศนั้นเกิดขึ้นในหลายกรณี เช่น กรณีพิพาทเรื่องเพลง ราซา ซาแยง ที่กระทรวงการท่องเที่ยวของมาเลเซียนั้นได้นำเสนอในการโปรโมทการท่องเที่ยวของประเทศ รัฐมนตรีการท่องเที่ยวของมาเลเซียได้กล่าวว่าเป็นเพลงของคาบสมุทรมลายุ ในขณะที่ผุ้ว่าการจังหวัดมาลูกูของอินโดนีเซียได้กล่าวว่า เป็นเพลงของชาวโมลุกูของอินโดนีเซียและอินโดนีเซียจะรอบรวมหลักฐานมาเพื่อเป็นการยืนยันการเป็นเจ้าของ ซึ่งจริงแล้วนั้น เพลงนี้เป็นเพลงพื้นเมืองอันเก่าแก่ของชาวมลายูดังจึงไม่แปลกที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเหตุผลต่างๆ เพื่อแสดงถึงความเป็นเจ้าของบทเพลงนี้
ผ้าบาติก ซึ่งเป็นความทับซ้อนทางวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่มีร่วมกันมาอย่างยาวนานของผุ้คนครอบคลุมพื้นที่หลายๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรซึ่งวัฒนธรรมการผลิตผ้าบาติกนี้ได้ถูกอธิบายโดยศาสตรจารย์ไมเคิล ฮิทช์ค๊อด แห่งมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ว่าการผลิตผ้าบาติกที่เป็นวัมนธรรมของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมนั้นจำแนกออกเป็น 2 สายใหญ่ของโลก สายหนึ่งมาจากหมู่เกาะชวา และอีกสายหนึ่งมาจากหมู่เกาะสุมาตรา มาเลเซีย และรอบๆ ชายแดนของมาเลเซีย ซึ่งก็ยากที่จะตัดสินว่าส่วนใดที่มีอายุเก่าแก่หว่ากัน จะเห็นได้ว่าทั้งสองประเทศมีความใกล้ชิดกันทางวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก
จะเห็นได้ว่ามาเลเซียกับอินโดนีเซียเป็นประเทศเพื่อบ้านที่มีความกล้ชิดกนทางด้านูมิศาสตร์และวัฒนธรรมแต่ความใกล้ชิดแฝงไปด้วยความขัดยแย้งระหว่างกัน นับต้งแต่พัฒนาเป็นรัฐสมัยใหม่ขึ้นมา โดยเฉพาะประเด็นปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้อน ข้อพิพาทเรื่องการอ้างสิทธิเหนือดินแดนและยังลุกลามไปจนถึงปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
ความตึงเครียดในความสัมพันธ์ระหว่งมาเลเซียและอินโดนีเซียเกิดขึ้นเนื่องจากเรื่องของนโยบายและผลประโยชน์แห่งชาติ ซึ่งเป็นเรื่องที่แต่ละรัฐต่างต้องนิยามกันเอง เพราะแต่ละรัฐนั้นมีสภาวะและองค์ประกอบยบ่อยที่มีความแตกต่างกน ดังนั้นรัฐแต่ละรัฐบ่อมต้องพยายามทุกวิธีเพื่อที่จะดำรงรักษาผลประโยชน์ของชาติตนตามที่ไดนิยามวไว้ให้ได้
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในทางภูมิศาสตร์ การมีจุดร่วมกันในทางเชื้อชาตแ ศาสนา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมในโลกมลายู เป็ฯสาเหตุหนึ่งที่ก่อความขัดแย้ง ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดรเรื่องพื้นที่และาณาบริเวณ หรือ "นูสันตารา" ที่มีร่วมกันของผุ้คนที่อยุ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรได้นำมาสู่สำนึกแ่งกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของในหมู่ผู้คนของทั้งสองประเทศท้ายที่สุดก็ก่อให้เกิดปัญหาข้อพิพาท ทั้งประเด็นปัญหาการอ้างสิทธิเหนือดินแดนต่างๆ และยังลุกลามไปจนถึงเรื่องของวัฒนธรรม
ความเข้าใจ เรื่อง "นูสันตารา" ของทั้งสองประเทศจึงอยู่ในภาพที่มีความทับซ้อนกันอยู่มาก จนกระทั่งภายหลังจากได้รับเอกราช เป็นการเกิดขึ้นจากการสร้างพรมแดนทางการเมืองซึ่งเพิ่งเกิดใหม่ทับลงบนพรมแดนทางสังคม และวัฒนธรรมที่มีอยู่ร่วมกันนั่นคือ "วัฒนธรรมมลายู" ซึ่งมีของเขตที่กว้างขวางขยายไปทั่วบริเวณคาบสมุทรและกลุ่มเกาะรวมถึงตอนใต้ของไทย เมื่องเกิดพรมแดนรัฐชาติชึ่งมันเกิดที่หลัง มันเกิดการขีดเส้นแบ่งพื้นที่และแน่นอนว่าการสร้างตัวตน หรือ อัตลักษณ์ของรัฐชาติที่เกิดขึ้นใหม่นี้ย่อมเกิดผ่านการสร้างสำนึกทางประวัติศาสตร์ที่มีความเหลื่อมล้ำทับซ้อนกันอยุ่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์และวัฒนธรรมจนในที่สุดความทับซ้อนดังกล่าวได้กาลายเป็นปัญหาชนชาตินิยม แบ่งเค้า แบ่งเรา การแย่งชิงเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติของตน ดังนั้นเราจะพบว่าต่อมาความเข้าใจในเรื่อง "นูสันตารา" ได้กลายเป็นเครื่องมือในทางการเมืองของเหล่าบรรดานักชาตินิยมในการปลุกกระแสชาตินิยมเพื่อแสวงหาผลประดยชน์ให้กับประเทศและยังถุกใช้แสดงอำนาจความเป็นเจ้าของเหนือดินแดนและวัฒนธรรมต่างๆ อยู่เสมอ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...