การเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบันเป้นช่วงเวลาที่มีความผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่งที่ส่งผลต่อการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินทังในด้านพัฒนาและด้านอุปสรรค เพราะเมืองมีการประกาศใช้รัฐธรรม พ.ศ. 2540 และการเข้ามาบริหารประทศของ พ.ต.ท. ทักษษิณ ชินวัตร ที่เป็นนายกรัฐมนตรีชวง พ.ศ. 2544-2549 ซึ่งในช่วงเวลากรบริาหปรเทศของเขาได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการกระจายอำนาจในมิติตหนึ่งและด้านการกรชับอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางในอีกมิติตหึงซึงเกิดจากกความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง ก่อนที่รัฐบาลทักษิณ จะถูกทำรัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งต่อมามีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในด้านการกระจายอำนาจและกาเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่รัฐธรรมนูญฉบับนั้ก็มีหลายมิติที่มีลักษณะการเนิ้นระบบตรวจสอบ การไม่ไว้วางใจในนัการเมือง และการเพ่ิมอำนาจแก่วุฒิสภากับองค์กรอิสระที่ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน
ภายใต้สถานะการณ์ทางการเมืองทีผันผวนและความแตกแยกของประชาชนที่เรื้อรังมาต้งแต่ก่อนการทำรัฐประหารใน พ.ศ. 2549 มีการเลือกตังและโค่นล้มรัฐบาลหลายครั้ง รวมถึงเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทั้งใร พ.ศ. 2552, พ.ศ. 2553 และพ.ศ. 2556-2557 ได้ทให้ประเด็นการผลักดันเก่ยวกับการกระจายอำนาจถูกหยิบบกขึ้นเป้นประเด็นทางนโยบายสาธารณะที่มีกรผลักดันอย่างจิรงจังและเป็นทั้งวาทกรรมทางการเมือง รวมถึงมีข้อเนิทางวิชาการในการอธิบายปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงในชนบทที่ได้รับอิทธิพลจากกลไกใหม่ๆ ในการกระจายอำนาจและการมี่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กับรัฐธรมนูญ พ.ศ. 2550 และปรากฎการณ์การเปลียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่ทำให้สภาพการณ์ทางสังคมการเมืองไทยในยุคปัจจุบันเป็นการขยับขยายและเปลี่ยนผ่านจากการเมืองแบบรวมศูนย์ในระบบราชการและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของส่วนกลางแบบเดิม มาสู่การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ถุกขยายแลดึงเข้ามาอย่งกวางขวาง ทั้งผ่านกลำกที่เป็นทางการแลเผ่ารการวมกลุ่มทางการเมืองซึ่งมาเห็ฯได้อย่างเด่นชัดเมือเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามจากความรุนแรงทางการเมือภายหลังการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษำรรมในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 จนเป็นชนวนที่นำมาซึ่งการประท้วงและความรุนแรงทางการเมือง ซึ่งปรากฎหการณ์ความรถนเรงนี้มาจาการแตกขัวยทางการเมืองและความคิดของฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและผ่ายที่คัดค้านรัฐบาลที่ยาวนานและมิได้มีสาเหตุจาการผลักดันร่างพระาชบัญญัตินิรโทษกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปมคามตึงเครียดทางการเมืองและสังคมที่แตกแยกในระดับมูลฐานของบรรทัดฐานและทิศทางในการกไหนดสังคมการเมืองไทยทั้งในมิติศีลธรรมพลเมืองรุปแบบการปกครอง/รูปแบบรัฐ ความไม่เท่าเที่ยมทางสังคม หลักนิติรัฐความน่าเชื่อถือต่อสถาบันทางการเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญํติ บริหา และตุลาการ บทบาทของระบบราชการและกองทัพ ปัญหาของสื่อสารมวลชน รวมไปถึงการจัดารกและการอยู่ร่วมกันของผุ้ที่เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือบที่แตกแยกกันออกเป็นหลายฝ่าย ซึ่งความตึงเครียดนีได้นำมาซึ่งการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษ๓าคม พงศ. 2557 โดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผุ้บัญชาการกองทัพบกและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การเข้ามามีบทบาทนำเื่อกำหนดทิศทางของประเทศโดยรัฐราชการอีกครั้งภายใต้บริบททางการเมืองที่กลุ่มพลังทางสังคมนอกภาครัฐถูกกันออกจากระบบการเมืองและมีความแตกแยกระหว่างประธานกลุ่มต่างๆ มี่สนับสนุนและคัดค้านการรัฐประหารครั้งนี้ ซึคงภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการปกครองท้องถิ่นและการกระจายอำนาจดังจะกล่าวถัดไปโดยลักษณะสำคัญของการกระจายอำนาจช่วง พงศ.2540-ปัจจุบันแบ่งการอธิบายออกเป็ฯ 33 ช่วงเวลาดังนี้
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ิน พ.ศ. 2540-2549 การกระจายอำนาจที่ไม่ได้ไปพร้อมกับการปฏิรูประบบราชการ ในด้านการกระจายอำนาจช่วง พ.ศ. 2540-2549 นับตั้งแต่กระแสของการปฏิรูปการเมืองช่วงทศวรรษที่ 2530 ได้นำไปสู่การรางรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณจักรไทย พ.ศ. 2540 ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของการปกครองท้องถ่ินไทยเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บรรจุเนื้อหาด้านการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินอย่างเป็นทางการ เลปการประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดและแผนขขั้นตอนการกระจายอำนาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน พงศ. 2542 ที่เป็นปัจจัยเร่งให้เกิดการแรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหาราชการส่วนกลางและส่วนภูิมภาคกับองค์กรปคกรองส่วนท้องถิ่น จนส่งผลต่อสภาพการณ์โดยรวมของท้องถ่ินและการเมืองการปกครองระดับชาติ และทำให้การกระจายอำนาจถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการถาวรที่ฝ่ยการเมืองและฝ่ายขาราชการประจำไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จนทำให้มีกาตราและแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ินจำนวนมาก เช่น กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น กฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถ่ิน กฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เป็นต้น
อย่างไรก็ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก็มีมิติทีสรางความเข้มแข็งและเอื้อต่อการกระชับอำนาจของระบบราชการ่วนกลางเพราะเป็ฯรัฐธรรมนูญที่ออกเเบบให้มีรัฐบาลที่เข้มแข็ง ในการกุมอำนาจได้ค่อยข้างเด็ดขาดและแก้ไขปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองจากกลุ่มการเมืองภายในพรรคและพรรคร่วมรัฐบาลเช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีที่ทำได้ยากขึ้นกำหนดใหสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรที่จะดำรงตำแหน่งนรัฐมนตรีต้องลาออกจากการเป็น ส.ส. ก่อน ทไใ้รัฐมนตรีต้องระวังไม่ให้มีความขัดแย้งกับนายกฯ เพราะเกรงว่าจะถูกปลดจากตำแหน่งและไม่สามารถกลับไปเป็น สส.ได้อีก เป็นต้น ทำให้รับบาลกลางมีเสถียรภาพและความมั่นคงในการริเร่ิมนโยบายของตนมากว่าในอดีต
นอกจากนี้มีแนวโน้มการกระชับอำนาจของระบบราชการผ่านการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ไขปัฐหาโครงสร้างที่ใหญ่โตของระบบราชการส่วนกลางที่มีหน่วยงานในระดบกระทรวง ทบวง กรม เป้นจำนวนมาก มีการทำงานและภารกิจที่ซ้ำซ้อนหรือไม่สอดคล้งกับสภาวการณ์ปัจจุบัน มีสานการบังคับบญชาหลายขั้นตอนที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ปัญหาการทุจริตและการห้ผลประโยชน์โดยเจ้าหน้าที่รัฐ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แต่การปฏิรูปครั้งนี้กลับขยายโครงสร้างของระบบราชการให้มีหน่วยงานมากขึ้น มีจำนวนบุคลากรของหน่วยงานราชการส่วนกลางเพ่ิมขึ้นจาก 968,400 คน ในปี 2545 เปผ้น1,275,350 คน ในพ.ศ. 2550 และเป็นการปฏิรูประบบราชการที่ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการกระจายอำนาจในฐาน "ส่วนหนึ่งของการปฏิรูป" เนื่ื่องจาก "...เพื่อปรับโครงสร้างและแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง 126 กรม มาเป็น 20 กระทรวง กับอีก 143 กรม โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป้นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ และมีการออกกฎหมาย ระเบียบ และแผนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ อย่างไรก็ดีการปฏิรุประบบราชการกลับเป็นอุปสรรคของการกระจายอำนาจและไม่ได้ให้น้ำหนักต่อการกระจายอำนาจให้เป็นเรื่องที่ต้องเคียงคู่หรือทำไปพร้มกับการปฏิรุประบบารชการเช่น ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ก็มิได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนด้านการกรจายอำาจให้เป็นยุทธศาสตร์หลักแต่อย่างใด จนทำให้ระบบราชการส่วนกลางและส่งนภูมิภาคยังขยานตัวทั้งในเชิงโครงสร้างแลการบริาหรงานบุคคลเพราะจำนวนของหน่ยงานและตำแหน่งของข้าราชการรดับสูงที่เป้ฯผุ้บริหารหน่วยงานเพิ่มขึ้น"
นอกจากนี้การบริหารงานในยุคของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ยังได้ดำเนินนโยบายการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเหรือ "นโยบายผู้ว่าฯ CEO " เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของจังหวัดจากเดิมที่ขาดประสิทธภาพ ล่าช้า และไม่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนจากความไม่เป็นเอกภาพในการบริาหราชการส่วนภูมิภาคโดยการออกเระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรีวาด้วยระบบบริหาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 จึงทำให้การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็งและอยู่ภายใต้การควบคุมสั่งการของราชการส่วนกลางมากขึ้น
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2550-2557 ข้อเสนอที่หลากหลายของการกระจายอำนาจ ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 จนมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และมีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งยังคงสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับปรุงเนื้อหาสาระให้มีความชัดเจนมากขึ้น แต่นี้ก็มีการออกกฎหมายที่เอื้อต่อการกระชับอำนาจของส่วนกลางเช่น การกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการเลือกตั้งสามารถอยู่ใตำแหน่งอย่างไม่มีวาระจนผู้ใหญ่บ้านอายุครบ 60 ปี เป็นต้น แต่ความน่าสนใจในยุคนี้คือข้อเสนอเกี่ยวกับการกระจายอำนาตเร่ิมมีความหลากหลายมากขึ้น เช่น
- ข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจโดยคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศไทยที่จัดทำโดยคณะกรรมการปฏิรูปทีได้รับการแต่งตั้งดดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2553 แล้วได้จัดทำหนังสือแนวทางการปฏิรุปประเทศไทย ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน พ.ศ.2554 โดยในส่วนของข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ ฉบับสมบูรณ์ ได้เสนอเกี่ยกับการกระจายอำนาจว่าเป็นส่ิงที่ควรทำเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำของความสัมพันธ์ทางอำนาจเพราะปัญหาความเหลื่อมล้ำในความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ถูกค้ำจุนโดยโครงสร้างทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ ซึงโครงสร้างของรัฐถือเป็นโครงสร้างอำนาจที่มีความสำคัญซึ่งต้องอาศัยการปฏิรูปแการจัดระเบียบกลไกของรับใหม่เพราะรัฐมักมีการรวมศูนย์และกระจุกตัวของอำนาจที่ศูนย์กลางจนสร้างความไม่พอใจในการกระจุกตัวของำนาจจากประชาชนและความเฉี่ยอชาในทางการเมือง รวมถึงการเพิกเฉยข้อเรียกร้องของท้องถ่ินในทุกด้าน ซึงรายงานชิ้นนี้เสนอว่าการกระจายอำนาจจากส่วนกลางสู่ท้องถ่ินไม่ใช่แค่การถ่ายโอนอำนาจจากองค์กรปกครองขนาดใหญ่สู่องค์กรปกครองที่เล็กกว่า ซึ่งจะเป็นเพียงแค่เปลี่ยนการรวมศูนย์อำนาจจากศูนย์กลางไปยังท้องถิ่นต่างๆ แต่ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการลดอำนาจรัฐและเพิ่มอำนาจให้กับประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นสามารถจักการชวิตของตนเองและชุมชนได้มากขึ้น
- ข้อเสนอการตั้งจังหวัปกครองตนเองโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ที่ได้เสนอ "ร่างพระราชบัญญัติการบริาหรจังหวัปกครองตนเอง พ.ศ...." เพื่อยุบเลิกการปกครองส่วนภูมิภาคในระดับจังหวัดลงและให้มีการเลือกตั้งผุ้ว่าการจังหวัดแทน โดยใร่างพระราชบัญญัติกำหนดให้มีกาตั้งจังหวัดปกครองตนเองที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลและถือเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินแทนที่จะเป็นราชกาบริหารส่วนภูมิภาคเดิมโดยการจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเองนั้นดำเนินการโดยให้ใช้พระราชกฤาฎีกาจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเงอและผลของพระราชกฤษฎีกานี้ให้มีผลยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งจังหวัดนั้น โดยในจังหวัดปกครองตนเองจะมีโครงสร้างภายใน 2 ระดับคือ องคกรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน ได้แก่ จังหวัดปกครองตนเอง มีเขตพื้อนที่การปกครองครอบคลุมทั้งจังหวัและ องค์การปกครองส่วนท้อถงิ่นระดับล่าง ได้แก่ เทศบาลและองค์กาบริหารส่วนตำบลมีเขตพื้นที่การปกครองบางส่วนของจังหวัด โดยทั้งสองระดับจะมีสภาพลเมืองที่จัดตั้งในจังหวัดปกครองตนเอง เทศลาลและองค์การบริหารส่วนตำบล
- ข้อเสนอการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม โดยรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐต้องพัฒนาจังหฝัที่มีความพร้อมให้เป็ฯองคกรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษขนาดใหญ่โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดและกำหนดให้สามารถจัตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้กระทำได้ตามกฎหมายบัญญัติ โดยที่คณะผุ้บริหารท้องถิ่นหรือผุ้บิหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งโดยปัจจุบับนมีเมืองที่เสนอร่างกฎหมายที่เพื่อยกระดับเป็นเมืองพิเศษ ตัวอย่างเช่น แม่สอด สมุย และแหลมฉบัง ดดยเฉพาะแม่สอดนั้นได้มีการผลักดันใหจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษ "นครแม่สอด" จังหวัดตากโดยเสนอร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ...อย่างเป็นรูปธรรม
แนวโน้มการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นพ.ศ. 2557 การรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทำให้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ถูกยเลิก ทำให้เกิดการปลี่ยนแปลงของการปกครองท้องถิ่นที่มีแนวโน้มการกระชับอำนาจการปกครองท้ถงิุ่นสู่ส่วนกลางในรูปของประกาศจากคณะรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปีนับตั้งแต่ประกาศคณะปฏิวัติ..ที่แกไขปรับุรงองค์การบริหารส่วนตำบลและการก่อตั้งกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2515
จากประกาศคณะรักษาความสวบแห่งชาติฉบับ..กำหนดให้สมาชิกาภท้องถ่ินของทั้งองค์การบริหารส่วยตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลและกรุงเทพมหานครที่ครบวาระหรือพ้นจากตำแหน่งในช่วงเวลานี้ให้งดการจัดให้มีการเลือกตั้งสามาชิกสภาท้องถ่ินหรือผุ้บิริหารท้องถ่ินจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยแปลง โดยให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง โดยให้มีการคัดเลือกบุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ินโดยคณะกรรมการสรรหาที่ประกอบด้วยข้าราชการที่มาคัดเลือผุ้ที่จะมาดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่นโดยผุ้ที่จะมาเป็นสมชิกสภาท้องถิ่นอย่างน้อยต้องมาจากผู้ที่เป็นข้าราชการหรืออดีตข้อาราชการที่มีตำแหน่งตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษหรือเที่ยบเท่าขึ้นไป ส่วนตำปหน่ผู้บริหารท้องถ่ินที่ว่างอูนันกำหนดให้ปลัดองค์กรปกครองส่ท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึงทำให้ในแต่ละจังหวัดจึงมีการตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ที่มาเป็ฯสมาชิกสภาท้องถิ่นขึ้นมาทดแทน โดยตั้งแต่เพือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ใน พ.ศ. 2557 จะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ครบวาระและกำลังจะครบวาระหทั้งหมด 225 แห่ง
ผลลัพธ์ที่หลากหลายของการกระจานอำนาจนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 2540 -ปัจจุบันก็เร่ิมีงานศึกษเพื่อประเมินสถานการณ์พัฒนาการของการปกครองท้องถิ่นไทยและผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจึ่งมีคำตอบแตกต่างกันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ โดยการกระจายอาจในช่วงเร่ิมต้นยังมีอุปสรรคและปัญหาในการปฏิบัติงานอของค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในด้านประสิทธิภาพและการมีประสิทธิผลตรวตามเวลา จากากรประเมินโดยธนาคารโลกในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ภายหลังที่มีการประกาศใช้พระราชยัญญัติกำหนดแผนและขึ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พงศ. 2542 พบว่า
- การบริหารจัการข้อมูลด้านการกระจายอำนาจ พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ได้รับทราบข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการการกระจายอำนาจที่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตน
- การประหยัดเชิงขนาดในการปกครองส่วนท้อบงถิ่น พบว่างค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กแทบไม่มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามหน้าทที่ที่ได้รับมอบหมายได้อถูกต้องประหยัด และมีประสิทธิภาพ
- ข้อจำกัดของกฎข้อบังคัย พบว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ถูกจำกัดด้วยกฎระเบียบต่างๆ ดดยเฉพาะการจัดหารายได้การใช้เงินอุดหนุน และการจัดทำงลประมาณ
- นโยบายด้ารบุคลากร พบว่าบุคลากรของภาีรัฐไม่มีแรงสนับสนุนที่ดีพอในการจูงใจให้เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโอนย้ายไปทำงานในหน่วยราชการส่วนท้องถ่ิน
- กลยุทธ์การอบรมด้านการกระจายอำนาจ พบว่าในสถานศึกษามีการเปิดสอนหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับการกรจายอำนาจแต่ไม่มแนวทางการอบรมหรือแผนแม่บทการอบรมเกี่ยวกับการเพ่ิมประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
- สิ่งจำเป็นเร่งด่วนสำหรับการฝึกอบรม พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องได้รับการอบรมด้านการคลังท้องถ่ินอย่างเร่งด่วน เช่น การวางแผนทางการเงิน การจัดทำงบประมาณ การบัญชี การจัดทำรายงานทางการเงิน และรายงานการบริหารสินทรัพย์
- การเพ่ิมศักยภาพให้กับหน่วยงาน พบว่าสำนักงานคณะกรรมการการกระจยอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับวบประมาณน้อยมาก ในขณะที่สันนิบาตเทศาลแห่งประทเศไทยยังไม่มีความชัดเจนในการเป็นอิสระจากกรมการปกครอง
- ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการสำหรับงานจัดการเพ่ิมขีดความสามารถที่สำคัญ บพบว่าหน่วยงานที่มีความพร้อมนั้นังขาดแคลนเครื่องไม่เครื่องมือที่จำเป็นต่อการฝึกอบรม
- การกระจายอำนาจในส่วนของกรุงเทพมหานคร พบว่างานส่วนใหญ่ยังอิงกับระบบราชการเช่น หน้าที่ความรับผิดชอบการดำเนิงสน นโยบายด้านบุคคล การจัดสรรทรัพยากร ฯลฯ
ส่วนมิติด้านประชาธิปไตยจากการประเมินจากหลายพื้นที่พบว่าวัฒนธรรมการทำงานอขงรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังทำงานแบบระบบราชการและเน้นด้านกฎระเบียบมากกว่าผลงาน ยังเน้นให้ประชานต้องเชื่อฟังหรอปฏิบัติตาม มากว่าการทำงานแบบรับผิดชอบร่วมกันที่อยู่บนฐานของความเสมอภาค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักอย่างอนึ่งที่ขัดขวางขบวนการประชาสังคมและประชาธิปไตยชุมชน
ในทางกลับกันงานศึกษาบางข้ินได้ให้ภาพการเปี่ยนแปลงในเชิงบวกของการกระจายอำนาจ ดที่ได้ประเมินผลการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2556 ที่ให้ความสำคัญในด้านประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่นหลังการกระจายอำนาจพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดบริหารที่หลากหลายซึ่งไม่เคยมีหน่วยงานราชการ นอกจากนี้ท้องถิ่นให้ความสำคัญกับระบบการศึกษาโดยทุ่มเททรัพยากรไปกับการพัฒนาบุคลากร จัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ หรอืการศึกษาหลักสูตรท้องถิ่นที่ผ่านการมีส่วร่วมของประชาชน ทำให้เมื่อมีการเปรียบเทียบผลสัมฟทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระับท้องถ่ิน พบหลายวิชาสูงกว่าปลการทดสอบทองการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ในจังหัด นอกจากนี้เมื่อสำรวจถึงความพึงพอใจของประชานต่องอค์กาปกครองส่นท้องถิ่นพบว่าประชาชนให้ความพึงอพใจต่อการบริหารสาธารณะในด้านการศึกษาพอใจร้อยละ 63 ด้านสาธารณสุขร้อยละ 68.4 ด้านสิ่งแวดล้อมร้อยละ 61.6 และด้านโครงสร้างพื้นฐานประชาชนพอใจร้อยละ 62.9-69.4 และประชาชนร้อยละ 75 เห็นว่าไม่ควรมีกายุบเลิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
นอกจากนี้ในแง่มุมของประชาธอปไตยในระดับท้องถิ่นกลับมองว่าการกระจายอำนาจและการลงหลักปักฐานของสถาบันทางการเมืองทั้งในระดับชาิตและท้องถ่ินตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 5240 ทำใหเกิดการสร้างแรงจูงใจให้นักการเมืองตอบสนองความต้องการของผุ้ออกเสียงเลือกตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ความเปลี่นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจตังแต่ทศวรรษที่ 2530 ทำให้ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในแนวดิ่งกลับลดบทบาทลงและกลับเร่ิมมีปฏิสัมพันะ์ระหว่งกันของคนที่เท่าเที่ยมใรู)แบบแนวนอนมากขึ้น นอกจากนี้การกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินผ่านการเลือกตั้งทางตรงใรระดับ อบต.และเทศบาล ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนได้สร้างความใกล้ิดทั้งในเชิงกายภาพ ปฏิสัมพันะ์ทางสังคม และความรับผิดชอในอำนาจหน้าที่ที่อปท. ได้รับมอหมายและส่งผลต่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่ ได้ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้การพิจารณาลงคะแนนเสียงให้กับผุ้บริหารอปท. ก็อาศัยปัจจัยเชิงศักยภาพ ความสามารถ และครือข่ายของผุ้สมัครมากขึ้นในการดึงทรัพยากรมาสู่พื้นที่ "...เนื่องจากงบประมาณเกือบ 40% ของ อปท.มาจากการอุดหนุนของรัฐส่วนกลางโดยตรง ในขณะที่เกณฑ์การจัดสรรวบอุดหนุนหลายประเภทให้แก่ อปท. แต่ละแห่งนั้น เปิดโอกาสให้ผุ้มีอำนาจในส่วนกลางใช้ดุลพินิจได้กว้างขวาทำให้อปท.ต้อง "วิ่งงบ"กับส่วนกลางเพื่อให้ได้รับการจัดสรรมากที่สุดจึงหล่าววได้ว่าชาวบ้านใช้เครื่องมือการเลือกตั้งระับ้องถิ่นในการต่อราองเพื่อดึงทรัพยากรจากรัฐส่วนกลาง"
เช่นเดี่ยวกับงานของนักมานุษยวิทยาอย่างแคเธอรีน เบาว์วี (2555) "..ผุ้มีส่วนร่วใรการเมืองการเลือกตั้งอย่างเท่าทัน ชาวบ้านตำบลทุ่งนาตระหนักถึงโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นภายมต้การปฏิรูปกฎมหายในปี 2535 และ 2537 พวกเขาผนกรวมทั้งกฎหมายใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย กฎหมายเก่าสมัยศักดินาขนบะรรมเนียมแบบเดิม พิธีกรรมที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นใหม่นัการเมืองภายนอก เจ้าหน้าที่อำเภอ และครือข่ายองค์การพัฒนเอกชนให้เป็นประโยชน์แก่การรณรงค์หาเสียงของพวกเขาในกระบวนการนี้ ทัศนะประชาธิปไตยที่าดหวังว่าผุ้สมัครควรได้รับการคุ้มครองสิทธิในการหาเสียงปะทะกบกฎหมายเก่าในยุคศักดินาที่สร้างความหมายเชิงวัฒนธรรมให้ตำแหน่งผุ้ใหญ่บ้านว่า เป็น "เจ้าของ" หมู่บ้าน"
จะเห็นได้ว่า งานศึกษาต่างๆ ที่ประเมินผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจทั้งในด้านประสทิธิภาพและการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นกลับให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างแลหลากหลายก็จริงแต่แนวโน้มในปัจจุบนกลับพบว่าผลลัพธ์การกระจายอำนาจมีทิศทางที่ดีขึ้นตามลำดับ แม้ปัญหาและความท้าทาสำคัญที่มีมาตั้งแต่เร่ิมีการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2540 จะมีอยู่ก็ตาม
การวางโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 มาตรา..กำหนดให้มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ จึงมีการตราพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 โดยหมวด กำหนดให้ตั้งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีลักาณะไตรภาคี คือ ผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและผุ้ทรงคุณวุฒิ เพื่อจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและแผนปฏิบัติการกำหนดขึ้นจตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ. ฉบับรี้ได้กำหนดโครงสร้งและกระบวนการการกระจายอำนาจกลำกเพื่อสนับสนุนกระบวนการการกระจายอำนาจให้เป็นกระบวนการที่เป็ฯทางการและมีสภาพบังคับในทางกฎหมายเป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่โดยศุภสวัสดิ์ ชัชวาล (2555) เห็นว่าเมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ซึงเป็นพื้นที่การต่อรองและผลักดันทิศทางการกระจายอำนาจของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการกระจายอำนาจก็สะท้อนคุณลักษณะของคณกรรมการคือ
- บทบาทที่มีไม่มากของนักวิชากร นักวิชากรจะมีบทบาทในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ในฐานะคณะกรรมการุ้ทรงคุณวุฒิ แต่มักเป็นเสียงส่วนน้อยในคณะกรรมการกระจายอำนาจฯ และไม่ใช่ผุ้มีอำนาจที่จะขับเคลื่อนกระบวนการการกระจายอำนาจในทางปฏิบัติ โดยนักวิชาการมักมีบทบาทในการเสอนแนวคิดและการทำงานทางวิชาการเป็นหลัก
- การขาดบทบาทของฝ่ยภาคประชาชน เนื่องจา พ.ร.บ. การกระจายอำนาจฯ ไมด่ได้กำหนดให้มีสัดส่วนสำหรับตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ทำให้กระบวนการการกระจายอำนาจยังขาดการมีส่วนร่วมชของภาคประชาชนที่เป็นผุ้ได้รับผลจากการกระจายอำนาจดดยตรง
- บทบาทที่กระตือรือร้นฝ่ายผุ้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นตัวแทนในการผลักดันนโยบายหรือเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีจำนวนมากถึง 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด แต่มักถุกวิพากษืเสมอว่าข้อเรียกร้องของพวกเขามักเกี่ยวข้องกับประโยชน์าางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่นเอง
- การต้านการกระจายอำนาจของฝ่ายข้าาชการแระจำที่เป็นตัวแทนของข้ราชการหรืออดีตข้าราชการส่วนกลางแลส่วนภูมิภาค เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนใคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ที่มาโดยตำแหน่งและมาจากส่วยของผุ้ทรงคุณวุฒิสูงถึง 15 คน จากทั้งหมด 36 คนทำให้คณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ถูกครอบงำจาฝ่ายราชการที่มักจะปกป้องผลประโยช์ของระบบราชการมากว่าผลประดยชน์ของท้องถิ่น
- ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติเป็นพันธมิตรกับฝ่ายข้าราชการประจำ แม้นักการเมืองระดับชาติมีสัดส่วนน้อยในคณะกรรมการการกระจายอำนาจ แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจจะลอทอนอำนาจและความสำคัญของนักการเมืองระดับชาติที่เคยมีบทบาทต่อการดึงทรัพยากรที่รวมศุนย์อยู่ส่วนกลางมาจัดสรรในเขตฐานเสียงของตนเพราะการกระจายอำนาจมักไปเพ่ิมอำนาจหน้าที่กับวบลประมาณแก่นักการเมืองท้องถิ่น ทำให้มีแนวดน้มที่ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติกับฝ่ายข้าราชการจึงเป็ฯพันธมิตที่จะพยายามทำให้การกระจายอำนาจมีลักาณะอย่างค่อยเป็นค่อยไป
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซีย : ราชอาณาจักรไทย", รศ.วุฒิสาร ตันไชย เอกวิร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถ่ิน สถาบันพระปกเกล้า, 2557.
วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Indonesia
อินโดนีเซียเป้นสาธารณรัฐแบบรัฐเดี่ยว แตมีการจัดการปกครองแบบกระจายอำนาจอย่างกว้างขวาง อินโดนีเซียมีการแบ่งเขตการปกครองภายในของตนเองออกเป็นหลายระดับก้มีชื่อเรียกที่ต่างกันออกไป
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น
มณฑล คือชื่อเรียกเขตการปกครองภายนอินโดนีเซียในระดับรองลงมาจากระดับประเทศ โดยทั่วไปแล้วในงานศึกษาหรือรายงานข่ราวในภาษาไทยมักจะรเียกเขตการปกครองประเภทนี้ของอินโดนีเซียว่า จังหวัด โดยเทียบเคียงมาจากคำว่า province ซึ่งขอเรียกว่า provinci ของอินโดนีเซียว่า มณฑล ทั้งนีเป็นไปตามเหตุผลที่ทวีศักดิ์ เผือกสม ได้กลาวไว้ คือ โพวินซี่ แต่ละแห่งของอินโดนีเซียนั้นมักมีขนาดพื้นทีกว้างขวางและมีจำนวนประชากรมากกว่าจังหวัดของประเทศไทยอย่างมาก ดังนันคำว่ามณฑลน่าจะสื่อความหมาย ได้ดีกว่าคำว่าจังหวัด
ปัจจุบัน อินโดนีเซียมีการแบ่งการปกครองออกเป็น 33 มณฑลโดยในจำนวนนี้มีอยู่ 5 มณฑลที่มีสถานะพิเศษกว่ามณฑลอื่น ในแต่ละมณฑลของอินโดนีเซยจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติโดยผุ้นำของฝ่ายบริหาร คือ ผู้ว่าการมณฑล และฝ่ายนิติบัญญัติ คือ สภาผุ้แทนราษฎรส่วนภูมิภาค หรืออาจเรียกสั้นๆ ว่า สภามณฑล ปัจจุบัน กฎหมายของอินโดนีเซีย กำหนดให้ตำแหน่งผุว่าการมณฑลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งต่างจากในอดคตที่ผุ้ว่าการมณฑลมาจากการเลอกของสภามณฑล ส่วนสมาชิกสภามณฑลนั้นในปัจจุบันก็มาจากการเลือกตังของประชาชนเช่นกัน
ปัจจุบันการกระจายอำนาจในระดับมณฑ,ยังมีไม่มากนัก อำนาจที่มฯฑลได้รับมาจากสวนนกลางยังคงมีน้อยกว่าอำนาจที่เขตปกครองในระดับรองลงไปได้รับมา ในระยะแรกของการกระจายอำนาจในช่วงปี ค.ศ. 1999 เองก็มีการตั้งคำถ่มว่าการจัดให้มีการกระจายอำนาจทั้งในระดับมณฑ,และในระดับนรองลงมาจะทำให้เกิดความซ้ำซ้อนเกินความจำเป็นหรืไม่ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการประกาศใช้กฎหมาย มณฑลได้ถูกเปลี่ยนแปลงให้มีฐานะเปรีียบเสมอืนเป้นเครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลส่วนกลางใช้เพื่อกำหนดทิศทางการปกครองในระดับท้องถ่ินตั้งแต่ระดับจังหวัดและนครลงไป กล่าวคื อถึงแม้ผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตังของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลมีสภานะเป้ฯตัวแทนอย่งเป็นทากงรของรัฐบาลส่วนกลาง รับผิดชอบโดยตรงต่อปรธานาธิบดี นอกจากนี้ กฎหมายฉบับดังกล่วยังระบุไว้ด้วยว่า ผุ้ว่าการมณฑ,มีหน้าที "กำหนดทิศทางและดูแลการจัดการปกรองในจังหวัดและนคร" และประสานงานการนำนโบายของรัฐบาลมาปฏิบัติในมณฑล จังหวั และนคร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความคลุมมเครือว่ามณฑลมีสถานะเช่นใดกันแน่ในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประทเศ ระหว่างเป็นองค์กรปกคอรงส่วน้องถ่ินที่ตอบสอนงความต้องการของประชาชนและถูกควบคุมได้โดยประชาชนในท้องถที่ตามหลัการกระจายอำนาจ หรือว่าเ้ฯเพียงแขนขาของรัฐบาลส่วนกลางที่ทำหน้าที่นำนโยบายจากส่วนกลางมาปฏิบัติเขตท้องถที่ของตน อันเป็นปกครองตาหลักแบ่งอำนาจตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลเองก็ยากที่จะสรุปได้่าเป็นผุ้นำท้องถ่ินหรือว่าเป็นตัวแทนของรัฐบาลส่วนกลาง
สำหรับมณฑลท้ง 5 แห่งที่มีสภานะพิเศษต่างจากมณฑ,อื่นๆ มีดังนี้
- อาเจะห์ ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของเกาะสุมาตรทางตะวันตกเฉียงเนหืของอินโดนีเซีย เป็นเขตการปกครองพิเศษ มีอิสระในการปกครองตนเองในลักาณะที่ต่างจากมณฑลอื่น ซึ่งสถานะพิเศษนี้ถูกรับรองไว้ในกฎหมาย กล่าวคือ มณฑลแห่งนี้ใช้ระบบกฎมหายของตนเอง นั่นคือระบบกฎหมายแบบชะรีอเฮ์ อันเป็ฯระบบกฎหมายที่อิงกับหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเหตุผลทีรัฐบาลอินโดนีเซียยอมให้อาเจะห์เป็นเขตปกครองที่พิเศษกว่าที่อื่นได้ เชนีั มีที่มาจากปัญหาความไม่สงบภายในดินแดนทาเจะหที่เคยเป็นปัญหายืดเยื้อระหว่งรัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการอาเจะห์เสรี อันเป็นชบวนการติดอาวุธที่มีป้าเหมายตองการแยกดินแดจอาเเจะห์ออกเป็นอิสระ เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซยเล็งเห็นถึงความต้องการของชาวอาเจะห์ที่จะรักษาอัตลักษณ์ทางเชื่อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมของตน ประกอบกับต้องการจะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยหลักสันติวิธี จึงยินยอมให้อาเจะห์มีสถานะพิเศษ มีสิทธิบริหารจัดการกิจการทางศาสนา ประเพณี และการศึกษาของตน อย่งไรก็ตาม ยังมีการถกเถียงกันอยู่ว่า แม้จริงแล้วชาวอาเจะห์โดยทั่วไปนั้นต้องการกฎหมายชละรีอะฮ์จริงหรือไม่ หรือ ว่าคนที่ต้องการมีเพียงกลุ่มผุ้เคร่งศานาซึ่งมีจำนวนไม่มากนัก นอกจากนี้ อำนาจพิเศษอีกประการหนึ่งของมณฑ,อาเจะห์ก็คือชาวอาเจะห์ได้รับอนุญาตให้ตั้งพรรคการเมืองในระดับท้องถ่ินขึ้นเองได้ต่างจากในพื้นที่อ่นซึ่งพรรคการเมืองในท้องถิ่นจะต้องเป็นสาขาของพรรคการเมืองระดับประเทศเท่านั้น ในปี 2006 เป็นครังแรกที่ชาวมณฑลอาเจะห์ได้เลือกตัง้งผุวาการมพณลของตนโดยตรง การเลือกตั้งรั้งนี้เป็นตรั้งแรกในอินโดนีเซียที่อนุญาตให้ผุ้สมัครรับเลือกต้งในระดับท้องถ่ินสามารถลงสมัครได้โดยไม่ต้องสังกัดพรรคการเมือง ซึ่งเป็นข้อยกเว้นพิเศษของมณฑลอาเจะห์อันเป็นผลจากากรที่รัฐบาลอินโดนีเซียได้ลงนามร่วมกับกลุ่ม GAM ในข้อตกลงเฮลซิงกิ ผลของการเลือกตั้งปรากฎว่า นายเออร์วานดี ยูซุฟ อดีตนักเคล่อนไหวในกลุ่ม GAM ได้รับชัยชนะ
เขตปกครองพิเศษยอกยาการ์ตา เป็นดินแดนที่มีสุลต่านเป็นประมุขปกครองมายาวนานตังแต่ก่อนจะตกเป็นอาณานิคมของตะวันตก และยังคงอยุ่ภ-ายใต้การปคกรองของสุลต่านแม้กระทั่งในปัจจุบัน โดยตำแหน่งสุลต่านของยอกยากร์ตานั้นถือว่าเทียบเท่ากับผุ้ว่าการมณฑลในมฑณฑลอื่นๆ หากแต่ตำแหน่งสุลต่านสืบทอดทางสายเลือด ไม่ได้เป็นตำแหน่งที่ได้มาจากการเลือกตั้งเหมือนกันตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลอื่น ๆ จึงทำให้เป็นประเด็โต้เถียงกันอยู่ว่าเหตุใดยอกยากร์ตาจึงสมควรได้รับสถานะพิเศษดังกล่าว และลักาณะการปกครองเช่นนี้ของยอกยาการ์ตานั้นเหม่ะสมหรือไม่กับอนินโดนีเซียยุคโม่ที่เป้ฯสังคมประชาธิปไตย
ปาปัว เป็นมณฑลที่อยู่ทางตะวันออกสุอของประเทศ มณฑลแห่่งนั้เป็นอีกมณฑลหนึ่งที่มีประวัติการเคลื่อนไหวเพื่อแยกตัวออกจากอินโดนีเซีย ดังนันรัฐบาอินโดนีเซียจึงได้ให้สถานะพิเศษแก่ปาปัว คือได้รับอำนาจในการปกครองตอนเงอที่สูงหว่า มณฑลปกติทั่วไปเพื่อจูใจให้ขาวปาปัวยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอินโดนีิเวียต่อไป ในด้านการคลังณฑลปาปัวได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลส่งวนกลางในอัตราส่วนสุงกว่ามณฑ,ปกติ และไนด้านการปกครองรัฐบาลส่วนกลางก็ได้อนุมัติใ้มีการจัดตั้งสภาท้องถ่ินรูปแบบพเศษขึ้นมาทำงานควบคู่กับสภาท้องถิ่นปกติโดยสภารูปแบบพิเศษของมณฑลปาปัวนี้ มิชื่อเรียกว่า Majelis Rakyat Papua หรือ MRP ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากชนเผ่าพื้นเมืองต่างๆ ในเขตพื้นที่ปาปัวทำหน้าทพิทักษ์ปกป้องผลประโยชน์ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชาวพื้นเมือง นอกจากนี้กฎหมายยังระบุว่า ผุ้ว่าการมณฑลและรองผุ้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีเชื่อสายปาปัว และการเข้าสู่ตำแหน่งจะต้องได้รับความยินยอมจากสภา อีกด้วย ซึ่งการกำหนดคุณสมบัติไว้เช่นนี้ทำให้มีการวิจารณ์กันว่า เพราะเหตุใดคนต่างถ่ินซึ่งมีจำนวนมากถึงร้อยละ 40 ของประชกรในมณฑลจึงไมได้รับสิทธิ์ในการลงสมัครเป็นผู้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งต่างจากมณฑลอื่นๆ ที่กำหนดวุฒิการศึกษาเพีียงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ปาปัวตะวันตก เป็นมณฑลที่มีประชกรน้อยที่สุดของประเทศ ตั้งอยุ่บนเกาะนิวกินี เช่นเดียวกับมณฑลปาปัวและมีสถาะพิเศษเช่นเดี่ยวกับมณฑลปาปัว โดยรับาลส่วนหลางของอินโดนีเซ๊ยได้ส่งเงินอุดหนุนให้แก่ทั้งมณฑ,ปาปัวและมณฑลปาปัวตะวันตกมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า 3,120 ล้านเหรียญสหรัญ ในรอบ 12 ปีที่ผ่านมา
หรุงจากการ์ตา นครหลวงขงประเทศ มีสถานะเป็นเขตปกครองพิเศษทีเที่ยบเท่ามณฑล มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา โดยกฎหมายฉบับแรกที่ระบุถึงลักษณะการปกครองของกรุงจาการ์ตาในยุคปฏิรูปแระเศคือกฎหมายฉบับที่ 34 /1999 และมีการแก้หขอีครั้งในกฎหมายฉบับ 29/2007 กรุงจาการ์ตามีผุ้นำือผุ้ว่าการซึ่งมาจาการเลือตกั้งดยปรชาชน ภายในเขตนครหลวงนี้ยังมีการแบ่งเป็นนคร ย่อย ๆ อีก 5 แห่ง แต่ละแห่งมีผุ้นำคือนายกเทศมนตรีของตนเอง โดยตำแหน่งนายกเทศมนตรีของนครที้ง 5 แห่ง ในจาการ์ตา นั้นไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง หากแต่มาจาการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตา ในแต่ละนครก็มีสภาของตนเอง แต่ไม่มีบทบาทอะไรมากนัก เป็นเพียงสภที่ให้คำปรึกษาแก่ฝ่ายบริหารเท่านั้น ซึ่งการที่ตำแหน่งนายกเทศมนตรีในกรุงจาการ์ตามาจาการแต่งตั้งเช่นนี้ก็อาจเกิดคำถามว่าสมควรหรือไม่ที่เมืองหลวงของปรเทศจะนไเอาระบบการเมืองการปกครองที่ไม่เป้นปรชาธิปไตยเท่าไรนักมาใช้เช่นนี้ ดดยในประเด็นนี้ก็มีการอธิบายไว้ว่าเมืองหลวงอย่างจาการ์ตาสมควรจะมีแนวนโยบายการบริหารที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้เงใรระดับผุ้นำและระดับรองลงมา การที่ให้ผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตาเป็นผู้แต่งตั้งนายกเทศมนตรีแทนที่จะให้ประชาชนเป้นคนเลือกก็เป็นไปเพื่อรักษาความเป็นหนึ่งเดี่ยวกันทางนดยบายแลการบริหาร แต่หากอนุญาตให้สมีการเลือกตังตำปหน่งนายกเทศมนตรีภายในกรุงจาการ์ตา ก็มีโอกาสที่จะได้บุคคลที่มีควาเห็นขัดแย้งหรืออยู่ฝ่ายตรงข้ามกับผุ้ว่าการนครหลวง ทำให้การบริหารกิจการต่างๆ ไม่เป็นไปในทิศทางเดี่ยวกัน
จังหวัด การปกครองท้องถ่ินในลำดับรองลงมาของอินโดนีเซีย คือ การปกครองระดับจังหวัด โดยในปัจจุบันอินโดนีเซียแบ่งออกเป็น 405 จังหวัดทั่วประเทศ แต่ละจัวหวัดมีผุ้นำคือ ผุ้ว่าราชการจัวหวัด ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างมณฑลกับจังหวัดและนครนั้นมีข้อถกเถียงกันอยุ่ว่าีความเป็นลำดับชั้นระหว่างกันหรือไม่ กล่าวคือ ในทางทฤษฎีแล้วผุ้ว่าราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีนั้นอบยู่ภายใต้การบังคัยบัญชาของผุ้ว่าการมณฑล แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจของอินโดนเีเซียกำหนดให้ผุ้นำของจังหวัดและนครมาจาการเลือกตั้งของประชาชน ทำให้มีการตั้งข้อสังเกตว่า ผุ้ว่ราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีไม่ได้อยู่ภายใต้อำนาจของผุ้ว่าการมณฑ?ลอย่งแท้จริงแต่อยู่ใต้อิทธิพลของประชาชนผุ้เลือกตั้งแลบรรดาผุ้ให้เงินสนับสนุนในการลงเลือกตั้งมากว่า
นคร Kota
นคร มีลำดับชั้นเที่ยบเท่ากับจังหวัด หล่าวคือเป็นหน่วยการปกครองในระดับต่ำลงมาจามณฑลเหมือนกัน แต่มีความต่างคือ นครจะมีเนื้อที่เล้กกว่าจังหวัด และนครมักเป็นเขตอุตสาหกรรมและเศษฐกิจภาคบริการ ในขณะที่จังหวัดมักเป็นเขตที่มีการทำการเกษตรมากกว่า ผุ้นำของนคร คือ นายกเทศมนตร่ ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี
อำเภอ เป็หน่วยการปกครองในระดับรองลงมาจากจังหวัดและนครทำงาอยู่ภายใต้ผุ้ว่าราชการจังวหวัดหรือนายกเทศมนตรี ผุ้นำของอำเภอ คือ นายอำเภอ มาจากการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าราชการจัหวัดหรือนายกเทศมนตรีไม่ได้มาจากการเลือตั้งโดยประชาชนดังนั้นสถานะของอำเภอจึงเปรียบได้กับเป็นหน่ยงานย่อยๆ ของ จังหวัดและนครต่างๆ เท่านั้น
ตำบล Kelurahan อินโดนีเซียมีหน่วยการปกครองในระดับล่าวสุดอยู่ 2 ปรเภ คือ ตำบลและหมู่บ้าน โดยตำบลบเป็นหน่วยการปกครองที่ตังอยุ่ในพื้นที่ชุมชนเมือง ผุ้นำของตำบล คือ กำนัน มาจาการแต่งตั้งของผุ้ว่าตาชการจังหวัดหรือนายกเทศมนตรี
หมู่บ้าน หมู่บ้านคือหน่ยการปครองระดับล่างสุด โดยมีฐานะเท่าเที่ยมกับตำบล แต่หมุ่บ้านตั้งอยู่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมุ่บ้านตั้งอยุ่ในพื้ที่ชนบทเท่านั้น ดดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านตั้งอยุ่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่รัฐบาลเล็งเห็นความสำคัญอย่างมาก โดยรัฐบาลตระหนักว่าหมุ่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับชัวิตประชชนและมอิทธิพลต่อประชาชนไได้มากในหลายด้าน รัฐบาลในสมัยนั้นจึงต้องการเข้ามาจัดระเบยบการปกครองในระดับหมู่บ้าน โดยใช้วิธีการต่างๆ จูงใจและบังคับวห้ผุ้นำหมุ่บ้าสสวามิภักดิ์กับส่วนกลางและรับเอานโยบายที่ส่วนกลางกำหนดไปปฏิบัติในขณะเดี่ยวกัน อุดมการณ์หรือการกระทำใดๆ ที่ต่อต้านหรือผิดแผกไปจากแนวคิดของรัฐบาลก็จะถูกปิดกั้น หมู่บ้านในยุสมัยของซูฮาร์โตจึงเป็นหมู่บ้านที่ปราศจากความหลากหลาย ปราศจากชีวิตชีวา เป้นเพียงหน่ยงนที่ทำตามคำสั่งของรัฐบาลอย่างเคร่งครัด ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งที่สะท้อนถึงลักษณะการปกคีองประเทศในยุคระเบียบใหม่ที่ความเป็นไปทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรมล้วนถูกกำหนดมาจากส่วนกลาง
อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับยที่ 22/1999 ได้นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่หมู่บ้านเป็นอย่างมาก กล่าวคือมีการระบุไว้อย่างเป็นทางกาสรว่าการจัดการปกครองในหมุ่บ้านจะยึดหลักความหลากหลาย, การมีส่วนร่วม,การปกครองตนเอง, การส่งเสริมประชาธิปไตย และการให้อำนาจแก่ประชาชน ตัวอย่างของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เช่น ผุ้นำหมู่บย้านมาจาการเลือตั้งของประชาน ดยมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี ส่วนสมาชิกสภาปมู่บ้านมีที่มาจาการคัดสรรโดยปรชาชนในหมุ่บ้านซึงไม่ได้ใช้กระบวนการเลือกตั้งแบบทั่วไป แต่ใช้กระบวนการพูดคุยโดต้เถียงภายในชุมชน สมาชิกสภาปมูบ้านมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี เช่นเดี่ยวกัน
การเงินและการคลังท้องถิ่น ก่อนที่จะมีการกระจายอำนาจในยุคปฏิรูป ท้องถิ่นต่างๆ ของอินโดนีเซียแทบไม่มีอำนาจในการบริหารจัดการการเงินการคลังของตนเงินภาษีที่เก็บได้ในแต่ละท้องถ่ินถูกส่งเข้าส่วนกลาง และส่วนกลางเป็นผุ้พิจารณาจัดสรรเงินเพื่อหลับมาอุดหนุนการดำเนินงานของท้องถิ่นโดยงบอุดหนุนแก่ท้องถ่ินดังกลาวมีอยุ่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ
1 เงินถ่ายโอนเพื่อการพัฒนาทั่วไป คือเงินที่ส่วนกลางทกำหนดให้ท้องถิ่นใช้จ่ายเพื่อขัเคลื่อน
โครงการพัฒนาต่างๆ ซึ่งมีมากมายหลายประเภทตั้งแต่โครงการด้านส่ิงแวดล้อม ไปจนถึงการก่อสร้างตลาดซื้อขายสินค้า
2 เงินอุดหนุนเพื่อการปกครองตนเองของท้องถิ่น เงินส่วนนี้มักใช้สำหรับจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิรูปประเทศ ก็มีการเปลี่นแปลงเกี่ยวกับการเงินการคลังของท้องถิ่นเกิดขึ้น โดยกฎหมายฉบับนี้ระบุว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมีแหล่งรายได้ทั้งสิ้น 2 ข่องทาง คือ
เงินรายได้จากภายในท้องถิ่น เช่น ภาษีท้องถ่ิน ภาษียานพาหนะใน้องถ่ินผลกำไรจากกิจการของท้องถิ่น เงินส่วนนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นผุ้เก็บและนำมาใช้จ่ายได้เอง ไม่ต้องส่งเข้าส่วนกลาง
เงินถ่ายโดนจากส่วนกลาง คือ เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนไปให้้ท้องถ่ินทั้งในระดับมณฑลและระับจังหวัดแลนคร โดยกฎหมายฉบับบนี้กำหนดว่าเงินรายได้ของรัฐอย่างน้อยร้อยละ 25 จะต้องถูกจัดสรรให้แก่ท้องถ่ิน เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ินแล่งได้อีเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เงินก้อนอุดหนุน แบ่งไดเ้ปฯอีก 2 ปผระเภท คือเงิน ถ่ายโดอนเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไปมักใช้เพื่อจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานขอรัฐในระดับท้องถ่ินและอีกประเภทหนึ่งคือเงินถ่ายโอนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เงินก้อนนี้รัฐบาบสวนกลางจะเป็นผุ้กำหนดว่าให้ท้องถ่ินนำไปใช้เพื่อดำเนินการในเรื่องใด ซึ่งสิ่งที่ส่วนกลางกำหนดก็มกจะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในช่วงเวลานั้นๆ, เงนิปันสวนจากรายได้ของรัฐบาล คือเงินส่วนที่รัฐบาลส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ิน โดยไม่กำหนดว่าจะต้องนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดโดยเฉพาะ ซึ่งการที่ส่วนกลางมอบงบประมทาณให้ท้องถ่ินนำไปบริหารและกำหนดเป้าหมายในการใบ้ไดเองเช่นี้นับว่าสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ นั้นคือทำใหองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้มแข็งขึ้น มีอำนาจกำหนดความเป็นไปในพื้นที่ของตนมากขึ้น ขณะเดี่ยวกันก็ลดการแทรกแซงกิจการในท้องถ่ินจากส่วนกลางลง
นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ในกรณีของมณฑลที่มีสาถนะพิเศษ 3 แห่ง ได้แก่ อาเจะห์ ปาปัว และปาปัวตะวันตก รัฐบาลส่วนกลางก็จะจัดสรรเงินด้อนพิเศษให้แก่มณฑลเหล่านี้เพิ่มเติมอีกดัวย
การบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน ในยุคของซูฮาร์โต รัฐบาลส่วนกลางมีบทบาทครอบงำการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานรัฐทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นโดยมีองค์กรอยู่ 3 องค์กรด้วยกันที่ถูกกำหนดให้รับผิดชอบงานด้านนี้อย่างเป็นทางการ ได้แก่ กระทรวงการปฏิรูปการบริหาร สำนักงานข้าราชการแห่งรัฐ สถาบันรัฐประศาสนศาตร์แห่งชาติ
อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากท้งสามองค์กรที่กล่าวมา ก็ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ในส่วนกลางที่มีส่วนร่วมในการบริาหรทรัีพยากรบุคคล เช่น กระทรวงการคัีงและกระทรวงมหาดไทยต่างก็มีส่วนใการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับอัตรเวินเดือนและขอบเขตพื้นที่ภารกิจของเจ้าพนักงาน เป็นต้น จึงกล่าวได้่าถึงแม้การกำหนดนโยบายทางงานบุคคลจะมีขึ้นที่ส่วนกลางก็จริง แต่กลับมีหน่ยงานรับผิดชอบหลายหน่วยจนทำให้ประสิทธิภาพของการบริหารงานบุคคลมีใไม่มากเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป้นในด้านการวางแผน การทำงบลประมาณ และด้านอื่นๆ
เมื่อยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โตส้ินสุดลง กระแสการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นตามมาก็ดูะมือจะส่งผลถึงเรื่องกาบริหารทรัพยากบุคคลในระดับท้องถ่ินด้วย แต่ในความเป็นเจริงแล้วความเปลี่ยนแปลที่เกิดขึ้นกลับมีไม่มากนัก บทบาทและอำนาจาส่วนกลางในการบริหารงานบุคคลของวท้องถ่ินยังคงมีอยู่สูง กล่าวคือ กฎหมายฉบับที่ 22/1999 ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยการกำหนดขอบข่ายอำนาจขององค์กรปกครองสวนท้องถ่ิน มีการเขียนไว้ในมาตรที่ 76 ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอำนาจแต่างตั้งโยย้าย กำหนดอัตราเงินเดือน เงินบำนาญ สวัสดิการ รวมถึงการฝึดอบรมต่างๆ ของเจ้าพนักงาน แต่มาตรา 75 ของฏำมหายฉบับเดี่ยวกันกลับระบุไว้ว่า กระบวนการทั้งหมดที่กล่วมาจะต้องดำเนินไปตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งทำให้เกิดความสับสนขึ้ว่าสรุปแล้วท้องถ่ินมีอิสระจากส่วนกลางมากน้อยเพียงใดการบริหารส่วนกลางที่มีหน้าที่ดุแลงานบุคคล
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย", ภานุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
Local government in Philippine
ตามรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ปี ค.ศ. 1987 ซึ่งเป็นฉบับที่ดใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถิ่น มีความเป็นอิสระในการปกครงตนเองโดยประธานาธิบดีมีหน้าทเพียงการกำกับดูแลการปกคีองท้องถิ่น ซึ่งออกในปี ค.ศ. 1991 ภายใต้หลักการสำคัญเกี่ยวกับการจัดให้มีการปกครองท้ถงอ่ินที่ตอบลสนองและมีความรับผิดชอบเพื่อมากขึ้น ผ่านระบบการกระจายอำนาจ พร้อมกับกลไกที่มีประสทิะิภาในการถอดถอนผุ้ดำรงตำปน่ง การริเริ่มเสอนกฎหมายหรือเรื่องต่างๆ และการหยั่งเสียงประชามติ การจัดสรรอำนาจความรับผิดชอบและทรัพยากรของหน่วยการปกครองท้องถิ่นระกับต่างๆ การกำหนด คุณสมบัติ วิธีการเลือกตั้ง การแต่งตั้งและการห้พ้นจากตำแหน่ง สาระการดำรงตำแหน่ง เงินเดือน อำนาจและภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดองค์การและการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น
ในปัจจุบันหน่วยการปกครองท้ถงอิ่นของฟิลิปปินส์มี 4 ประเภท ได้แก่ จังหวัด จำนวน 80 แห่ง, เมือง 143 แห่ง, เทศบาล 1,491 แห่ง, และหมู่บ้านหรือบารังไก 42,028 แห่งนอกเหนือจากนี้ ได้มีการจัดตั้งแขตการเมืองพิเศษแยกออกมาต่างหาก ซึ่งประกอบด้วย
- เขตนครหลวงแห่งชาติและหน่วยงาานพัฒนามะนิลา ซึงประด้วยเมือง 16 แห่ง และเทศบาล 1 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมการประสานงานและความมีประสทิะิภาพในการให้บริการในเขตนครหลวง
- เขตปกครองอิสระในชุมชนมุสลิมมินดาเนา ซึ่งประกอดบ้วยจังหวัด 5 จังหวัด รวมตัวกันเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ดังกล่าว
- เขตบริหารพิศษในชุมชนคอร์ดิลเลร่า ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องุถิ่นของประเทศฟิลิปปิส์ในปัจจุบัน มีการจัดโครงสร้างเป็นระบบ 3 ชั้น ซึ่งประกอบด้วย จังหวัด เมืองและเทศบาล และหมู่บ้านหรือบารังไก อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็นเมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง ตามที่กฎหมายกำหนด หรือเมืองที่กฎหมายห้ามมิใหผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเลือกเจ้าหน้าที่ของจังหวัด หรือที่เรียกว่า เมืองที่เป็นอิสระ จะไม่ได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด แต่กฎหมายกำหนดให้ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอุ่ินในระดับกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็หน่วยการปกครองท้องถ่ินในระดับบลน ซึ่งเป็นระบบการปกครองท้องถ่ินแบบ 2 ชั้น
- จังหวัด เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินระดับบนสุด ปัจจุบัยมีจำนวนทั้งสิ้น 80 จังหวัด ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดีหรือรัฐบาลกลาง มีอำนาจในการกำกับดูแลเทศบาลและเมืองในเขตพื้นที่ท่ี่รับผิดชอบ เพื่อให้แน่ใจว่าการดำเนินการของเมืองและเทศบาลในความรับผิดชอบอยู่ในชขอบเขตอำนาจและภาระหน้าที่ของแต่ละองค์กร ตามีได้กำหนดไว้หรือไม่ ทั้งนี้ เมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง และเมืองที่เป็นอิสระจะมีความเป็นอิสระจากจังหวัด กล่าวคือ ไม่ต้องขึ้นตรงกับจังหวัด แต่จะขคึ้จรงกับรัฐบาลกลาง
จังหวัดแต่ละจังวหวักจะมัผุ้ว่าราชการจัวหวัดที่มาจากากรเลือกตั้งดดยตรงจากประชานทำน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่าบริหารและมีสภาจังหวัดที่มีชื่อเรียกเป็นภาษาฟิลิปปินส์ว่า แซงกูเนียง พันลาลาวิแกน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน เช่น เดี่ยวกับ กระทำหน้าที่ท่างฝ่ายนิติยบัญญัติ และอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในจังหวัด ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของจังหวัดโดยการพิจารณาจากรายได้ต่อปีของจังหวัด
- เมือง เมืองเป็นหนึ่งในหน่วยงการปกครองท้องถ่ินของฟิลิปปิสน์ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 143 แห่ง มีอำนาจเหนือบารังำก ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด ในกรณีที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวด เมืองจะมีสถานะเป้นหน่ยการปกครองชั้นที่ 2 รองจากจังหวัด แต่ถ้าเมืองที่เป็ฯอิสระจากจังหวัดยังมีความรับผิดชอลในการให้บริการพื้นฐานต่าง เช่นเดี่ยวกับเทศบาลทั้งหลายอีกด้วย เช่น ตำรวจ ดับเพลิง การจัดการสาธารณประโยชน์ ทั้งหลายในเขตพื้นที่ การรักษาความสะอาด และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่ใช้เงินงลบประมาณของเมือง เช่น ดรงเรียนมัธยม โรงพยาบาล และสวนสาธารณะ ประเภทของเมืองแบ่งเป็น
เมืองในเขตชุมนหนาแน่นสูง คือเมืองที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่อย่างน้อย 200,000คน โดยมีคำรับรองจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ และจะต้องมีรายได้ยอ่งน้อยปีละ 50 ล้าเปโซ โดยมีการับรองจาเหรัญญิกประจำเมือง ในปัจจุบลันเืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูงมีจำนวนทังสิ้น 33 แห่ง ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีเมืองที่ตั้งอยู่ในเขตมหานครมะนิลา 16 แห่ง
เมืองที่เป็นอิสระ คือ เมืองที่กฎหมายห้ามิให้ผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผูว่าราชการจังหวัด และตำแหน่งทางการเมืองอื่นๆ ในระดับจังหวัด รวมทั้งมีความเ็นอิสระไม่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด
เมืองที่อยู่ภายใต้การกำกับของจัวหวัด คือ เมืองที่ไม่ได้อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ต่างๆ ดังเช่นเืองที่กล่าวมาในข้างต้นเมืองประเภทนี้กฎหมายกำหนดให้ประชานมีสิทธิเลือกตังตำแหน่งทางการเมืองในระดับจัวหวัดได้ ทั้งนี้ ถ้าเมืองใดตั้งอยู่บนพรมแดนของจังหวัดตั้งแต่ 2 จังหวัดขึ้นไป ให้ถือว่าเป็นเมืองที่อยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของจัวหวัดที่เมืองนั้นเคยเป็นเทศบาลมาก่อน ส่วนรูปแบบการบริาหรของเมืองทุกประเภทนั้นจะประกอบด้วยฝ่ายบริหารและฝ่านนิติบัญัติที่มาตจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน หัวหน้าฝ่ายบริหารของเมือง เรียกว่านายกเทศมนตรี ส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเมือง นั้น จะมีรองนายกเทศมนตรีเป็นประธาน ทุกๆ 3 ปีจะมีการจัดลำดับชั้นของเมืองใหม่ โดยพิจารณาจากรายได้
- เทศบาล เทศบาล หรือบาที่ก็เรียกว่า มูนิสซิปะโย ในภาษาตากาล็อค เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการกครองนองและมีความเป็นอิสระจากรัฐบาลกลางเช่นเดี่ยวกับจังหวัดและเมือง โดยรัฐบาลมีหน้าที่เพียงให้ความช่วยเหลือและดูแลการปกครองท้องถ่ิน เพื่อให้แน่ใจว่าเทศบาลไม่ได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายของประเทศ เทศบาลจะกำกับดูแลปมู่บ้านหรือบารังไกในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอลเช่นเดี่ยกับเมือง ทั้เงี้ นอกจาเทศบาลจะเป็นหน่วยย่อยทางการเมืองของรัฐ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในกาจัดลบริการแก่ท้องถิ่นบังคับใช้กฎหมายทั้งกฎหมายของประทเศและกฎหมายเกี่ยวกับกิจการของท้องถ่ิน และทำหน้าที่อื่นซึ่งรัฐบาลกลางหรือรัฐสภากำหนดเป็นกฎหมายให้ปฏิบัติลแ้ว เทศบาลยังมีสถานะเป็นจิติตบุคคล โดยสามารถดำเนินากรทำสัญญา และการติดต่อร่วมลทุนทางธุรกิจกับเอกชน รวมถึงหารายได้จากากรจัดเก็บภาษีท้องถ่ิน
เทศบาลมีการแบ่งอำนาจการปกครองออกเป็นฝ่ยบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติ และมีการตวนจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกันซึ่งใีควาชัดเจนกว่าการถ่วงดูลกันระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ยนิติบัญญัติในระดับชาติ ส่วนอำนาจทางฝ่ายตุลากรนั้นอยุ่ที่อำนาจของศาลในระดับประทเศ
เทศบาลมีนายกเทศมนตรี ที่มาจาการเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน ทำหน้าที่เป็ฯหัวหน้าฝ่ายบริหารส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเทศบาล ก็มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชนเช่นกัน มีรองนายกเทศมนตรีที่ทำหน้าที่เป้นประธนสภาเทศบาล
เมื่อเทศบาลมีขนาดใหญ่ขึ้นก็สามารถขยับฐานะขึ้นไปเป็ฯเมืองได้ โดยสภาคองเกรศออกเ็นกฎหมายเสอนไปยังประธานาธิบดี หลังจากนั้นจึงให้ประชาชนลงประชามติว่าจะยอมรับความเป้นเมืองหรือไม่ ข้อดีประการหนึ่งของการเป็นเมืองก็คือจะทำให้ได้รับวลประมาณเพ่ิทขึ้น แต่ท้งนี้ประชาชนก็ต้องเสียภาษีมากขึ้นเช่นกัน และเช่นเดียวกัน ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของเทศบาล ดดยพิจารณาจากรายได้ต่อปีของเทศบาล
- หมู่บ้านหรือบารังไก ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้บารังไกเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่ินในระดับที่เล็กที่สุดซึ่งปัจจุบับยประเทศฟิลิปปินส์มีหน่วยการปกครองระดับนี้อยู่ทั้งสิ้น 42,028 แห่งทั่วประเทศ ทั้งนี้ปรธานาธิบดีแมกไซไซเคยกล่าวไว้ว่า "บารังไกเปรียบเสมือนรากหญ้าของการปกครองระบอบประชาธิปไตยของฟิลิปปินส์ เพราะเป็นหน่วยการปกครองระดับย่อยที่มีความผุกพันและใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด"
บารังไกเป็นหน่วยกาปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการปกครองตนเอง โดอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของเมืองหรือเทศบาลบารังไกเกิดขึ้นโดยรัฐสภาออกเป็นกฎหมาในกาจัดตัเ้งหรือพระราชบัญญัติที่ออกโดยสภาจัวหวัดหนือสภาเมือง และด้วยความเห็ฯชอบจากสภาเทศบาล ดดยบารังไกจะต้องอยู่ในเขตเมืองหรือเทศบาล และภายในบารังไกโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทยังได้มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็หน่วยย่อยๆ เรียกว่า บูร้อก และซิติโอ แต่ภายในหน่ยย่อยเหล่านี้ไม่มีผุ้นำที่มาจากากรเลอตั้งอย่งเป็นหทางการ ทั้งนั้ บารังไกหนึ่งๆ จะจ้องมีจำนวนประชกรตั้งแต่ 500 ครัวเรือนขึ้นไป กต่ไม่เกิด 1,000 ครัวเรือน จึงจะตั้งขึ้นเป็นบารัไกได้
ส่วนรูปแบบการบริาหรงานของบรังำกนั้นประกอบด้วยฝ่ยบริหารท่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงของประชาชน จะมีปูนง หรือหัวหน้าบารังไก ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริาหรของบารังไก ส่วยฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาบารังไก จะประกอบด้วย สมาชิกสภา หมู่บ้าน ที่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากปรชาชนจำนวน 7 คน และประธานสภาเยาวชน จำนวน 1 คน รวมเป็น 8 คน โดยมีบูนังหรอหัวหน้าบารังไกทำห้าที่เป็นประธาน ในส่วนของการแห้ปัญหาความขัแย้งภายในบารังไกนั้น ได้มีการจัดตั้งระบบยุติธรรมระดับบารังไก หรือมีที่ชื่อเรียกในภาษา ฟิลิปปินส์ว่า คาตารุงกัง ปัมบารังไก ขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่ประกอบไปด้วย คณะบุคคลที่เรียกว่า ลูปอง ทากาปารมายาปา หรือ ลูปง ซึ่งอาจแปลง่ายๆ ว่า คณะกรรมการแสวงหาสันติภาพ มีจำนวน 10-20 คนทำน้าที่เป็นกรรมการ และมีประะานคณะกรรมการอีก 1 คน คาตารุงกัง พัมบารังไก คือ ระบบการแก้ปัญหาข้อพิพาท ณ หน่วยที่เป้ฯพื้นฐญานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของรัฐ นั่นคือระดับบารังไกหรือปมู่้าน ระบบนี้เป็นระบบยุติธรรมที่ยึดแนวทางของการปรึกษาหารือการสานเสวนา การเจรจาไกล่เหลี่ย หรือการประนีประนอม ทั้งน้ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะบรรลุข้อตกลงอย่างแันท์มิตร แทนการนำคดีความและข้อพิพาทต่างๆ เข้าสู่กระบวนกาพิจารณาของศาล
เนื่องจากบารังไกเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับประชาชมากที่สุ บารังไกจึงถูกออกแบบให้เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่พึ่งตนเอง กระทำหน้าที่ในการพัฒนาชุมชน สภาบารังไกมีอำนาจในการหารายได้เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน เช่น อำนาจในการเรียกเก็บภาษี เป็นต้น
โครงสร้างภายในหน่วยการปกครองท้องถิ่น การจัดโครงสร้างภายในของหน่วยการปกครองท้ถงิ่นของประเทศฟิลิปปินส์ทั้ง 4 รูปแบบจะมีการแยกกันอย่างชัดเจนระหว่างฝ่ายนิติรบัญญัติ(ซึ่งจะมีสภของท้องถ่ินโดยที่สามาชิกสภาจะมาจากการเลือกตั้งและฝ่วบริาหรจะมีผุ้ว่าราชการจังหวดสำหรับการปกครองท้องถ่ินในระดับจังหวัด ส่วนเมืองและทเศลบาลจะมีนายกเทศมนตรีเมืองและนายกเทศมนตรีเทศบาล ขณะที่ในระัดบบารังไกจะมีบูนังหรือ หัวหน้าบารังำก โดยปกติแล้วการจัดโครงสร้างภานในของหน่วยการปกครองท้องถิ่นของฟิลิปปินส์จะมีระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจซึ่งกับและกันระหว่างฝ่ายบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเห็นได้ชัดซึ่งอาจถือได้ว่ามีควมชัดเจินมากกว่าในระดับชาติเสียอีก
- ฝ่ายบริหารท้องถิ่น ในการดำเนินงานและการบริหารจัดการต่างๆ เกี่ยวกบกิจการในท้องถิ่นเป็นภารกิจหลักของทางฝ่ายบริาหร ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกำหนดให้เป็นห้าที่ของผุ้นำของฝ่ายบริหาร หรือหัวหน้าฝ่ายบริหารของหการปกครองท้องถ่ินในแต่ละระดับ ได้แก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัดนายกเทศมนตรีเมือง นายกเทศมนตรีเทศบาล และบูนังหรือหัวหน้า บารังำก ทั้งนี้ ตามประมวลกฎมหายการปกครองท้องถิ่นปี ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้หัวหน้าฝ่ายบริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาล มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคล้ายคลึงกัน ดังนี้
- ควบคุมดุแลการดำเนินงานและการให้บริการต่างๆ ภายในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
- บังคับใช้กฎหมายและพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้องกบกิจการของท้องถิ่นในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและการนำนโยบายต่างๆ ออกไปปฏิบัติบรรลุผล
- การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
- การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
- การจัดบริการขึ้นพี้นฐานและจัดให้มีสาธารณูปโภคที่เพียงพอ
- ทำหน้าที่หรือให้บริการอย่างอื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ในส่วนของอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าฝ่ายบริหารในระดับบารังไกหรือบูนังนั้น ตามประมาบกฎมหายการปกครองท้องถ่ินได้กำหนดให้บูนังหรือผุ้นำในระดับบารังไกมีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ดังนี้
- บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการของบารังไก
- เจรจาและลงนามในสัญญาในนามของบารังไกโดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
- เป็นประธานในที่ประชุมสภาปมู่บ้าน
- แต่งตั้งหรือถอดถอนเจ้าหน้าที่เหรัญญิกซึ่งเป็นผุ้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของบารังไก ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในบารังไก โดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
- เป็นผุ้อนุมัติใบสำคัญที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายของบารังไก
- บังคับใช้กฎหมายหรือข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการควบคุมมลภาวะและการปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
- การจัดให้มีบริการขั้นพื้นฐานและส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปของประชาชนในบารังไก
- เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมกับสภาเทศบาลในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการของบารังไก
- ทำหน้าที่อื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่น โดยทั่วไปสภาท้องถิ่นไม่ว่าจะเป้น สภาสังหวัดสภาเมือง สภาเทศบาล และสภาบารังไก จะกระทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติและอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นตามปกติแล้วสภาท้องถิ่นของหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาลจะประกอบด้วย ประธานสภาซึ่งมีรองผุ้ว่าราชการจังหวัด หรือรองนายกเทศมนตรีเมือง หรือรองนายกเทศมนตรีเทศบาลเป็นประธาน และสมาชิกสภาของท้ถงอ่ินที่มาจาการเลือตั้งของประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน นอกจากนั้นสมาชิกของสภาท้องถ่ินแต่ละระดับยังประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นประทธานสมาคมบารังไก ประธานสภาเยาวชน ประธานสหพันธ์สมาชิกสภาเมืองและเทศบาล (เฉพาะในกรณีของจัวหวัดเท่านั้นป รวมทั้งตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ 3 ภาคส่วน จำนวนรวม 3 คน ได้แก่ ตัวแทนจากกลุ่มผุ้หญิง 1 คน ตวแทนจากกลุ่มผุ้ใช้แรงงานในภาคเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม 1 คน และตัวแทนจากกลุ่มคนชายขอบ 1 คน ในส่วนของสภาบารังไกจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความแตกต่างจากสภาจัวหวัด สภาเมืองปละสภาเทศบาล โดวสภาบารังไกจะมีบูนังหนือหัวหน้าบารังไกทำหน้าที่เป็นประธาน และยังประกอบด้วยสมาชิกสภาบารังไกที่มาจากการเลือกตั้งจำนวนส 7 คน และประธานสภาเยาวชน
อำนาจหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่นโดยทั่วไปมีดังนี้
- ออกและบังคับใชข้อบัญญัติและมติเกี่ยวกับกิจการของท้องถิ่น
- ส่งเสริมแนวทางในการแสวงหารายได้เพื่อนำปพัฒนาท้องถิ่น
- ส่งเสริมสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นผ่านการออกข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่นๆ
- ออกข้อบัญญัติที่ส่งเสริมในเรื่องบริการและส่ิงอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของประชาชนในท้องถิ่น
องค์ประกอบของระบบการปกครองท้องถิ่น
เกณฑ์การจัดตั้งและการยกฐานะ การจัดตั้ง การแบ่งแยก การรวมเข้าด้วยกน การยุบเลิกหรือการเปลี่ยนแปลงเขตของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือบารังไก จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขสำคัญ 3 ประการ คือ
- จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น
- จะต้องได้รับความเห็นชอบจาเสียงส่วนใหญ่ของประชาชนผุ้ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงในการลงประชามติ
- จะต้องไม่ทำให้จำนวนประชากร เขตพื้นที่ หรือรายได้ของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือ บารังไกเดิมลดลงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์
ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 3 ประการ ในการใช้เป็นหลักเกณฑ์สำหรับการจัดตั้งและการยกฐานะหน่วยการปกครองท้องถิ่นจากระดับหนึ่งสู่อีกระดับหนึ่ง ได้แก่ รายได้ จำนวนประชากร เขตพื้นที่ อย่างไรก็ดี ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นแต่ละรูปแบบเอาไว้ในประมวลกฎหมายปกครองท้องถิ่น
ภารกิจและอำนาจหน้าที่
ภารกิจและหน้าที่ของจังหวัด
- การส่งเสริมการเกษตรและการบริการวิจัยในพื้นที่ซึ่งรวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคพืชและสัตว์ ฟาร์มนมตลาดสัตว์ สถานรีผสมพันธุ์สัตว์ และการช่วยเหลือในการจัดตั้งสหกรณ์สำหรับเกษตรกรและชาวประมง หรือองค์กรอื่น รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี
- บริการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม รวมทั้งการถ่อยทอดเทคโนโลยี
- ภายในกรอบนโยบายของชาติและการกำกับดูแลของกระทรวงสิ่งเวแดล้อมและทรัพยากรธรรมชาิต จังหวัดมีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายป่าไม้ที่เกี่ยวกับป่าชุมชน กฎหมายควบคุมมลภาวะกฎหมายเหืองแร่ขนาดย่อม และกฎหมายอื่นๆ ที่ใช้ปกป้องสภาพแวดบล้อม และโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดย่อมในเขตพื้นที่
- บริการสนับสนุนการลงทุน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินกู้, ปรับปรุงบริการข้อมูลภาษีอากรและการเก็บภาษีโดยใช้คอมพิวเตอร์
- บริการโทรคมนาคมระวห่างเทศบลาลภายในกรอบนโยบายของรัฐ,โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
ภารกิจของเมือง
- บลริการที่เทศบาลและจังหวัดดำเนินการทั้งหมดและการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารและคมนาคมที่เพียงพอ,สนับสนุนการศึกษ การตำรวจ และการดับเพลิง
ภารกิจของเทศบาล
- บริการและการอำนวยความสะดวกเรื่องการส่งเสริมการเกษตรและการวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวกับงานเกษตรกรรมแลการประมง ซึงรวมถปถึงการแจกจ่ายพันธุ์และพันธ์ุพืช สวยสมุนไพร สวนเพาะพันธุ์พืช หาร์มสาธิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต ระบบชลประทานระหว่างหมู่บ้าน โครงการใช้ทรัพยากรและอนุรักษ์ดินและน้ำการบังคับใช้กฎหมายประมงในน่านน้ำเทศบาล รวมทั้งการอนุรักษ์ป่าชรายเลน
- เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติและขึ้นกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เทศบาลดำเนินการโครงการป่าชุมชน จัดการและควบคุมป่า ซึ่งมีพื้นที่ไม่เกิน 50 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งสวนเขตพื้นที่สีเขียว และดครงการพัฒนาป่าไม้อื่นๆ
- ภายใต้กรอบระมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น จัดลริการสุขภาพซึ่งวมถึงโครงการสาธารณสูขมูลฐานการดูแลแม่และเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การจัดบริการอนามัย
- การจัดสวัสดิการสังคม ซึ่งรวมถึงโครงการสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน ครอบครัว สตรี ผุู้งอายุ คนพิการ โครงการฟื้นฟูชุมชน สำหรับบุคคลเร่ร่อน ขอทาน เด็กกลางถนน เด็กเหลือขอ ผุ้ติยา และโครงการสำหรับผุ้ยากไร้อื่น บริการโภชนาการและวางแผนครอบครัว
- บริการข่าวสารข้อมูลซึ่งรวมถึงข้อมูลเร่องการลงทุนและหางานข้อมูลเกี่ยวกบระบบภาษีอากรและการตลาด และห้วอสมุดสาธารณะ
- ระบบกำจัดขยะและการจัดการสภาพแวดล้อมรวมทั้งระบบและสิ่งทำนวยความสะดวกด้านสุขภาพอนามัย
- อาคารเทศบาล ศูนย์วัฒนธรรม สวนสาธารณะรวมถึงสรามเด็กเล่น อุปกรณืและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการกีฬาและอื่นๆ โครงสร้างพื้นฐานซึ่งตอบสนองความต้องการของผุ้อยู่อาศัยในเทศบาล เช่นถนนและสะพาน ชุมชน โครงการแหล่งน้อขนาดย่อมบ่อน้ำ
- ระบบการเก็บน้ำผนและการประปา การระบายน้ำการควบคุมน้ำท่วม สัญญาจราจรและถนน และอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน, ตลาดสาธารณะ โรงฆ่าสัตรว์ และกิจการเทศบาลอื่น, สุสานสาธารณะ, สิ่งอำนวยควาสะดวกด้านการท่องถิที่ยว ซึ่งรวมถึงการอกกฎระเบียบและกำกับดูแลกรดพเนินธุรกิจและบริการรักษาความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง, สถานีตำรวจและดับเพลิง สถานีย่อย และที่คุมขัวของเทศบาล
ภารกจิของปมู่บ้านหรือบารังไก
- บริการสนับสนุนการเกษตร ซึงรวมถึงระบบแจกจ่ายวัสดุเืพ่อการเพาะปลูก และการจัดารสถานีผลิตรวบรวมแลซื้อผลิตผลการเกษตร, บริหการสุขภาพและสวัสดิการสังคมซึ่งรวมถึงการรักษาดูแลศูนย์อนามยและศูนย์ดูแลเด็กของหมู่บ้าน, บริการและการอำนวยความสะดวกซึ่งเงกี่ยวกบสุขอนามัย การสร้างความสวยงาม แฃะการเก็บขยะ
- การบำรุงรักษาถนน สะพาน และระบบส่งน้ำ, โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศาลอเนกประสงค์ทางเดิน ศูนย์กีฬาและอื่นๆ , ศูนย์ข้อมูลและที่อ่านหนังสือและตลาด
ระบบภาษีและกาีคลังของ้องถ่ิน
ภาษีและรายได้ของ้องถิ่น ตามประมวลกฎหมายการปกครองทอ้งถ่ินได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถ่ินแต่ละระดับมีอำนาจที่จะกำหนดแหล่งที่มาของรายได้ อัตราภาษีค ค่าธรรมเนียม และค่าบริการของท้องถ่ินได้เอง ทั้งนี้ ภาษีอากร ค่าะรรมเนียม และค่าบริการที่ท้องถ่ินจัดเก็บได้ดังหลาว ให้ถือเป็นรายได้ของแต่ละหน่วยการปกครอง ท้องถ่ิน โดยมีหลัการพื้นฐานในการจัดเก็บดังต่อไปนี้
- การจัดเก็บภาษีของหน่วยการปกครอง้ถงอถ่ินในแต่ละระดับ จะต้องเป็นไปในรูปแบบเดี่ยวกัน
- ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และรายได้อื่นๆ จะต้องมีลักาณะดังนี้ เป็นธรรมและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายภาษีของผุ้เสียภาษี ต้องเป้นการจัดเก็บไปเพื่อสาธารณะประโยชน์เท่านั้น, ไม่ปรับเปลี่ยนง่าย ไม่มาเกินไป ไม่เป็นการกดขี หรือไม่เป็นการบังคับ, ไม่ขัดต่อกฎหมาย นโยบายสาธารณะ นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือเป้นการกีอกันทางการค้า
- การจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการและรายได้อื่นๆ ของท้องถ่ิน จะต้องไม่อยู่ในอำนาจของเอกชน
- รายได้ซึ่งได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และอื่นๆ ต้องเป็นไเพื่อประโยชน์ของหน่วยการปกครองท้องถ่ินวึ่งเป็นผุ้จัดเก็บและหากเป็นไปได้ให้ใช้อัตราภาษีก้าวหน้า...
การบริหารการคลังท้องถิ่น การบริหารด้านการคลังของท้องถิ่นเป็นไปตามหลัการพื้นฐานภายใต้ประมวบกฎมหายการปกครองท้องถิ่น ดังนี้
- ห้ามจ่ายเงินท้องถ่ินเว้นแต่ที่กำหนดโดยกฎหมาย ,การใช้จ่ายของท้องถ่ินต้องเป็นไแเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น, รายได้ท้องถิ่นต้องมาจากแหล่งเงินที่กำหนดไว้ชัดเจนตามกฎมหาย และต้องมีการรับรู้การเก็บภาษีอย่างเหมาะสม, เงินทุกประเภทที่พนักงานท้องถ่ินได้รับมาอย่างเป็นทางการทั้งจากฐานะตำแหน่งหรือในโอกาศที่เป็นทางการ ต้องถือว่าเป็นเงินทุนท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่กำหนดไว้ตากฎหมาย, ห้ามใช้จ่ายเงินจากกองทุนของท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนดังกล่าว, พนักงานทุกคนของหน่ยการปกครองท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่เก็บรักษาหรือดูแลกองทุนให้ปลดอภัยและสอดคล้องกับกฎหมาย, รัฐบาลท้องถิ่นจะมีแผนการคลังที่ดีและวงประมาณท้องถิ่นต้องเป้นไปตามหน้าที่ กิจกรรมและโครงการให้สอดค้องกับผลที่คาดหวัง, เป้ามหายและแผนท้องถ่นต้องสอดคล้งกับแผนเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติเืพ่อให้หใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุดและหักเลี่ยงความซ้ำซ้อนในการใช้ทรัยากรการเงินและวัตถุ, งบประมาณท้องถิ่นจะต้องสับสนุนแผนกพัฒนาท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกันว่างวบประมาณของตนเป็นไปตามเงื่อนไขความต้องการของหน่วยย่อยของตน และมีการกรจายพทรัพยากรระหว่างหน่ยย่อยอย่งเท่าเที่ยมกัน, การวางแผนระดับชาติต้องพิจารณรจากากรวางแผนท้องถ่ินเพื่อประกันว่ากความต้องการและความปรารถนาของประชาชนซึ่งหน่วยการปกครองท้องถ่ินระบุไว้ไดรับกาพิจารณในการกำหนดวบประมาณสำหรับส่วนราชการของรัฐ, ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันทางการเงินระหว่งผุ้ที่มีอำนาจในการเงิน การถ่ายโอน และการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น, หน่วยการปกครองท้องถ่ินจะต้องใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดงบประมาณสมดุลในแต่ละปีงบประมาณ
การบริหารงานบุคคลของการปกครอง หน่วยการปกครองท้องถ่ินทุกระดับจะต้องมีการจัดวางโครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของตนเอง โดยคำนึงถึงความจำเป้ฯในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน รวมทั้งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานขึ้นต่ำและแนวทางที่คณะกรรมการข้ารตาชการพลเรือนกำหนด การบริหารงานบุคคลท้องถ่ินของประเทศฟิลิปปินส์อาจมีความแตกต่างกันออกไปตามแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่ินบางแห่งนายกเทศมนตรีตั้งคณะกรรมการบริาหรงานบุคคลดูแลบางแห่งนายกเทศมนตรีดุแลเอง และเนื่องจากมีการบริหารงานบุคคลแยกจากกัน การโอนย้ายระหว่างทองถ่ินจึงทำได้ยาก เงินเดือนค่าตอบแทน ก็ต่างกันออกไป ถึงแม้จะมีโครงสร้างระดับเงินเดือนกลางแต่ท้องถ่ินก็เลือกใช้ได้ภายในกรอบ ผลคื อท้องถ่ินที่มีฐานะดีก็สามารถจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานของตนได้ดี ส่วนท้องถ่ินที่มีานะดีก็สาารจ่ายค่าตอบแทนใหแก่พนังกานของนไดด้ดี สวนท้องถ่ินยากจนำ็มไ่สามรถจ่ายค่าตอบแทนได้สูง การขึ้นเงินเดือนขึ้นกับความสามารถในการจ่ายเงินของท้องถ่ินแต่ละแห่ง
การบริหารงานบุคคลที่เป็นอยู่ไม่ส่งเสริมให้มีการเปลี่ยนขันเลือนตำแหน่ง เพราะเป็นระบบที่แต่ละหน่วยการปครองท้องถิ่นดำเนินการเองเป็ฯเอกเทศ มิใช่ระบบบริหารงานบุคคลระดบชาติอย่างเช่นประเทศไทย การโยกย้ายระหว่างหน่วยการปกคอรงท้องถ่ินจึมไม่มากนัก หากจะเป้นการยืมตัวก็ไปในระยะสั้น เช่น ไม่เกิน 3 เดือน ดังนั้น แม้มีกฎหมายกำหนดว่าข้าราชการที่ถูกส่งไปเป็นพนักงานท้องถ่ินจะได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าเดิม แต่ก็ไม่มีแรงจูงใจ เพราะการเปลื่นตำแหนงในแต่ละท้องถ่ินที่จำกัดมากจึงมีความพยายามให้มีการรวมอำนาจการบริหารบุคคลไปอยู่ที่ส่วนกลาง
เจ้าหน้าที่ของหน่วยการปกครองท้องถิ่น จะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ 2 ประเภท คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเมืองหรือเจ้าหน้าที่มี่มาจากากรเลือกตั้ง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำหรือเจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง ดังนี้
- เจ้าหน้าที่ที่ทมาจากการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งของหนวยการปกครองท้องถิ่นทุกแห่ง จะประกอบด้วย ตำแหน่งต่างๆ ทั้งในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติัญญัติ ฝ่ายบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งต่างๆ ได้แ่ก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัด และรองผุ้ว่าราชการจังหวัด, นายกเทศมนตรีเมือง และรองนายกเทศมนตรีเมือง, นายกเทศมนตรีเทศบาล และรองนายกเทศมนตรีเทศบาล บูนัง หรือหัวหน้าหมู่บ้านตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าว จะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตของแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่น โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสมารถดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิดน 3 วาระ
ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ ตำแหน่งต่าง ดังนี้ สมาชิกสภาจัวหวัด, สมาชิกสภาเมือง,สมาชิกสภาเทศบาล, สมาชิกสภาบารังไก,สมาชิกสภาเยาวชนบารังไก ตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าวจะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสามาระดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ เช่นเดียวกบฝ่ายบริหาร
การดำเนินการทางวินัย เจ้าหน้าที่ที่มาจกากรเลือกต้งอาจถูกดำเนินการทางวินัย ถูกพักงาน หรือให้พ้นจากตำแหน่งในการณ๊ใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่จงรักภักดีต่อประทเศาสะารณรัฐฟิลิปปินส์ ไม่ซื่อสัตย์ กดขี ประพฤติตัวไม่เหมาสม ไม่สนใจในการปฎิบัติงานหรือการทอดทิ้งหน้าที่ กระทำความผิดทางศีลธรรมอย่างร้ายแรง หรือกระทำความผิดที่มีโทษถึงจำคุก ใช้อำนาจในทางที่ผิด การขาดงานโดยไม่รับอนุญาตเป็นเวลาเกินกว่า 15 วั ยกเว้น สำหรับกรณีของสมาชิกสภา จังหวัด สมาชิกของสภาเมือง สมาชิกของสภาเทศบาล และสมาชิกสภาบารังไก การรับสมัครหรือการได้รับสัญชาติ หรือมีที่อยู่อาศัย หรือมีสภาพเป็นผู้อพยพของประเทศอื่น เจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งที่กระทำความผิดในดรณีต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น อาจถูกให้พ้นจากดำแหน่งก็โดยคำสั่งของศาล
การถอดถอนออกาจากตำแหน่ง อำนาจในการถภอดถอนออกจากตำแหน่งอันเนื่องมาจากขาดความไว้วางใจ จะเป็นอำนาจของประชาชนผุ้มีสิทธิออกเสยงเลือกตั้งขององค์กรปคกรองสส่วนท้องถิ่นที่เลือกตั้งจากเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งในตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งอาจกระทำได้โดย จัดใไ้มีการประชุมในที่สาธารณะ เพื่อพิจารณาเสนอให้มีการถอดถอนเจ้าหน้าท่คนใดคนหนึ่งออกจาตำแน่ง รห ผุ้มีสิทธิออกเสียไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของผุ้มีสทิธิออกเสียงเลือกตั้งในเขตของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นๆ เสนอให้มีการถอดถอนออกจาตำแหน่ง คณะกรรมการเลือกตัั้งหรือผุ้แทจะพิจารณาตรวจสอบคำร้องหากเห็นว่าถูกต้องก็จะรับไว้พิจารณาต่อไป ในระหว่างนั้นคณะกรรมการการเลือกั้งหรือผุ้แทน จะประกาศรับมัครผุ้ที่มาดำรงตำแหน่งแทน โดยผุ้ที่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนจากตำแหน่ง ก้จะเป็หนึ่งในรายชื่อผุ้มีสิทธิที่จะได้รับเลือกตังใหม่ด้วย หลังจากนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจะดำเนินการเลือกตั้งผุ้ที่จะมาดำรงตำแน่งอทนผุ้ที่ถูกเสนอให้ถอดถอน
การถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่ทมาจาการเลือกตั้ง จะมีผลก็ต่อเมือได้มีการเลอกตั้งและประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว โดดยผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งที่มีคะแนนสูงสุดเท่านั้นที่จะได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ถ้าหากผุ้ที่เสนอให้ถอดถอนได้คะแนนสูงสุด ก็จะสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป และจะไม่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนอีกไปจนครบวาระการดำรงตำแหนงของเจ้าหน้าที่นั้นๆ
- เจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือตำแหน่งที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทุกประเภทต้องมีเหมือนๆ กัน และตำแหน่งที่จะมีเพ่ิมเติมตามความจำเป็นในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแตละหน่ยการปกครองท้องถิ่น นอกจากตำแหน่งที่จำเป็นหรืออาจจะต้องมีประจำตามหน่วยการปกครองท้องถิ่นแล้ว ตำแหน่งอื่นๆ หัวหน้าฝ่ายบริหารของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ินจะเป็นผุ้พิจารณาแต่งตั้งตามดครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลัเจาหน้าที่ของตนเอง ซึงจะพิจารณากำหนดโดยคำนึงถึงความจำเป้นในการให้บริการและควมสามรถทางการเงินของแต่ละหย่ายการปกครองท้องถ่ิน ส่วนการบรรุจุแต่งตั้งและการดำเนินการทางวินัยนัน จะต้องเป็นไปตามมาตฐานขึ้นต่ำและแนวทางทีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนกำหนด ยกเว้น การบรรจุแต่งตังลูกจ้างในกรณีฉุกเฉินหรือลูกจ้างชั่วคราว ไม่ต้องดำเนินการตามแนวทางที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรือกำหนด
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณะรัฐฟิลิปปินส์", ณัฐธิดา บุญธรรม, วิยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาับพระปกเกล้า, 2556.
ในปัจจุบันหน่วยการปกครองท้ถงอิ่นของฟิลิปปินส์มี 4 ประเภท ได้แก่ จังหวัด จำนวน 80 แห่ง, เมือง 143 แห่ง, เทศบาล 1,491 แห่ง, และหมู่บ้านหรือบารังไก 42,028 แห่งนอกเหนือจากนี้ ได้มีการจัดตั้งแขตการเมืองพิเศษแยกออกมาต่างหาก ซึ่งประกอบด้วย
- เขตนครหลวงแห่งชาติและหน่วยงาานพัฒนามะนิลา ซึงประด้วยเมือง 16 แห่ง และเทศบาล 1 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมการประสานงานและความมีประสทิะิภาพในการให้บริการในเขตนครหลวง
- เขตปกครองอิสระในชุมชนมุสลิมมินดาเนา ซึ่งประกอดบ้วยจังหวัด 5 จังหวัด รวมตัวกันเพื่อตอบสนองปัญหาเฉพาะด้านสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ดังกล่าว
- เขตบริหารพิศษในชุมชนคอร์ดิลเลร่า ประกอบด้วยจังหวัด 5 จังหวัด
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องุถิ่นของประเทศฟิลิปปิส์ในปัจจุบัน มีการจัดโครงสร้างเป็นระบบ 3 ชั้น ซึ่งประกอบด้วย จังหวัด เมืองและเทศบาล และหมู่บ้านหรือบารังไก อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็นเมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง ตามที่กฎหมายกำหนด หรือเมืองที่กฎหมายห้ามมิใหผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเลือกเจ้าหน้าที่ของจังหวัด หรือที่เรียกว่า เมืองที่เป็นอิสระ จะไม่ได้อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด แต่กฎหมายกำหนดให้ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอุ่ินในระดับกลาง เมืองประเภทนี้ถือได้ว่าเป็หน่วยการปกครองท้องถ่ินในระดับบลน ซึ่งเป็นระบบการปกครองท้องถ่ินแบบ 2 ชั้น
- จังหวัด เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินระดับบนสุด ปัจจุบัยมีจำนวนทั้งสิ้น 80 จังหวัด ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดีหรือรัฐบาลกลาง มีอำนาจในการกำกับดูแลเทศบาลและเมืองในเขตพื้นที่ท่ี่รับผิดชอบ เพื่อให้แน่ใจว่าการดำเนินการของเมืองและเทศบาลในความรับผิดชอบอยู่ในชขอบเขตอำนาจและภาระหน้าที่ของแต่ละองค์กร ตามีได้กำหนดไว้หรือไม่ ทั้งนี้ เมืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูง และเมืองที่เป็นอิสระจะมีความเป็นอิสระจากจังหวัด กล่าวคือ ไม่ต้องขึ้นตรงกับจังหวัด แต่จะขคึ้จรงกับรัฐบาลกลาง
จังหวัดแต่ละจังวหวักจะมัผุ้ว่าราชการจัวหวัดที่มาจากากรเลือกตั้งดดยตรงจากประชานทำน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่าบริหารและมีสภาจังหวัดที่มีชื่อเรียกเป็นภาษาฟิลิปปินส์ว่า แซงกูเนียง พันลาลาวิแกน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน เช่น เดี่ยวกับ กระทำหน้าที่ท่างฝ่ายนิติยบัญญัติ และอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในจังหวัด ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของจังหวัดโดยการพิจารณาจากรายได้ต่อปีของจังหวัด
- เมือง เมืองเป็นหนึ่งในหน่วยงการปกครองท้องถ่ินของฟิลิปปิสน์ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 143 แห่ง มีอำนาจเหนือบารังำก ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด ในกรณีที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวด เมืองจะมีสถานะเป้นหน่ยการปกครองชั้นที่ 2 รองจากจังหวัด แต่ถ้าเมืองที่เป็ฯอิสระจากจังหวัดยังมีความรับผิดชอลในการให้บริการพื้นฐานต่าง เช่นเดี่ยวกับเทศบาลทั้งหลายอีกด้วย เช่น ตำรวจ ดับเพลิง การจัดการสาธารณประโยชน์ ทั้งหลายในเขตพื้นที่ การรักษาความสะอาด และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่ใช้เงินงลบประมาณของเมือง เช่น ดรงเรียนมัธยม โรงพยาบาล และสวนสาธารณะ ประเภทของเมืองแบ่งเป็น
เมืองในเขตชุมนหนาแน่นสูง คือเมืองที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่อย่างน้อย 200,000คน โดยมีคำรับรองจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ และจะต้องมีรายได้ยอ่งน้อยปีละ 50 ล้าเปโซ โดยมีการับรองจาเหรัญญิกประจำเมือง ในปัจจุบลันเืองในเขตชุมชนหนาแน่นสูงมีจำนวนทังสิ้น 33 แห่ง ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีเมืองที่ตั้งอยู่ในเขตมหานครมะนิลา 16 แห่ง
เมืองที่เป็นอิสระ คือ เมืองที่กฎหมายห้ามิให้ผุ้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผูว่าราชการจังหวัด และตำแหน่งทางการเมืองอื่นๆ ในระดับจังหวัด รวมทั้งมีความเ็นอิสระไม่ต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด
เมืองที่อยู่ภายใต้การกำกับของจัวหวัด คือ เมืองที่ไม่ได้อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ต่างๆ ดังเช่นเืองที่กล่าวมาในข้างต้นเมืองประเภทนี้กฎหมายกำหนดให้ประชานมีสิทธิเลือกตังตำแหน่งทางการเมืองในระดับจัวหวัดได้ ทั้งนี้ ถ้าเมืองใดตั้งอยู่บนพรมแดนของจังหวัดตั้งแต่ 2 จังหวัดขึ้นไป ให้ถือว่าเป็นเมืองที่อยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของจัวหวัดที่เมืองนั้นเคยเป็นเทศบาลมาก่อน ส่วนรูปแบบการบริาหรของเมืองทุกประเภทนั้นจะประกอบด้วยฝ่ายบริหารและฝ่านนิติบัญัติที่มาตจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน หัวหน้าฝ่ายบริหารของเมือง เรียกว่านายกเทศมนตรี ส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเมือง นั้น จะมีรองนายกเทศมนตรีเป็นประธาน ทุกๆ 3 ปีจะมีการจัดลำดับชั้นของเมืองใหม่ โดยพิจารณาจากรายได้
- เทศบาล เทศบาล หรือบาที่ก็เรียกว่า มูนิสซิปะโย ในภาษาตากาล็อค เป็นหน่วยการปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการกครองนองและมีความเป็นอิสระจากรัฐบาลกลางเช่นเดี่ยวกับจังหวัดและเมือง โดยรัฐบาลมีหน้าที่เพียงให้ความช่วยเหลือและดูแลการปกครองท้องถ่ิน เพื่อให้แน่ใจว่าเทศบาลไม่ได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายของประเทศ เทศบาลจะกำกับดูแลปมู่บ้านหรือบารังไกในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอลเช่นเดี่ยกับเมือง ทั้เงี้ นอกจาเทศบาลจะเป็นหน่วยย่อยทางการเมืองของรัฐ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในกาจัดลบริการแก่ท้องถิ่นบังคับใช้กฎหมายทั้งกฎหมายของประทเศและกฎหมายเกี่ยวกับกิจการของท้องถ่ิน และทำหน้าที่อื่นซึ่งรัฐบาลกลางหรือรัฐสภากำหนดเป็นกฎหมายให้ปฏิบัติลแ้ว เทศบาลยังมีสถานะเป็นจิติตบุคคล โดยสามารถดำเนินากรทำสัญญา และการติดต่อร่วมลทุนทางธุรกิจกับเอกชน รวมถึงหารายได้จากากรจัดเก็บภาษีท้องถ่ิน
เทศบาลมีการแบ่งอำนาจการปกครองออกเป็นฝ่ยบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติ และมีการตวนจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกันซึ่งใีควาชัดเจนกว่าการถ่วงดูลกันระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ยนิติบัญญัติในระดับชาติ ส่วนอำนาจทางฝ่ายตุลากรนั้นอยุ่ที่อำนาจของศาลในระดับประทเศ
เทศบาลมีนายกเทศมนตรี ที่มาจาการเลือตั้งโดยตรงจากประชาชน ทำหน้าที่เป็ฯหัวหน้าฝ่ายบริหารส่วนฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาเทศบาล ก็มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากประชาชนเช่นกัน มีรองนายกเทศมนตรีที่ทำหน้าที่เป้นประธนสภาเทศบาล
เมื่อเทศบาลมีขนาดใหญ่ขึ้นก็สามารถขยับฐานะขึ้นไปเป็ฯเมืองได้ โดยสภาคองเกรศออกเ็นกฎหมายเสอนไปยังประธานาธิบดี หลังจากนั้นจึงให้ประชาชนลงประชามติว่าจะยอมรับความเป้นเมืองหรือไม่ ข้อดีประการหนึ่งของการเป็นเมืองก็คือจะทำให้ได้รับวลประมาณเพ่ิทขึ้น แต่ท้งนี้ประชาชนก็ต้องเสียภาษีมากขึ้นเช่นกัน และเช่นเดียวกัน ทุกๆ 3 ปี จะมีการจัดลำดับชั้นของเทศบาล ดดยพิจารณาจากรายได้ต่อปีของเทศบาล
- หมู่บ้านหรือบารังไก ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้บารังไกเป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่ินในระดับที่เล็กที่สุดซึ่งปัจจุบับยประเทศฟิลิปปินส์มีหน่วยการปกครองระดับนี้อยู่ทั้งสิ้น 42,028 แห่งทั่วประเทศ ทั้งนี้ปรธานาธิบดีแมกไซไซเคยกล่าวไว้ว่า "บารังไกเปรียบเสมือนรากหญ้าของการปกครองระบอบประชาธิปไตยของฟิลิปปินส์ เพราะเป็นหน่วยการปกครองระดับย่อยที่มีความผุกพันและใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด"
บารังไกเป็นหน่วยกาปกครองท้องถ่ินที่มีอำนาจในการปกครองตนเอง โดอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของเมืองหรือเทศบาลบารังไกเกิดขึ้นโดยรัฐสภาออกเป็นกฎหมาในกาจัดตัเ้งหรือพระราชบัญญัติที่ออกโดยสภาจัวหวัดหนือสภาเมือง และด้วยความเห็ฯชอบจากสภาเทศบาล ดดยบารังไกจะต้องอยู่ในเขตเมืองหรือเทศบาล และภายในบารังไกโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทยังได้มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็หน่วยย่อยๆ เรียกว่า บูร้อก และซิติโอ แต่ภายในหน่ยย่อยเหล่านี้ไม่มีผุ้นำที่มาจากากรเลอตั้งอย่งเป็นหทางการ ทั้งนั้ บารังไกหนึ่งๆ จะจ้องมีจำนวนประชกรตั้งแต่ 500 ครัวเรือนขึ้นไป กต่ไม่เกิด 1,000 ครัวเรือน จึงจะตั้งขึ้นเป็นบารัไกได้
ส่วนรูปแบบการบริาหรงานของบรังำกนั้นประกอบด้วยฝ่ยบริหารท่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงของประชาชน จะมีปูนง หรือหัวหน้าบารังไก ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริาหรของบารังไก ส่วยฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาบารังไก จะประกอบด้วย สมาชิกสภา หมู่บ้าน ที่มาจากากรเลือตั้งโดยตรงจากปรชาชนจำนวน 7 คน และประธานสภาเยาวชน จำนวน 1 คน รวมเป็น 8 คน โดยมีบูนังหรอหัวหน้าบารังไกทำห้าที่เป็นประธาน ในส่วนของการแห้ปัญหาความขัแย้งภายในบารังไกนั้น ได้มีการจัดตั้งระบบยุติธรรมระดับบารังไก หรือมีที่ชื่อเรียกในภาษา ฟิลิปปินส์ว่า คาตารุงกัง ปัมบารังไก ขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่ประกอบไปด้วย คณะบุคคลที่เรียกว่า ลูปอง ทากาปารมายาปา หรือ ลูปง ซึ่งอาจแปลง่ายๆ ว่า คณะกรรมการแสวงหาสันติภาพ มีจำนวน 10-20 คนทำน้าที่เป็นกรรมการ และมีประะานคณะกรรมการอีก 1 คน คาตารุงกัง พัมบารังไก คือ ระบบการแก้ปัญหาข้อพิพาท ณ หน่วยที่เป้ฯพื้นฐญานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของรัฐ นั่นคือระดับบารังไกหรือปมู่้าน ระบบนี้เป็นระบบยุติธรรมที่ยึดแนวทางของการปรึกษาหารือการสานเสวนา การเจรจาไกล่เหลี่ย หรือการประนีประนอม ทั้งน้ มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะบรรลุข้อตกลงอย่างแันท์มิตร แทนการนำคดีความและข้อพิพาทต่างๆ เข้าสู่กระบวนกาพิจารณาของศาล
เนื่องจากบารังไกเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับประชาชมากที่สุ บารังไกจึงถูกออกแบบให้เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่พึ่งตนเอง กระทำหน้าที่ในการพัฒนาชุมชน สภาบารังไกมีอำนาจในการหารายได้เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน เช่น อำนาจในการเรียกเก็บภาษี เป็นต้น
โครงสร้างภายในหน่วยการปกครองท้องถิ่น การจัดโครงสร้างภายในของหน่วยการปกครองท้ถงิ่นของประเทศฟิลิปปินส์ทั้ง 4 รูปแบบจะมีการแยกกันอย่างชัดเจนระหว่างฝ่ายนิติรบัญญัติ(ซึ่งจะมีสภของท้องถ่ินโดยที่สามาชิกสภาจะมาจากการเลือกตั้งและฝ่วบริาหรจะมีผุ้ว่าราชการจังหวดสำหรับการปกครองท้องถ่ินในระดับจังหวัด ส่วนเมืองและทเศลบาลจะมีนายกเทศมนตรีเมืองและนายกเทศมนตรีเทศบาล ขณะที่ในระัดบบารังไกจะมีบูนังหรือ หัวหน้าบารังำก โดยปกติแล้วการจัดโครงสร้างภานในของหน่วยการปกครองท้องถิ่นของฟิลิปปินส์จะมีระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจซึ่งกับและกันระหว่างฝ่ายบริาหรและฝ่ายนิติบัญญัติอย่างเห็นได้ชัดซึ่งอาจถือได้ว่ามีควมชัดเจินมากกว่าในระดับชาติเสียอีก
- ฝ่ายบริหารท้องถิ่น ในการดำเนินงานและการบริหารจัดการต่างๆ เกี่ยวกบกิจการในท้องถิ่นเป็นภารกิจหลักของทางฝ่ายบริาหร ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกำหนดให้เป็นห้าที่ของผุ้นำของฝ่ายบริหาร หรือหัวหน้าฝ่ายบริหารของหการปกครองท้องถ่ินในแต่ละระดับ ได้แก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัดนายกเทศมนตรีเมือง นายกเทศมนตรีเทศบาล และบูนังหรือหัวหน้า บารังำก ทั้งนี้ ตามประมวลกฎมหายการปกครองท้องถิ่นปี ค.ศ. 1991 ได้กำหนดให้หัวหน้าฝ่ายบริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาล มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคล้ายคลึงกัน ดังนี้
- ควบคุมดุแลการดำเนินงานและการให้บริการต่างๆ ภายในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
- บังคับใช้กฎหมายและพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้องกบกิจการของท้องถิ่นในขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและการนำนโยบายต่างๆ ออกไปปฏิบัติบรรลุผล
- การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
- การเก็บภาษีและสร้างแหล่งรายได้ของตนเอง
- การจัดบริการขึ้นพี้นฐานและจัดให้มีสาธารณูปโภคที่เพียงพอ
- ทำหน้าที่หรือให้บริการอย่างอื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ในส่วนของอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าฝ่ายบริหารในระดับบารังไกหรือบูนังนั้น ตามประมาบกฎมหายการปกครองท้องถ่ินได้กำหนดให้บูนังหรือผุ้นำในระดับบารังไกมีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ดังนี้
- บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการของบารังไก
- เจรจาและลงนามในสัญญาในนามของบารังไกโดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
- เป็นประธานในที่ประชุมสภาปมู่บ้าน
- แต่งตั้งหรือถอดถอนเจ้าหน้าที่เหรัญญิกซึ่งเป็นผุ้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของบารังไก ตลอดจนเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในบารังไก โดยความเห็นชอบของสมาชิกสภาหมู่บ้าน
- เป็นผุ้อนุมัติใบสำคัญที่เกี่ยวกับการใช้จ่ายของบารังไก
- บังคับใช้กฎหมายหรือข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการควบคุมมลภาวะและการปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
- การจัดให้มีบริการขั้นพื้นฐานและส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปของประชาชนในบารังไก
- เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมกับสภาเทศบาลในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการของบารังไก
- ทำหน้าที่อื่นซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่น โดยทั่วไปสภาท้องถิ่นไม่ว่าจะเป้น สภาสังหวัดสภาเมือง สภาเทศบาล และสภาบารังไก จะกระทำหน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติและอนุมัติวบประมาณเพื่อสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นตามปกติแล้วสภาท้องถิ่นของหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับเมืองและเทศบาลจะประกอบด้วย ประธานสภาซึ่งมีรองผุ้ว่าราชการจังหวัด หรือรองนายกเทศมนตรีเมือง หรือรองนายกเทศมนตรีเทศบาลเป็นประธาน และสมาชิกสภาของท้ถงอ่ินที่มาจาการเลือตั้งของประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน นอกจากนั้นสมาชิกของสภาท้องถ่ินแต่ละระดับยังประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นประทธานสมาคมบารังไก ประธานสภาเยาวชน ประธานสหพันธ์สมาชิกสภาเมืองและเทศบาล (เฉพาะในกรณีของจัวหวัดเท่านั้นป รวมทั้งตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ 3 ภาคส่วน จำนวนรวม 3 คน ได้แก่ ตัวแทนจากกลุ่มผุ้หญิง 1 คน ตวแทนจากกลุ่มผุ้ใช้แรงงานในภาคเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม 1 คน และตัวแทนจากกลุ่มคนชายขอบ 1 คน ในส่วนของสภาบารังไกจะประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความแตกต่างจากสภาจัวหวัด สภาเมืองปละสภาเทศบาล โดวสภาบารังไกจะมีบูนังหนือหัวหน้าบารังไกทำหน้าที่เป็นประธาน และยังประกอบด้วยสมาชิกสภาบารังไกที่มาจากการเลือกตั้งจำนวนส 7 คน และประธานสภาเยาวชน
อำนาจหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติท้องถิ่นโดยทั่วไปมีดังนี้
- ออกและบังคับใชข้อบัญญัติและมติเกี่ยวกับกิจการของท้องถิ่น
- ส่งเสริมแนวทางในการแสวงหารายได้เพื่อนำปพัฒนาท้องถิ่น
- ส่งเสริมสวัสดิการของประชาชนในท้องถิ่นผ่านการออกข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่นๆ
- ออกข้อบัญญัติที่ส่งเสริมในเรื่องบริการและส่ิงอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานของประชาชนในท้องถิ่น
องค์ประกอบของระบบการปกครองท้องถิ่น
เกณฑ์การจัดตั้งและการยกฐานะ การจัดตั้ง การแบ่งแยก การรวมเข้าด้วยกน การยุบเลิกหรือการเปลี่ยนแปลงเขตของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือบารังไก จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขสำคัญ 3 ประการ คือ
- จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น
- จะต้องได้รับความเห็นชอบจาเสียงส่วนใหญ่ของประชาชนผุ้ซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรงในการลงประชามติ
- จะต้องไม่ทำให้จำนวนประชากร เขตพื้นที่ หรือรายได้ของจังหวัด เมือง เทศบาล หรือ บารังไกเดิมลดลงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์
ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 3 ประการ ในการใช้เป็นหลักเกณฑ์สำหรับการจัดตั้งและการยกฐานะหน่วยการปกครองท้องถิ่นจากระดับหนึ่งสู่อีกระดับหนึ่ง ได้แก่ รายได้ จำนวนประชากร เขตพื้นที่ อย่างไรก็ดี ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นแต่ละรูปแบบเอาไว้ในประมวลกฎหมายปกครองท้องถิ่น
ภารกิจและอำนาจหน้าที่
ภารกิจและหน้าที่ของจังหวัด
- การส่งเสริมการเกษตรและการบริการวิจัยในพื้นที่ซึ่งรวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคพืชและสัตว์ ฟาร์มนมตลาดสัตว์ สถานรีผสมพันธุ์สัตว์ และการช่วยเหลือในการจัดตั้งสหกรณ์สำหรับเกษตรกรและชาวประมง หรือองค์กรอื่น รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี
- บริการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม รวมทั้งการถ่อยทอดเทคโนโลยี
- ภายในกรอบนโยบายของชาติและการกำกับดูแลของกระทรวงสิ่งเวแดล้อมและทรัพยากรธรรมชาิต จังหวัดมีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายป่าไม้ที่เกี่ยวกับป่าชุมชน กฎหมายควบคุมมลภาวะกฎหมายเหืองแร่ขนาดย่อม และกฎหมายอื่นๆ ที่ใช้ปกป้องสภาพแวดบล้อม และโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดย่อมในเขตพื้นที่
- บริการสนับสนุนการลงทุน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินกู้, ปรับปรุงบริการข้อมูลภาษีอากรและการเก็บภาษีโดยใช้คอมพิวเตอร์
- บริการโทรคมนาคมระวห่างเทศบลาลภายในกรอบนโยบายของรัฐ,โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
ภารกิจของเมือง
- บลริการที่เทศบาลและจังหวัดดำเนินการทั้งหมดและการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารและคมนาคมที่เพียงพอ,สนับสนุนการศึกษ การตำรวจ และการดับเพลิง
ภารกิจของเทศบาล
- บริการและการอำนวยความสะดวกเรื่องการส่งเสริมการเกษตรและการวิจัยในพื้นที่ที่เกี่ยวกับงานเกษตรกรรมแลการประมง ซึงรวมถปถึงการแจกจ่ายพันธุ์และพันธ์ุพืช สวยสมุนไพร สวนเพาะพันธุ์พืช หาร์มสาธิต การควบคุมคุณภาพผลผลิต ระบบชลประทานระหว่างหมู่บ้าน โครงการใช้ทรัพยากรและอนุรักษ์ดินและน้ำการบังคับใช้กฎหมายประมงในน่านน้ำเทศบาล รวมทั้งการอนุรักษ์ป่าชรายเลน
- เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติและขึ้นกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เทศบาลดำเนินการโครงการป่าชุมชน จัดการและควบคุมป่า ซึ่งมีพื้นที่ไม่เกิน 50 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งสวนเขตพื้นที่สีเขียว และดครงการพัฒนาป่าไม้อื่นๆ
- ภายใต้กรอบระมวลกฎหมายการปกครองท้องถิ่น จัดลริการสุขภาพซึ่งวมถึงโครงการสาธารณสูขมูลฐานการดูแลแม่และเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การจัดบริการอนามัย
- การจัดสวัสดิการสังคม ซึ่งรวมถึงโครงการสวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน ครอบครัว สตรี ผุู้งอายุ คนพิการ โครงการฟื้นฟูชุมชน สำหรับบุคคลเร่ร่อน ขอทาน เด็กกลางถนน เด็กเหลือขอ ผุ้ติยา และโครงการสำหรับผุ้ยากไร้อื่น บริการโภชนาการและวางแผนครอบครัว
- บริการข่าวสารข้อมูลซึ่งรวมถึงข้อมูลเร่องการลงทุนและหางานข้อมูลเกี่ยวกบระบบภาษีอากรและการตลาด และห้วอสมุดสาธารณะ
- ระบบกำจัดขยะและการจัดการสภาพแวดล้อมรวมทั้งระบบและสิ่งทำนวยความสะดวกด้านสุขภาพอนามัย
- อาคารเทศบาล ศูนย์วัฒนธรรม สวนสาธารณะรวมถึงสรามเด็กเล่น อุปกรณืและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการกีฬาและอื่นๆ โครงสร้างพื้นฐานซึ่งตอบสนองความต้องการของผุ้อยู่อาศัยในเทศบาล เช่นถนนและสะพาน ชุมชน โครงการแหล่งน้อขนาดย่อมบ่อน้ำ
- ระบบการเก็บน้ำผนและการประปา การระบายน้ำการควบคุมน้ำท่วม สัญญาจราจรและถนน และอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน, ตลาดสาธารณะ โรงฆ่าสัตรว์ และกิจการเทศบาลอื่น, สุสานสาธารณะ, สิ่งอำนวยควาสะดวกด้านการท่องถิที่ยว ซึ่งรวมถึงการอกกฎระเบียบและกำกับดูแลกรดพเนินธุรกิจและบริการรักษาความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง, สถานีตำรวจและดับเพลิง สถานีย่อย และที่คุมขัวของเทศบาล
ภารกจิของปมู่บ้านหรือบารังไก
- บริการสนับสนุนการเกษตร ซึงรวมถึงระบบแจกจ่ายวัสดุเืพ่อการเพาะปลูก และการจัดารสถานีผลิตรวบรวมแลซื้อผลิตผลการเกษตร, บริหการสุขภาพและสวัสดิการสังคมซึ่งรวมถึงการรักษาดูแลศูนย์อนามยและศูนย์ดูแลเด็กของหมู่บ้าน, บริการและการอำนวยความสะดวกซึ่งเงกี่ยวกบสุขอนามัย การสร้างความสวยงาม แฃะการเก็บขยะ
- การบำรุงรักษาถนน สะพาน และระบบส่งน้ำ, โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ศาลอเนกประสงค์ทางเดิน ศูนย์กีฬาและอื่นๆ , ศูนย์ข้อมูลและที่อ่านหนังสือและตลาด
ระบบภาษีและกาีคลังของ้องถ่ิน
ภาษีและรายได้ของ้องถิ่น ตามประมวลกฎหมายการปกครองทอ้งถ่ินได้กำหนดให้หน่วยการปกครองท้องถ่ินแต่ละระดับมีอำนาจที่จะกำหนดแหล่งที่มาของรายได้ อัตราภาษีค ค่าธรรมเนียม และค่าบริการของท้องถ่ินได้เอง ทั้งนี้ ภาษีอากร ค่าะรรมเนียม และค่าบริการที่ท้องถ่ินจัดเก็บได้ดังหลาว ให้ถือเป็นรายได้ของแต่ละหน่วยการปกครอง ท้องถ่ิน โดยมีหลัการพื้นฐานในการจัดเก็บดังต่อไปนี้
- การจัดเก็บภาษีของหน่วยการปกครอง้ถงอถ่ินในแต่ละระดับ จะต้องเป็นไปในรูปแบบเดี่ยวกัน
- ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และรายได้อื่นๆ จะต้องมีลักาณะดังนี้ เป็นธรรมและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายภาษีของผุ้เสียภาษี ต้องเป้นการจัดเก็บไปเพื่อสาธารณะประโยชน์เท่านั้น, ไม่ปรับเปลี่ยนง่าย ไม่มาเกินไป ไม่เป็นการกดขี หรือไม่เป็นการบังคับ, ไม่ขัดต่อกฎหมาย นโยบายสาธารณะ นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือเป้นการกีอกันทางการค้า
- การจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าบริการและรายได้อื่นๆ ของท้องถ่ิน จะต้องไม่อยู่ในอำนาจของเอกชน
- รายได้ซึ่งได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และอื่นๆ ต้องเป็นไเพื่อประโยชน์ของหน่วยการปกครองท้องถ่ินวึ่งเป็นผุ้จัดเก็บและหากเป็นไปได้ให้ใช้อัตราภาษีก้าวหน้า...
การบริหารการคลังท้องถิ่น การบริหารด้านการคลังของท้องถิ่นเป็นไปตามหลัการพื้นฐานภายใต้ประมวบกฎมหายการปกครองท้องถิ่น ดังนี้
- ห้ามจ่ายเงินท้องถ่ินเว้นแต่ที่กำหนดโดยกฎหมาย ,การใช้จ่ายของท้องถ่ินต้องเป็นไแเพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น, รายได้ท้องถิ่นต้องมาจากแหล่งเงินที่กำหนดไว้ชัดเจนตามกฎมหาย และต้องมีการรับรู้การเก็บภาษีอย่างเหมาะสม, เงินทุกประเภทที่พนักงานท้องถ่ินได้รับมาอย่างเป็นทางการทั้งจากฐานะตำแหน่งหรือในโอกาศที่เป็นทางการ ต้องถือว่าเป็นเงินทุนท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่กำหนดไว้ตากฎหมาย, ห้ามใช้จ่ายเงินจากกองทุนของท้องถิ่น ยกเว้นแต่ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนดังกล่าว, พนักงานทุกคนของหน่ยการปกครองท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่เก็บรักษาหรือดูแลกองทุนให้ปลดอภัยและสอดคล้องกับกฎหมาย, รัฐบาลท้องถิ่นจะมีแผนการคลังที่ดีและวงประมาณท้องถิ่นต้องเป้นไปตามหน้าที่ กิจกรรมและโครงการให้สอดค้องกับผลที่คาดหวัง, เป้ามหายและแผนท้องถ่นต้องสอดคล้งกับแผนเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติเืพ่อให้หใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุดและหักเลี่ยงความซ้ำซ้อนในการใช้ทรัยากรการเงินและวัตถุ, งบประมาณท้องถิ่นจะต้องสับสนุนแผนกพัฒนาท้องถิ่น หน่วยการปกครองท้องถิ่นจะต้องประกันว่างวบประมาณของตนเป็นไปตามเงื่อนไขความต้องการของหน่วยย่อยของตน และมีการกรจายพทรัพยากรระหว่างหน่ยย่อยอย่งเท่าเที่ยมกัน, การวางแผนระดับชาติต้องพิจารณรจากากรวางแผนท้องถ่ินเพื่อประกันว่ากความต้องการและความปรารถนาของประชาชนซึ่งหน่วยการปกครองท้องถ่ินระบุไว้ไดรับกาพิจารณในการกำหนดวบประมาณสำหรับส่วนราชการของรัฐ, ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันทางการเงินระหว่งผุ้ที่มีอำนาจในการเงิน การถ่ายโอน และการดำเนินการของหน่วยการปกครองท้องถิ่น, หน่วยการปกครองท้องถ่ินจะต้องใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดงบประมาณสมดุลในแต่ละปีงบประมาณ
การบริหารงานบุคคลของการปกครอง หน่วยการปกครองท้องถ่ินทุกระดับจะต้องมีการจัดวางโครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของตนเอง โดยคำนึงถึงความจำเป้ฯในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน รวมทั้งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานขึ้นต่ำและแนวทางที่คณะกรรมการข้ารตาชการพลเรือนกำหนด การบริหารงานบุคคลท้องถ่ินของประเทศฟิลิปปินส์อาจมีความแตกต่างกันออกไปตามแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่ินบางแห่งนายกเทศมนตรีตั้งคณะกรรมการบริาหรงานบุคคลดูแลบางแห่งนายกเทศมนตรีดุแลเอง และเนื่องจากมีการบริหารงานบุคคลแยกจากกัน การโอนย้ายระหว่างทองถ่ินจึงทำได้ยาก เงินเดือนค่าตอบแทน ก็ต่างกันออกไป ถึงแม้จะมีโครงสร้างระดับเงินเดือนกลางแต่ท้องถ่ินก็เลือกใช้ได้ภายในกรอบ ผลคื อท้องถ่ินที่มีฐานะดีก็สามารถจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานของตนได้ดี ส่วนท้องถ่ินที่มีานะดีก็สาารจ่ายค่าตอบแทนใหแก่พนังกานของนไดด้ดี สวนท้องถ่ินยากจนำ็มไ่สามรถจ่ายค่าตอบแทนได้สูง การขึ้นเงินเดือนขึ้นกับความสามารถในการจ่ายเงินของท้องถ่ินแต่ละแห่ง
การบริหารงานบุคคลที่เป็นอยู่ไม่ส่งเสริมให้มีการเปลี่ยนขันเลือนตำแหน่ง เพราะเป็นระบบที่แต่ละหน่วยการปครองท้องถิ่นดำเนินการเองเป็ฯเอกเทศ มิใช่ระบบบริหารงานบุคคลระดบชาติอย่างเช่นประเทศไทย การโยกย้ายระหว่างหน่วยการปกคอรงท้องถ่ินจึมไม่มากนัก หากจะเป้นการยืมตัวก็ไปในระยะสั้น เช่น ไม่เกิน 3 เดือน ดังนั้น แม้มีกฎหมายกำหนดว่าข้าราชการที่ถูกส่งไปเป็นพนักงานท้องถ่ินจะได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าเดิม แต่ก็ไม่มีแรงจูงใจ เพราะการเปลื่นตำแหนงในแต่ละท้องถ่ินที่จำกัดมากจึงมีความพยายามให้มีการรวมอำนาจการบริหารบุคคลไปอยู่ที่ส่วนกลาง
เจ้าหน้าที่ของหน่วยการปกครองท้องถิ่น จะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ 2 ประเภท คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเมืองหรือเจ้าหน้าที่มี่มาจากากรเลือกตั้ง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายประจำหรือเจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง ดังนี้
- เจ้าหน้าที่ที่ทมาจากการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งของหนวยการปกครองท้องถิ่นทุกแห่ง จะประกอบด้วย ตำแหน่งต่างๆ ทั้งในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติัญญัติ ฝ่ายบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งต่างๆ ได้แ่ก่ ผุ้ว่าราชการจังหวัด และรองผุ้ว่าราชการจังหวัด, นายกเทศมนตรีเมือง และรองนายกเทศมนตรีเมือง, นายกเทศมนตรีเทศบาล และรองนายกเทศมนตรีเทศบาล บูนัง หรือหัวหน้าหมู่บ้านตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าว จะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตของแต่ละหน่วยการปกครองท้ถงิ่น โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสมารถดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิดน 3 วาระ
ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ ตำแหน่งต่าง ดังนี้ สมาชิกสภาจัวหวัด, สมาชิกสภาเมือง,สมาชิกสภาเทศบาล, สมาชิกสภาบารังไก,สมาชิกสภาเยาวชนบารังไก ตำแหน่งต่างๆ ดังกล่าวจะมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ิน โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และจะสามาระดำรงตำแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ เช่นเดียวกบฝ่ายบริหาร
การดำเนินการทางวินัย เจ้าหน้าที่ที่มาจกากรเลือกต้งอาจถูกดำเนินการทางวินัย ถูกพักงาน หรือให้พ้นจากตำแหน่งในการณ๊ใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่จงรักภักดีต่อประทเศาสะารณรัฐฟิลิปปินส์ ไม่ซื่อสัตย์ กดขี ประพฤติตัวไม่เหมาสม ไม่สนใจในการปฎิบัติงานหรือการทอดทิ้งหน้าที่ กระทำความผิดทางศีลธรรมอย่างร้ายแรง หรือกระทำความผิดที่มีโทษถึงจำคุก ใช้อำนาจในทางที่ผิด การขาดงานโดยไม่รับอนุญาตเป็นเวลาเกินกว่า 15 วั ยกเว้น สำหรับกรณีของสมาชิกสภา จังหวัด สมาชิกของสภาเมือง สมาชิกของสภาเทศบาล และสมาชิกสภาบารังไก การรับสมัครหรือการได้รับสัญชาติ หรือมีที่อยู่อาศัย หรือมีสภาพเป็นผู้อพยพของประเทศอื่น เจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งที่กระทำความผิดในดรณีต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น อาจถูกให้พ้นจากดำแหน่งก็โดยคำสั่งของศาล
การถอดถอนออกาจากตำแหน่ง อำนาจในการถภอดถอนออกจากตำแหน่งอันเนื่องมาจากขาดความไว้วางใจ จะเป็นอำนาจของประชาชนผุ้มีสิทธิออกเสยงเลือกตั้งขององค์กรปคกรองสส่วนท้องถิ่นที่เลือกตั้งจากเจ้าหน้าที่ที่มาจากการเลือกตั้งในตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งอาจกระทำได้โดย จัดใไ้มีการประชุมในที่สาธารณะ เพื่อพิจารณาเสนอให้มีการถอดถอนเจ้าหน้าท่คนใดคนหนึ่งออกจาตำแน่ง รห ผุ้มีสิทธิออกเสียไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของผุ้มีสทิธิออกเสียงเลือกตั้งในเขตของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นๆ เสนอให้มีการถอดถอนออกจาตำแหน่ง คณะกรรมการเลือกตัั้งหรือผุ้แทจะพิจารณาตรวจสอบคำร้องหากเห็นว่าถูกต้องก็จะรับไว้พิจารณาต่อไป ในระหว่างนั้นคณะกรรมการการเลือกั้งหรือผุ้แทน จะประกาศรับมัครผุ้ที่มาดำรงตำแหน่งแทน โดยผุ้ที่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนจากตำแหน่ง ก้จะเป็หนึ่งในรายชื่อผุ้มีสิทธิที่จะได้รับเลือกตังใหม่ด้วย หลังจากนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งจะดำเนินการเลือกตั้งผุ้ที่จะมาดำรงตำแน่งอทนผุ้ที่ถูกเสนอให้ถอดถอน
การถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่ทมาจาการเลือกตั้ง จะมีผลก็ต่อเมือได้มีการเลอกตั้งและประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว โดดยผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งที่มีคะแนนสูงสุดเท่านั้นที่จะได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ถ้าหากผุ้ที่เสนอให้ถอดถอนได้คะแนนสูงสุด ก็จะสามารถดำรงตำแหน่งต่อไป และจะไม่ถูกเสนอให้มีการถอดถอนอีกไปจนครบวาระการดำรงตำแหนงของเจ้าหน้าที่นั้นๆ
- เจ้าหน้าที่ที่มาจากการแต่งตั้ง อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือตำแหน่งที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทุกประเภทต้องมีเหมือนๆ กัน และตำแหน่งที่จะมีเพ่ิมเติมตามความจำเป็นในการให้บริการและความสามารถทางการเงินของแตละหน่ยการปกครองท้องถิ่น นอกจากตำแหน่งที่จำเป็นหรืออาจจะต้องมีประจำตามหน่วยการปกครองท้องถิ่นแล้ว ตำแหน่งอื่นๆ หัวหน้าฝ่ายบริหารของแต่ละหน่วยการปกครองท้องถ่ินจะเป็นผุ้พิจารณาแต่งตั้งตามดครงสร้างองค์การและกรอบอัตรากำลัเจาหน้าที่ของตนเอง ซึงจะพิจารณากำหนดโดยคำนึงถึงความจำเป้นในการให้บริการและควมสามรถทางการเงินของแต่ละหย่ายการปกครองท้องถ่ิน ส่วนการบรรุจุแต่งตั้งและการดำเนินการทางวินัยนัน จะต้องเป็นไปตามมาตฐานขึ้นต่ำและแนวทางทีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนกำหนด ยกเว้น การบรรจุแต่งตังลูกจ้างในกรณีฉุกเฉินหรือลูกจ้างชั่วคราว ไม่ต้องดำเนินการตามแนวทางที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรือกำหนด
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณะรัฐฟิลิปปินส์", ณัฐธิดา บุญธรรม, วิยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาับพระปกเกล้า, 2556.
วันพุธที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Vietnam
เวียดนามปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม มีอำนาจสูงสุดตามรัฐธรรมนูปี ค.ศ. 1992 รัฐธรรมนูญเวียดนามฉบับปัจจุบันที่เร่ิมใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 และแห้ไขเพิ่มเติมในปี ค.ศ. 2001 ได้วางกรอบอำนาจหน้าที่ของรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของรัฐกับเอกชนไว้ รัฐธรรมนูยญได้กำหนดให้พรรคคอมมิวนิสต์เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอำนาจสูงสุด
โครงสร้างการปกครองของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ฝ่ายหลักๆ คือ
1 องค์การฝ่ายนิติบัญญัติ หรือสมับบาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานสูงสุด้านนิติบัญญัติเปรียบเทียบำับหน่วยงานของไทยได้เทียบกับรัฐสภา สมัชชาแห่งชาติเป็นองค์กรที่สมาชิกได้มาจากการเลือกตั้ง มีจำนวนทั้งหมด 493 คน มีหน้าที่บัญญัติและแก้ไขกฎหมาย แต่างตั้งประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ การรับรองและถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบิี เสนอ รวมทั้งการแต่างตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ หน้าที่ของสมัชชาแห่งชาติคือการตรา รับรอง และแก้ไขรัฐธรรมนูญ พิจารณากฎหมาย พิจารณางบประมาณประจำปี อีกทั้งพิจารณาแต่างตั้งสถาบันทางการเมืองอื่นๆ ด้วยได้ แก่ สภาแห่งรัฐ สภารัฐมนตรี ศาลสูงสุด และองค์กรควบคุมประชาชน
2 องค์การฝ่ายบริหาร (รัฐบาลส่วนกลาง) ประกอบด้วยประธานนาธิบดี คณะรัฐมนตรี รวมทั้งพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าที่บรริหารพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าทบริหารพรรคอมมิวนิสต์
3 รัฐบาลระดับท้องถ่ิน หรือที่อาจเรียกได้ว่า สภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน มีคณะกรรมการประชาชนประจำท้องถ่ินนั้น ทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารสูงสุดบริหารงานให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์ของรัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริหารราชการท้องถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของการปกครองเวียดนามก็คือเป็นการปกครองแบบที่เรียกว่า "โครงสร้างขนานระหว่างพรรคและรัฐ"กล่าวคือ พรรคคอมมิวนิสต์กับรัฐมีความสัมพันะ์กันอย่งแนบแน่น จำไม่สามารถแยกพรรคกับรัฐมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น จนไใามสามารถแยกพรรคกับรัฐออกจากกันได้ เพราะบุคคลที่บริหารงานต่างก็เป็นสมาชิกพรรคอมมิวินสิต์ด้วยกันทั้งสิ้น
ระบบโครงสร้างทางการเมืองของเวียดนามนั้นมีลักาณะคล้ายคลึงกับประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ คือ มีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนามเป็ฯองค์กรที่มีความสำคัญสูงสุด บทบาทของพรรคคอมมิวนิสต์นั้นมีมากในรัฐะรรมนูญทุกฉบับกำหนดให้เคารพบทบาทนำของพรรคในการใช้อำนาจของรัฐมากกว่าในระบบเสรีประชาธิปไตแบบทั่วไป หากพิจารณจากมาตราที่ 4 ของรัฐธรรมนูญเวียดนามจะพบวาได้ระบุเอาไว้ถึงการให้อำนาจแก่พรรคคอมมิวนิสต์ไว้ว่า "พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม..เป็นพลังจำของรัฐและสังคม"
โครงสร้างากรบริาหรของประเทศเวียดนามนั้นมีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้บริหาร ตัวแทนที่เข้าไปอยู่ในสภมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี รัฐบาลนั้นมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำซึ่งได้ับการคัดเลือกมาจากสมัชชาแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี นอกจานี้ก็ยังมีประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าทีเป็นประมุขของรัฐเชนเดี่ยวกันและได้รับการคัดเลือกจากสมัชชาแห่งชาติเช่นเดี่ยวกันทั้งสองเป็นสมรชิกของกรมการเมือง ซึ่งกรมการเมืองเป็นกลุ่มของคนที่ถือว่าเป็นหัวกะทิของพรรค เป็นผุ้ที่มีอำนาจสุงสุดภายในประเทศ
ลักษณะการปกครองแบบรวมศูนย์ของเวียดนามนั้น มีผุ้วิเคราะห์ไว้ว่า เกิดจากการได้รับอิทธิพลของสองความคิด คือ แนวคิดในลัทธิขงจื้อ ซึ่งเป็นมรดกจากการที่เวียดนามเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีนพันหว่าปี ซึ่งลักษณะของการกครองแบบขงจื้อคือการเน้นศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลาง อีกความคิดหนึ่งที่ส่งผลต่อรูปแบบการปกครองเวียดนามก็คือแนวคิดในลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งแพร่ขยายเข้ามาสู่เวียดนามในช่วงคริสต์ศตวรษที่ 20 กรอบความคิดแบบคอมมิวนิสต์นั้นเน้นการปกครองแบบรัฐรวมศุนย์ เชื่อมั่ว่ากรรมสิทธิ์ทุกอย่างเป็นของสังคมโดยรวม ประชาชนมีสทิะิ์ในหารเข้ถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเที่ยม กังนั้เพื่อที่จะกำจัดนายทุนและปันส่วนจัดสรรการเข้าถึงทรัพากรให้กับทุกฝ่าย ส่งผลให้ปัจจัยการผลิตทั้งหมดนั้นต้อง
ในช่วงที่ฝรั่งเศสปกครองเวียดนามและมีสหพันธ์อินโดจีนนั้น การดูแลสหพันธ์อินโดจีนนั้นอยู่ภายใต้กระทรวงอาณานิคม สหพันธ์อินโดจีนแบ่งโครงสร้างการบริหารออกเป็นการบริหารงานส่วนกลางและการบริหารส่วนภูมิภาค
การบริหารงานส่วนกลาง ผุ้มีอำนาจสูงสุดในการบริหารงานคือ ผุ้ว่าการหสพันธ์อินโดจีน ซึ่งประจำการอยู่ที่กรุงฮานอย เขาเป็นตัวแทนสุงสุดในการทำการแทนรัฐบาลฝรั่งเศส โดยมีสภาสหพันะ์อินโดจีนเป็นผู้ช่วยในการตัดสินใจ สภาดังกล่าวประกอบไปด้วยผุ้ว่าการสหพันธ์เป็นประธานสภา และสมาชิกที่เป็นชาวฝรั่งเศส รวมไปถึงคนเวียดนามอีก 2 คนทำหน้าทีเป็นตัวแทนคนพื้นเมือง
สภาหสพันธ์อินโดจีนประชุมปีละ 1 ครั้ง เพื่อภิปรายให้ความเห็นและอนุมัติวบประมาณ ผลการตัดสินหรือความเห็นชอบของสภาสหัพนธ์จะถูกส่งต่อไปยังกระทรวงที่สำคัญ 4 กระทรวงที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงการบริหารกิจการการเมือง - การแกครอง กระทรวงกลาโหมกระทรวงกิจการภายในและสารนิเทศ และกระทรวงการคลัง
การบริหารภูมิภาค ฝรั่งเศสแบ่งการบริหารส่วนภุมิภาคในบริเวณอินดดจีนออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน คือ ดังเกี่๋ย ตอนเหนือของเวียดนาม, อันนัม ตอนกลางของเวียดนาม, ลาว, กัมพุชา (รัฐในอารักขา) โคชินจีน หรือทางตอนใต้ของเวียดนาม(อาณานิคม) บริเวณโคชินจีนนั้นจัดเป็นอาณานิคม อยุ่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสโดยตรง ผุ้มีอำนาจสุงสุดในโคชินจีนคือผุ้ว่าอาณานิคม โดยขึ้นตรงกับผุ้ว่าการสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย มีหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ การเวิน การภาษีอากร แต่ไม่มีอำนาจในการให้คำปรึกษาหรือตัดสินใจด้านการเมือง นอกจานี้ยังมีสภาอาณานิคมโคชิจีนอีก 16 คน ซึ่งประกอบไปด้วยชาวฝรั่งเศสและชาวเวียดนาม และยังมีสภาที่ปรึกษาผุ้ว่าการอาณานิคมที่ม่สมาชิกเป็นทั้งชาวฝรั่งเศสและชาวเวียนาม ในส่วนของรัฐอารักขานั้น มีผุ้ว่าการสูงสุดขงอรับอารักขา ตามแต่ละรัฐอารักขา โดยมีอำนาจสุสุดและขึ้ตรงต่อผุว่การสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย แต่เฉพาะในอันนัมเท่านั้นที่ฝรัี่งเสสยังคงสภาบันจักรพรรดิที่เว้และงอคกรบริหารงานส่วนใหย๋ของรัฐบาลจักรวรรดิไว้ แต่ไม่มีอำนาจที่แท้จริงเพราะมีอำนาจแต่ทางงานพิธิีการที่เกี่ยวข้องกับจารีตประเพณี สภาที่มีอำนาจทีทแ้จริงคือสภาผุ้ว่าการัฐอารักขา โดยมีผุ้ว่าการัฐอารักขาเป็นประธาน
ในช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าไปปกครองเวียดนามและมีการแก้ไขโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น ฝรั่งเศสแทบจะไม่เปลียนแปลงการปกครองในหมู่บ้าานเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของปกครองในหมู่บ้านเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของหมู่บ้านเวียดนามนั้นไม่มีผลต่อบทบาทของฝรังเศสในเวียดนาม ดังนั้นฝรั่งเศสจึงปล่อยให้รูปแบบที่เคยมีมานานแล้วในเวียดนามยังคงอยุ่ต่อไป
ช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าปกครองเวียดนาม มีการจัดระบบการศึกษาใหม่ในเวียดนามเพื่อให้ชาวเวียดนามเรียรู้วิธีการบริหารราชการของฝรั่งเศสและเรียนรู้วัฒนธรรมฝรั่งเศสอื่นๆ รวมทั้ง หลังจาฝรั่งเศสเข้ายึดเวียดนาม ปัญญาชนจำนวนมากไม่ยอมไใ้ความร่วมมือกับฝรังเศส ทำให้ฝรั่งเสสจำเป็นต้องสร้างนักบริหารและนักปกครองรุ่นใหม่ขึ้นมาทำงานใรระบอบอาณานิคม ด้วยกานจัดตั้งโรงเรียนสอนราชการ
รูปแบบระบบการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามในปัจจุบัน ต้องกล่าวอย่างตรงไปตรงมาว่า รูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามนั้น เวียดนามแทบจะไม่มีการปกครองท้องถิ่นอยู่เลย เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของเวียดนามไม่มีองค์ประกอบการปกครองท้องถิ่นอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความเป้ฯอิสระของท้ถองถ่ินเพราะรัฐบาลส่วนกลางเข้ามาควบคุมดูแลในเกือบทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องงบประมาณ การบริหารงานบุคคล หรือการบริารงานทั่วไปที่ให้อิสระแก่ท้องถ่ินค่อนข้างน้อย การได้มาซึ่งผู้บริหารหรือสภาท้องถิ่นที่ผ่านการเลือกตั่งในรูปแบบที่รัฐสามารภควบคุมได้ คือ จัดให้มีการเลือกตั้งจริงในหน่วยการปกครองต่างๆ แต่การเลือกตั้งไม่มีการแข่งขัน ผุ้สมัตรรับเลือกตั้งล้วนสังกัดพรรคคอมมิวนิสต์ อีกทั้งยังต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการบริหารพรรคคอมมิวนิสต์ในระดับบนก่อนเสมอจึงจะสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นได้ ดังนั้นรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามจึงเทียบเคีรยงกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทยได้ยาก
อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญเวียดนามได้กำหนดลำดับชั้นของการปกครองส่วนท้องถิ่นเอาไว้ ว่าด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน รูปแบบการแบ่งการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามนั้นอาจแตกต่างจากรัฐอื่นๆ เช่น สหพันธรัฐอย่างออสเตรเลียหรืออเมริกานั้นแบ่งรูปแบบการปกครองออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน คือ ระดับสหพันธรัฐ ระดับรัฐ และระดับเดี่ยวอาจแบ่งกรปกครองอกเป็น 2 ระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลต่ำกว่าชาติ เวียดนามก็แบ่งการปกครองออกเป็นสองระดับ เช่นเดียวกัน ระดับต่ำกว่าชาติ ก็คือระดับท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญเวียดนามปี ค.ศ. 1992 รัฐบาลจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นออกเป็น 3 ระดับใหย๋ระดับสูงสุดคือรัฐบาลกลาง การปกครองท้องถิ่นระดับแรกคือระดับจังหวัด ระดับที่สองคือระดับเมืองและระดับที่สามคือระดับคอมมูน โดยในแต่ละระดับก็จะมีการแยกย่อยออกไปอีก ดังที่จะได้กล่าวในส่วนต่อไป ในแต่ละระดับ จะมีหน่วยงาานที่รับผิดชอบงานด้านท้องถิ่นอยู่ 4 หน่วยที่สำคัญคือ คณะกรรมการประชาชน สภาประชาชน ศาลประชาชน ตัวแทนประชาชน โดยในที่นี้จะมุ่งศึกษาแต่สภาประชาชนและคณกรรมการประชาชนเป้ฯหลัก เพราะเป็นสองหน่วยที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นโดยตรง
อำนาจหน้าที่ของท้องถิ่น เราจะเห็นได้จากอำนาจหน้าที่ของสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชนว่ามีหน้าที่ที่หลากหลาย ทั้งในประเด็นเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยองท้องถิ่น ความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การดูแลวิทธยาศาตรืและเทคโนโลยี สิ่งเเวดดล้อม ศิลปะวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และอื่นๆ ซึ่งเป็นประเด็นที่ต้องจัดการเรือ่งสังคมของท้องถิ่นเป็นหลัก โครงสร้างการบริหารและทำงานของท้องถิ่นนั้นเป็นไปอย่างสลับซับซ้อน แต่ละระดับชั้นประกอบไปด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน ซึ่งมีหน้าที่ในการรายงานตรวจสอบ ควบคุมการทำงานระหว่างกัน ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการตัดสินจและการทำงาน เพาระต้องอาศัยการเดินเรื่องเพื่อส่งต่อให้ตัดสินใจหลายขั้นตอน ทำให้การทำงานเกิดความล่าช้าในการตัดสินใจอนุมัติโครงการ
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับท้องถิ่น ในประเด็นเรื่องหน่วยของกความรับผิดชอบคือ ระดับของท้องถิ่นในการรับผิดชอบต่อการปกครองท้องถิ่น ท้องถิ่นของเวียดนามมีอำนาจในการจัดการประเด็นบางอย่าง เช่น ระบบการศึกษา กฎหมายหรือด้านตำรวจ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่รับผิดชอบสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า หรือโทรศัพท์ รวมถึงประเด็นเรื่องอุตสาหกรรม โรงพยาบาลก้เป็นหนึ่งในความรับผิดชอบของท้องถ่ิน และการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน โดยงบประมาณด้านสาธารณสุขนั้นจะมาจากค่าบริหารของผุ้ป่วยที่มาใช้บริหรในโรงพยาบาล การดุแลผู้สูงอายุและคนพิการนั้นเป็นหน้าที่ของครอบครัวที่ต้องดุแล แต่ก็มีหน่วยงานที่ช่วยดุแลบุคคลที่ไม่มีครอบครัวท้องถิ่นก็จะมีอำนาจในการดูแลหน่วยงานลักษณะนั้น หรืออาจกล่าวโดยสรุปก็คือ อำนาจของท้องถิ่นนั้นมีอำนาจในการดูแลประเด็นกว้างๆ ของสาธารณะ
อย่างไรก็ดี ด้วยรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ของเวียดนาม ส่งผลให้กระบวนการตัดสินใจและการบังคับออกกฎและดูแลท้องถ่ินของเวียดนามนั้นไม่เป็นอิสระ วบประมาณที่ต้องจัดสรรลงมาจากรัฐบาลส่วนกลางเพื่อดูแลท้องถิ่นนั้นก็เต็มไปด้วยกฎระเบียบเชิงราชการที่มีข้อกำหนดและกระบวนการมากมายเฉกเช่นเดี่ยวกับลักษระการทำงานของระบบราชการไทย ซึ่งส่งผลให้การกระทำการใดๆ นั้นเป็นไปด้วยความบ่าช้า ทั้งในเรื่องการตัดสินใจและการเบิกจ่ายวบประมาณ แต่ข้อดีของการผูกอำนาจไว้กับรัฐบาลส่วนกลางก็คือการที่รัฐบาลสามารถปรับเปลี่ยนวบประมาณไปในประเด็นที่มีความต้องการเร่งด่วนได้เร็วกว่า
งบประมาณท้องถิ่น รูปแบบอำนาจด้านงบประมาณของเวียดนามนั้นเป็นลำดับขั้นอย่างมาก และเป็นไปตามแบบ Matruska Doll Model ซึ่งงบประมาณจากหน่วยการปกครองระดับล่างต้องได้รับการอนุมัติทั้งจากสภาประชาชนและจากหน่วยงานราชการระดับสูง งลประมาณของท้องถ่ินถูกถือรวมเป็นงบประมาณของท้องถ่ินถูกถอืรวมเป็นงบประมาณของรัฐ
ท้องถิ่นไม่มีอิสระด้านวบประมาณของตัวเองมากนัก แม้ท้องถ่ินจะสามารถกำหนดเป้าหมายและของบประมาณไปยังส่วนกลาง แต่งบประมาณของท้องถิ่นก็ยังรวมกับวบส่วนกลาง นอกจากนี้.โครงสร้างแบบลำดับชั้น นั้นก็ส่งผลให้ต้องอาศัยการได้รับการอนุมัติที่ยุ่งยาก อย่างไรก็ดี กฎหมายที่มีความสำคัญต่องบประมาณของเวียดนามคือ กฎหมายวบประมาณของรัฐ ที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 และมีการแก้ไขครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2002 กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายฉบับแรกของเวียดนามที่มีการพูดถึงเรื่องงบประมาณการเงินและากรคลังของประเทศ
ในปี ค.ศ. 1996 กฎหมายฉบับนี้ได้กำหนดให้มีการแบ่งงบประมาณออกเป็นสองสวนใหญ๋คือวบประมาณส่วนกลางและวบประมษรท้องถ่ิน โดยวบประมารศ่วนกลางมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของรัฐบาลกลางเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประทเส ในขณะที่วบประมาณส่วนท้องถิ่นนั้นมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของสภประชาชนและคณกรรมการปรกชาชน รวมไปถึงหย่วยงานระดับท้องถ่ินทอืนๆ รวมไปถึงกระบวนการของวบประมาณและการจัดการการตรวจสอบ และอื่นๆ
กฎหมายวบประมาณของรัฐได้รับการแห้ไขครั้งแรกในปี ค.ศ.1998 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 2002 โดยกำหนดให้รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นมีที่มาของรายได้ไม่ทับซ้อนกันในบางประเด็น และให้ใช้ร่วมกันในบางประเด็น ประเด็นที่สำคัญก็คือ แปล่งที่มาของรายได้นั้นมาจากแหล่งที่แตกต่างกันออกไปดังที่เสนอไปในตาราง ในส่วนของการตัดสินใจการใช้งบประมาณของสภาประชาชนนั้นจะเป็นการตัดสินใจโดยสภาประชาชนเองตามที่ได้รัฐบาลได้นัดสรรให้มา...
... ปัญหารเรื่องการรวมศุนย์อำนาจ เวียดนามปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ปัญหาของการรวมสูนย์อำนาจของเวียดนามไว้ที่รัฐบาลส่วนกลางได้ส่งผลต่อกาปกครองท้ถงอิ่นของเวยดนาม อีกทั้งรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามเองนั้นก็ไม่ได้เป็นไปในลักษระการปกครองท้องถิ่นที่สังคมไทยเข้าใจ เนื่องจากยังเน้นการปกครองจากส่วนกลาง การไม่มีโครงกสร้าง อำนาจ หน้าที่ การเงิน หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อีกทั้งปัญหาในระบอบการปกครองแบบคอมมิวินิสต์เองก็มีปัญหาในตัวของมนัน เราอาจสรุปได้ว่าปัญหาของการปกครองท้องถ่ินเวยดนามมีดังนี้
- การทำงานขององค์รปกครองสวนท้องถ่ินขดการมีส่วนร่วมของประชาชน และขาดความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหา
- การตัดสินใจไม่มีความยือหยุ่น ไม่เป็นไปตามกำหมายซึ่งนำไปสู่การร้องทุกข์และการฟ้องร้อง
- มีการละเมิดสิทธิขั้นพี้นฐานของประชาชน
- มีการคอรัปชั้นกันอย่างกว้างขว้าง
- เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินไม่มีความคิดริเร่ิมในกิจการงานใหม่ๆ
- เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินมีการตอบสนองต่อความต้องการของเจ้านายระดับบนเป็ฯอย่างดีแต่ไม่ตอบสนองข้อเรียกร้องต่อประชาชน
- เจ้าหน้าที่ไม่คุ้นเคยกับกฎระเบียบของกฎหมาย มักจะใช้ดุลยพินิจส่วนตัวในการแห้ไขปญ
- เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการออกกฎหมาย
ทั้งหมดนี้ พอจะทำให้เห็นได้ว่า การปกครองท้องถ่ินของเวียดนามยังขาดความเป็นอิสระอยู่มาก ซึ่งมีลักาณะที่เรียกว่า "การปกครองท้องถิ่นโดยรัฐ" แต่แม้จะมีปัญหาดังที่ได้กล่าวมาในข้าองต้น รัฐบาลกลางของเวียดนามก็ได้พยายามแสวงหาแนวทางในการที่ะแก้ไขปัญหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นเอาไว้บ้างแล้ว หลายๆ ปัญหาที่ได้หล่าวมา เกิดขึ้นจากการที่อำนานทั้งหลายของการปกครองท้ถงอิ่นไปกระจุกตัวอยู่ที่รัฐบาลส่วนกลาง ดังนั้น เพื่อจะเป็นการลดปัญหาการปกครองส่วนท้องถิ่นรัฐบาลเวียดนามจึงได้เร่ิมมีการพูดถึงการกรจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินโดยได้กำหนดหลักในการกะจายอำนาจดังนี้
- กระจายอำนาจต้องไม่มีผลกระทบต่อความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ อำนาจของรัฐต้องเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวกันจะแบ่งแยกไม่ได้
- ต้องหารูปแบบที่เหมาะสมเสียก่อน กล่าวคือ การจะกระจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินนั้นต้องมีการทำการวิจัย ออกแบบ และวิเคราะห์ถึงผลกระทบในมิติต่างๆ เสียก่อน
- การกระจายอำนาจต้องดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไปและระมักระวัง
- การกำหนดอำนาจกน้าที่ระหว่างสวนกลางและท้องถ่ินต้องเป็นไปเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพของการทำงานของส่วนกลาวและในขณะเียวกันก็ต้องเพิ่มความเป็นอิสระของท้อถงิุ่นในการตัดสินใจด้านสังคมและเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นๆ
- อำนาจและหน้าที่ของทั้งรับบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ินต้องได้รับการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้ทราบว่าอำาจหน้าที่ใดมีความเมหาะสมกบท้องถ่ิน
- หน่วยงานของส่วนกลางต้องไม่สร้างดครงสร้างองค์กรเหมือนกับโครงสร้างองค์กรของหน่วยงานของท้องถิ่น
- การกระจายอำนาจที่ดีต้องก่อให้เกิดผล 4 ประการ คือ การมีการบริาหรกิจการบ้านเมืองที่ดี การเพ่ิมความสะดวกแก่ประชาชนในท้องที่ การส่งเสริมการปกครองโดยยึดหลักฎหมาย การเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน จากแนวคิดเรื่องการกรจายอำนาจดังกลล่าวส่งผลให้รัฐบาลมีการกำหนดบทบาทความรับผิดชอบกับรัฐบาลท้องถ่ินแยหกันไว้ 3 หน้าที่คือ
1 รัฐบาลและหน่วยงาน่วนกลางทมีหน้าที่รับผิชอบหลัก 7 เรื่อง คือ การเมือง เศรษฐฏิจ วัฒนธรรม สังคม ป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย และการดำเนินการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2 ส่วนท้องถ่ินมีหน้ามีรับผิชอบตอประชาชนในท้องถ่ินในเรื่อง
- การสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในท้องถิ่นให้สอดคล้งกบเจตนารมของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อหลักประกันเอกภาพความเป็นผุ้นำของรัฐบาลกลาง
- การดำเนินการอย่างสร้างสรรค์และอย่างมุ่งมั่นในการพัฒนาทุกด้านในท้องถิ่นในการบริการสาธารณะที่ดีต่อประชาชน
- การส่งเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรมของรัฐสังคมนิยม และส่งสเริมกลไกของประชาชน โดยประชาชน เพื่อปรชาชน
- การธำรงรักษาความมั่นคงและปรับปรุงมตรฐานการครองชีพของประชาชน รวมท้งการพัฒนาการผลิตทั้งหลาย โดยมีการใช้ศักยภาพของคนให้เหมาะสม
3 ความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างรัฐบาลกลางและท้องถ่ิน ต้องมีควมชัดเจน รัฐบาลเวียดนามถือว่าเรื่องนี้เป็นหัวใจสำคัญที่สุดในการปกคีองท้ถงิถ่ิน และเพื่อหลีกเลี่ยงการทำงานที่ซ็ำซ้อนและการสะดุด โดยยึดหลักการเป็นอิสระของท้องถิ่นและดดยส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชนในการตรวจสอบลการทำงานของรัฐบาลกลางและท้องถิ่น
- "ระบบการปกครองท้องถิ่น ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม", นรุตม์ เจริญศรี, วิทยาลัยพัฒนากากรปครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
โครงสร้างการปกครองของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ฝ่ายหลักๆ คือ
1 องค์การฝ่ายนิติบัญญัติ หรือสมับบาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานสูงสุด้านนิติบัญญัติเปรียบเทียบำับหน่วยงานของไทยได้เทียบกับรัฐสภา สมัชชาแห่งชาติเป็นองค์กรที่สมาชิกได้มาจากการเลือกตั้ง มีจำนวนทั้งหมด 493 คน มีหน้าที่บัญญัติและแก้ไขกฎหมาย แต่างตั้งประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ การรับรองและถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบิี เสนอ รวมทั้งการแต่างตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ หน้าที่ของสมัชชาแห่งชาติคือการตรา รับรอง และแก้ไขรัฐธรรมนูญ พิจารณากฎหมาย พิจารณางบประมาณประจำปี อีกทั้งพิจารณาแต่างตั้งสถาบันทางการเมืองอื่นๆ ด้วยได้ แก่ สภาแห่งรัฐ สภารัฐมนตรี ศาลสูงสุด และองค์กรควบคุมประชาชน
2 องค์การฝ่ายบริหาร (รัฐบาลส่วนกลาง) ประกอบด้วยประธานนาธิบดี คณะรัฐมนตรี รวมทั้งพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าที่บรริหารพรรคอมมิวนิสต์ โดยองค์กรที่มีหน้าทบริหารพรรคอมมิวนิสต์
3 รัฐบาลระดับท้องถ่ิน หรือที่อาจเรียกได้ว่า สภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน มีคณะกรรมการประชาชนประจำท้องถ่ินนั้น ทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารสูงสุดบริหารงานให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎระเบียบต่างๆ ที่บัญญัติโดยองค์ของรัฐที่อยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริหารราชการท้องถิ่นของเวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของการปกครองเวียดนามก็คือเป็นการปกครองแบบที่เรียกว่า "โครงสร้างขนานระหว่างพรรคและรัฐ"กล่าวคือ พรรคคอมมิวนิสต์กับรัฐมีความสัมพันะ์กันอย่งแนบแน่น จำไม่สามารถแยกพรรคกับรัฐมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น จนไใามสามารถแยกพรรคกับรัฐออกจากกันได้ เพราะบุคคลที่บริหารงานต่างก็เป็นสมาชิกพรรคอมมิวินสิต์ด้วยกันทั้งสิ้น
ระบบโครงสร้างทางการเมืองของเวียดนามนั้นมีลักาณะคล้ายคลึงกับประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ คือ มีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนามเป็ฯองค์กรที่มีความสำคัญสูงสุด บทบาทของพรรคคอมมิวนิสต์นั้นมีมากในรัฐะรรมนูญทุกฉบับกำหนดให้เคารพบทบาทนำของพรรคในการใช้อำนาจของรัฐมากกว่าในระบบเสรีประชาธิปไตแบบทั่วไป หากพิจารณจากมาตราที่ 4 ของรัฐธรรมนูญเวียดนามจะพบวาได้ระบุเอาไว้ถึงการให้อำนาจแก่พรรคคอมมิวนิสต์ไว้ว่า "พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม..เป็นพลังจำของรัฐและสังคม"
โครงสร้างากรบริาหรของประเทศเวียดนามนั้นมีพรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้บริหาร ตัวแทนที่เข้าไปอยู่ในสภมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี รัฐบาลนั้นมีนายกรัฐมนตรีเป็นผุ้นำซึ่งได้ับการคัดเลือกมาจากสมัชชาแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี นอกจานี้ก็ยังมีประธานาธิบดี ซึ่งทำหน้าทีเป็นประมุขของรัฐเชนเดี่ยวกันและได้รับการคัดเลือกจากสมัชชาแห่งชาติเช่นเดี่ยวกันทั้งสองเป็นสมรชิกของกรมการเมือง ซึ่งกรมการเมืองเป็นกลุ่มของคนที่ถือว่าเป็นหัวกะทิของพรรค เป็นผุ้ที่มีอำนาจสุงสุดภายในประเทศ
ลักษณะการปกครองแบบรวมศูนย์ของเวียดนามนั้น มีผุ้วิเคราะห์ไว้ว่า เกิดจากการได้รับอิทธิพลของสองความคิด คือ แนวคิดในลัทธิขงจื้อ ซึ่งเป็นมรดกจากการที่เวียดนามเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีนพันหว่าปี ซึ่งลักษณะของการกครองแบบขงจื้อคือการเน้นศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลาง อีกความคิดหนึ่งที่ส่งผลต่อรูปแบบการปกครองเวียดนามก็คือแนวคิดในลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งแพร่ขยายเข้ามาสู่เวียดนามในช่วงคริสต์ศตวรษที่ 20 กรอบความคิดแบบคอมมิวนิสต์นั้นเน้นการปกครองแบบรัฐรวมศุนย์ เชื่อมั่ว่ากรรมสิทธิ์ทุกอย่างเป็นของสังคมโดยรวม ประชาชนมีสทิะิ์ในหารเข้ถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเที่ยม กังนั้เพื่อที่จะกำจัดนายทุนและปันส่วนจัดสรรการเข้าถึงทรัพากรให้กับทุกฝ่าย ส่งผลให้ปัจจัยการผลิตทั้งหมดนั้นต้อง
ในช่วงที่ฝรั่งเศสปกครองเวียดนามและมีสหพันธ์อินโดจีนนั้น การดูแลสหพันธ์อินโดจีนนั้นอยู่ภายใต้กระทรวงอาณานิคม สหพันธ์อินโดจีนแบ่งโครงสร้างการบริหารออกเป็นการบริหารงานส่วนกลางและการบริหารส่วนภูมิภาค
การบริหารงานส่วนกลาง ผุ้มีอำนาจสูงสุดในการบริหารงานคือ ผุ้ว่าการหสพันธ์อินโดจีน ซึ่งประจำการอยู่ที่กรุงฮานอย เขาเป็นตัวแทนสุงสุดในการทำการแทนรัฐบาลฝรั่งเศส โดยมีสภาสหพันะ์อินโดจีนเป็นผู้ช่วยในการตัดสินใจ สภาดังกล่าวประกอบไปด้วยผุ้ว่าการสหพันธ์เป็นประธานสภา และสมาชิกที่เป็นชาวฝรั่งเศส รวมไปถึงคนเวียดนามอีก 2 คนทำหน้าทีเป็นตัวแทนคนพื้นเมือง
สภาหสพันธ์อินโดจีนประชุมปีละ 1 ครั้ง เพื่อภิปรายให้ความเห็นและอนุมัติวบประมาณ ผลการตัดสินหรือความเห็นชอบของสภาสหัพนธ์จะถูกส่งต่อไปยังกระทรวงที่สำคัญ 4 กระทรวงที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงการบริหารกิจการการเมือง - การแกครอง กระทรวงกลาโหมกระทรวงกิจการภายในและสารนิเทศ และกระทรวงการคลัง
การบริหารภูมิภาค ฝรั่งเศสแบ่งการบริหารส่วนภุมิภาคในบริเวณอินดดจีนออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน คือ ดังเกี่๋ย ตอนเหนือของเวียดนาม, อันนัม ตอนกลางของเวียดนาม, ลาว, กัมพุชา (รัฐในอารักขา) โคชินจีน หรือทางตอนใต้ของเวียดนาม(อาณานิคม) บริเวณโคชินจีนนั้นจัดเป็นอาณานิคม อยุ่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสโดยตรง ผุ้มีอำนาจสุงสุดในโคชินจีนคือผุ้ว่าอาณานิคม โดยขึ้นตรงกับผุ้ว่าการสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย มีหน้าที่ให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ การเวิน การภาษีอากร แต่ไม่มีอำนาจในการให้คำปรึกษาหรือตัดสินใจด้านการเมือง นอกจานี้ยังมีสภาอาณานิคมโคชิจีนอีก 16 คน ซึ่งประกอบไปด้วยชาวฝรั่งเศสและชาวเวียดนาม และยังมีสภาที่ปรึกษาผุ้ว่าการอาณานิคมที่ม่สมาชิกเป็นทั้งชาวฝรั่งเศสและชาวเวียนาม ในส่วนของรัฐอารักขานั้น มีผุ้ว่าการสูงสุดขงอรับอารักขา ตามแต่ละรัฐอารักขา โดยมีอำนาจสุสุดและขึ้ตรงต่อผุว่การสหพันธ์อินโดจีนที่ฮานอย แต่เฉพาะในอันนัมเท่านั้นที่ฝรัี่งเสสยังคงสภาบันจักรพรรดิที่เว้และงอคกรบริหารงานส่วนใหย๋ของรัฐบาลจักรวรรดิไว้ แต่ไม่มีอำนาจที่แท้จริงเพราะมีอำนาจแต่ทางงานพิธิีการที่เกี่ยวข้องกับจารีตประเพณี สภาที่มีอำนาจทีทแ้จริงคือสภาผุ้ว่าการัฐอารักขา โดยมีผุ้ว่าการัฐอารักขาเป็นประธาน
ในช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าไปปกครองเวียดนามและมีการแก้ไขโครงสร้างการปกครองท้องถิ่น ฝรั่งเศสแทบจะไม่เปลียนแปลงการปกครองในหมู่บ้าานเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของปกครองในหมู่บ้านเลย เพราะฝรั่งเศสคิดว่าจารีตการปกครองของหมู่บ้านเวียดนามนั้นไม่มีผลต่อบทบาทของฝรังเศสในเวียดนาม ดังนั้นฝรั่งเศสจึงปล่อยให้รูปแบบที่เคยมีมานานแล้วในเวียดนามยังคงอยุ่ต่อไป
ช่วงที่ฝรั่งเศสเข้าปกครองเวียดนาม มีการจัดระบบการศึกษาใหม่ในเวียดนามเพื่อให้ชาวเวียดนามเรียรู้วิธีการบริหารราชการของฝรั่งเศสและเรียนรู้วัฒนธรรมฝรั่งเศสอื่นๆ รวมทั้ง หลังจาฝรั่งเศสเข้ายึดเวียดนาม ปัญญาชนจำนวนมากไม่ยอมไใ้ความร่วมมือกับฝรังเศส ทำให้ฝรั่งเสสจำเป็นต้องสร้างนักบริหารและนักปกครองรุ่นใหม่ขึ้นมาทำงานใรระบอบอาณานิคม ด้วยกานจัดตั้งโรงเรียนสอนราชการ
รูปแบบระบบการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามในปัจจุบัน ต้องกล่าวอย่างตรงไปตรงมาว่า รูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามนั้น เวียดนามแทบจะไม่มีการปกครองท้องถิ่นอยู่เลย เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของเวียดนามไม่มีองค์ประกอบการปกครองท้องถิ่นอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความเป้ฯอิสระของท้ถองถ่ินเพราะรัฐบาลส่วนกลางเข้ามาควบคุมดูแลในเกือบทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องงบประมาณ การบริหารงานบุคคล หรือการบริารงานทั่วไปที่ให้อิสระแก่ท้องถ่ินค่อนข้างน้อย การได้มาซึ่งผู้บริหารหรือสภาท้องถิ่นที่ผ่านการเลือกตั่งในรูปแบบที่รัฐสามารภควบคุมได้ คือ จัดให้มีการเลือกตั้งจริงในหน่วยการปกครองต่างๆ แต่การเลือกตั้งไม่มีการแข่งขัน ผุ้สมัตรรับเลือกตั้งล้วนสังกัดพรรคคอมมิวนิสต์ อีกทั้งยังต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการบริหารพรรคคอมมิวนิสต์ในระดับบนก่อนเสมอจึงจะสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นได้ ดังนั้นรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามจึงเทียบเคีรยงกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทยได้ยาก
อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญเวียดนามได้กำหนดลำดับชั้นของการปกครองส่วนท้องถิ่นเอาไว้ ว่าด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน รูปแบบการแบ่งการปกครองท้องถิ่นของเวียดนามนั้นอาจแตกต่างจากรัฐอื่นๆ เช่น สหพันธรัฐอย่างออสเตรเลียหรืออเมริกานั้นแบ่งรูปแบบการปกครองออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน คือ ระดับสหพันธรัฐ ระดับรัฐ และระดับเดี่ยวอาจแบ่งกรปกครองอกเป็น 2 ระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลต่ำกว่าชาติ เวียดนามก็แบ่งการปกครองออกเป็นสองระดับ เช่นเดียวกัน ระดับต่ำกว่าชาติ ก็คือระดับท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญเวียดนามปี ค.ศ. 1992 รัฐบาลจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นออกเป็น 3 ระดับใหย๋ระดับสูงสุดคือรัฐบาลกลาง การปกครองท้องถิ่นระดับแรกคือระดับจังหวัด ระดับที่สองคือระดับเมืองและระดับที่สามคือระดับคอมมูน โดยในแต่ละระดับก็จะมีการแยกย่อยออกไปอีก ดังที่จะได้กล่าวในส่วนต่อไป ในแต่ละระดับ จะมีหน่วยงาานที่รับผิดชอบงานด้านท้องถิ่นอยู่ 4 หน่วยที่สำคัญคือ คณะกรรมการประชาชน สภาประชาชน ศาลประชาชน ตัวแทนประชาชน โดยในที่นี้จะมุ่งศึกษาแต่สภาประชาชนและคณกรรมการประชาชนเป้ฯหลัก เพราะเป็นสองหน่วยที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นโดยตรง
อำนาจหน้าที่ของท้องถิ่น เราจะเห็นได้จากอำนาจหน้าที่ของสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชนว่ามีหน้าที่ที่หลากหลาย ทั้งในประเด็นเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยองท้องถิ่น ความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การดูแลวิทธยาศาตรืและเทคโนโลยี สิ่งเเวดดล้อม ศิลปะวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และอื่นๆ ซึ่งเป็นประเด็นที่ต้องจัดการเรือ่งสังคมของท้องถิ่นเป็นหลัก โครงสร้างการบริหารและทำงานของท้องถิ่นนั้นเป็นไปอย่างสลับซับซ้อน แต่ละระดับชั้นประกอบไปด้วยสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชน ซึ่งมีหน้าที่ในการรายงานตรวจสอบ ควบคุมการทำงานระหว่างกัน ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการตัดสินจและการทำงาน เพาระต้องอาศัยการเดินเรื่องเพื่อส่งต่อให้ตัดสินใจหลายขั้นตอน ทำให้การทำงานเกิดความล่าช้าในการตัดสินใจอนุมัติโครงการ
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับท้องถิ่น ในประเด็นเรื่องหน่วยของกความรับผิดชอบคือ ระดับของท้องถิ่นในการรับผิดชอบต่อการปกครองท้องถิ่น ท้องถิ่นของเวียดนามมีอำนาจในการจัดการประเด็นบางอย่าง เช่น ระบบการศึกษา กฎหมายหรือด้านตำรวจ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่รับผิดชอบสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า หรือโทรศัพท์ รวมถึงประเด็นเรื่องอุตสาหกรรม โรงพยาบาลก้เป็นหนึ่งในความรับผิดชอบของท้องถ่ิน และการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน โดยงบประมาณด้านสาธารณสุขนั้นจะมาจากค่าบริหารของผุ้ป่วยที่มาใช้บริหรในโรงพยาบาล การดุแลผู้สูงอายุและคนพิการนั้นเป็นหน้าที่ของครอบครัวที่ต้องดุแล แต่ก็มีหน่วยงานที่ช่วยดุแลบุคคลที่ไม่มีครอบครัวท้องถิ่นก็จะมีอำนาจในการดูแลหน่วยงานลักษณะนั้น หรืออาจกล่าวโดยสรุปก็คือ อำนาจของท้องถิ่นนั้นมีอำนาจในการดูแลประเด็นกว้างๆ ของสาธารณะ
อย่างไรก็ดี ด้วยรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ของเวียดนาม ส่งผลให้กระบวนการตัดสินใจและการบังคับออกกฎและดูแลท้องถ่ินของเวียดนามนั้นไม่เป็นอิสระ วบประมาณที่ต้องจัดสรรลงมาจากรัฐบาลส่วนกลางเพื่อดูแลท้องถิ่นนั้นก็เต็มไปด้วยกฎระเบียบเชิงราชการที่มีข้อกำหนดและกระบวนการมากมายเฉกเช่นเดี่ยวกับลักษระการทำงานของระบบราชการไทย ซึ่งส่งผลให้การกระทำการใดๆ นั้นเป็นไปด้วยความบ่าช้า ทั้งในเรื่องการตัดสินใจและการเบิกจ่ายวบประมาณ แต่ข้อดีของการผูกอำนาจไว้กับรัฐบาลส่วนกลางก็คือการที่รัฐบาลสามารถปรับเปลี่ยนวบประมาณไปในประเด็นที่มีความต้องการเร่งด่วนได้เร็วกว่า
งบประมาณท้องถิ่น รูปแบบอำนาจด้านงบประมาณของเวียดนามนั้นเป็นลำดับขั้นอย่างมาก และเป็นไปตามแบบ Matruska Doll Model ซึ่งงบประมาณจากหน่วยการปกครองระดับล่างต้องได้รับการอนุมัติทั้งจากสภาประชาชนและจากหน่วยงานราชการระดับสูง งลประมาณของท้องถ่ินถูกถือรวมเป็นงบประมาณของท้องถ่ินถูกถอืรวมเป็นงบประมาณของรัฐ
ท้องถิ่นไม่มีอิสระด้านวบประมาณของตัวเองมากนัก แม้ท้องถ่ินจะสามารถกำหนดเป้าหมายและของบประมาณไปยังส่วนกลาง แต่งบประมาณของท้องถิ่นก็ยังรวมกับวบส่วนกลาง นอกจากนี้.โครงสร้างแบบลำดับชั้น นั้นก็ส่งผลให้ต้องอาศัยการได้รับการอนุมัติที่ยุ่งยาก อย่างไรก็ดี กฎหมายที่มีความสำคัญต่องบประมาณของเวียดนามคือ กฎหมายวบประมาณของรัฐ ที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 และมีการแก้ไขครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2002 กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายฉบับแรกของเวียดนามที่มีการพูดถึงเรื่องงบประมาณการเงินและากรคลังของประเทศ
ในปี ค.ศ. 1996 กฎหมายฉบับนี้ได้กำหนดให้มีการแบ่งงบประมาณออกเป็นสองสวนใหญ๋คือวบประมาณส่วนกลางและวบประมษรท้องถ่ิน โดยวบประมารศ่วนกลางมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของรัฐบาลกลางเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประทเส ในขณะที่วบประมาณส่วนท้องถิ่นนั้นมีหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของสภประชาชนและคณกรรมการปรกชาชน รวมไปถึงหย่วยงานระดับท้องถ่ินทอืนๆ รวมไปถึงกระบวนการของวบประมาณและการจัดการการตรวจสอบ และอื่นๆ
กฎหมายวบประมาณของรัฐได้รับการแห้ไขครั้งแรกในปี ค.ศ.1998 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 2002 โดยกำหนดให้รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นมีที่มาของรายได้ไม่ทับซ้อนกันในบางประเด็น และให้ใช้ร่วมกันในบางประเด็น ประเด็นที่สำคัญก็คือ แปล่งที่มาของรายได้นั้นมาจากแหล่งที่แตกต่างกันออกไปดังที่เสนอไปในตาราง ในส่วนของการตัดสินใจการใช้งบประมาณของสภาประชาชนนั้นจะเป็นการตัดสินใจโดยสภาประชาชนเองตามที่ได้รัฐบาลได้นัดสรรให้มา...
... ปัญหารเรื่องการรวมศุนย์อำนาจ เวียดนามปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ปัญหาของการรวมสูนย์อำนาจของเวียดนามไว้ที่รัฐบาลส่วนกลางได้ส่งผลต่อกาปกครองท้ถงอิ่นของเวยดนาม อีกทั้งรูปแบบการปกครองท้องถ่ินของเวียดนามเองนั้นก็ไม่ได้เป็นไปในลักษระการปกครองท้องถิ่นที่สังคมไทยเข้าใจ เนื่องจากยังเน้นการปกครองจากส่วนกลาง การไม่มีโครงกสร้าง อำนาจ หน้าที่ การเงิน หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อีกทั้งปัญหาในระบอบการปกครองแบบคอมมิวินิสต์เองก็มีปัญหาในตัวของมนัน เราอาจสรุปได้ว่าปัญหาของการปกครองท้องถ่ินเวยดนามมีดังนี้
- การทำงานขององค์รปกครองสวนท้องถ่ินขดการมีส่วนร่วมของประชาชน และขาดความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหา
- การตัดสินใจไม่มีความยือหยุ่น ไม่เป็นไปตามกำหมายซึ่งนำไปสู่การร้องทุกข์และการฟ้องร้อง
- มีการละเมิดสิทธิขั้นพี้นฐานของประชาชน
- มีการคอรัปชั้นกันอย่างกว้างขว้าง
- เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินไม่มีความคิดริเร่ิมในกิจการงานใหม่ๆ
- เจ้าหน้าที่ท้องถ่ินมีการตอบสนองต่อความต้องการของเจ้านายระดับบนเป็ฯอย่างดีแต่ไม่ตอบสนองข้อเรียกร้องต่อประชาชน
- เจ้าหน้าที่ไม่คุ้นเคยกับกฎระเบียบของกฎหมาย มักจะใช้ดุลยพินิจส่วนตัวในการแห้ไขปญ
- เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการออกกฎหมาย
ทั้งหมดนี้ พอจะทำให้เห็นได้ว่า การปกครองท้องถ่ินของเวียดนามยังขาดความเป็นอิสระอยู่มาก ซึ่งมีลักาณะที่เรียกว่า "การปกครองท้องถิ่นโดยรัฐ" แต่แม้จะมีปัญหาดังที่ได้กล่าวมาในข้าองต้น รัฐบาลกลางของเวียดนามก็ได้พยายามแสวงหาแนวทางในการที่ะแก้ไขปัญหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นเอาไว้บ้างแล้ว หลายๆ ปัญหาที่ได้หล่าวมา เกิดขึ้นจากการที่อำนานทั้งหลายของการปกครองท้ถงอิ่นไปกระจุกตัวอยู่ที่รัฐบาลส่วนกลาง ดังนั้น เพื่อจะเป็นการลดปัญหาการปกครองส่วนท้องถิ่นรัฐบาลเวียดนามจึงได้เร่ิมมีการพูดถึงการกรจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินโดยได้กำหนดหลักในการกะจายอำนาจดังนี้
- กระจายอำนาจต้องไม่มีผลกระทบต่อความเป็นอันเหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ อำนาจของรัฐต้องเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวกันจะแบ่งแยกไม่ได้
- ต้องหารูปแบบที่เหมาะสมเสียก่อน กล่าวคือ การจะกระจายอำนาจไปสู่ท้องถ่ินนั้นต้องมีการทำการวิจัย ออกแบบ และวิเคราะห์ถึงผลกระทบในมิติต่างๆ เสียก่อน
- การกระจายอำนาจต้องดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไปและระมักระวัง
- การกำหนดอำนาจกน้าที่ระหว่างสวนกลางและท้องถ่ินต้องเป็นไปเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพของการทำงานของส่วนกลาวและในขณะเียวกันก็ต้องเพิ่มความเป็นอิสระของท้อถงิุ่นในการตัดสินใจด้านสังคมและเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นๆ
- อำนาจและหน้าที่ของทั้งรับบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ินต้องได้รับการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้ทราบว่าอำาจหน้าที่ใดมีความเมหาะสมกบท้องถ่ิน
- หน่วยงานของส่วนกลางต้องไม่สร้างดครงสร้างองค์กรเหมือนกับโครงสร้างองค์กรของหน่วยงานของท้องถิ่น
- การกระจายอำนาจที่ดีต้องก่อให้เกิดผล 4 ประการ คือ การมีการบริาหรกิจการบ้านเมืองที่ดี การเพ่ิมความสะดวกแก่ประชาชนในท้องที่ การส่งเสริมการปกครองโดยยึดหลักฎหมาย การเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน จากแนวคิดเรื่องการกรจายอำนาจดังกลล่าวส่งผลให้รัฐบาลมีการกำหนดบทบาทความรับผิดชอบกับรัฐบาลท้องถ่ินแยหกันไว้ 3 หน้าที่คือ
1 รัฐบาลและหน่วยงาน่วนกลางทมีหน้าที่รับผิชอบหลัก 7 เรื่อง คือ การเมือง เศรษฐฏิจ วัฒนธรรม สังคม ป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย และการดำเนินการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2 ส่วนท้องถ่ินมีหน้ามีรับผิชอบตอประชาชนในท้องถ่ินในเรื่อง
- การสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในท้องถิ่นให้สอดคล้งกบเจตนารมของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อหลักประกันเอกภาพความเป็นผุ้นำของรัฐบาลกลาง
- การดำเนินการอย่างสร้างสรรค์และอย่างมุ่งมั่นในการพัฒนาทุกด้านในท้องถิ่นในการบริการสาธารณะที่ดีต่อประชาชน
- การส่งเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรมของรัฐสังคมนิยม และส่งสเริมกลไกของประชาชน โดยประชาชน เพื่อปรชาชน
- การธำรงรักษาความมั่นคงและปรับปรุงมตรฐานการครองชีพของประชาชน รวมท้งการพัฒนาการผลิตทั้งหลาย โดยมีการใช้ศักยภาพของคนให้เหมาะสม
3 ความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างรัฐบาลกลางและท้องถ่ิน ต้องมีควมชัดเจน รัฐบาลเวียดนามถือว่าเรื่องนี้เป็นหัวใจสำคัญที่สุดในการปกคีองท้ถงิถ่ิน และเพื่อหลีกเลี่ยงการทำงานที่ซ็ำซ้อนและการสะดุด โดยยึดหลักการเป็นอิสระของท้องถิ่นและดดยส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชนในการตรวจสอบลการทำงานของรัฐบาลกลางและท้องถิ่น
- "ระบบการปกครองท้องถิ่น ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม", นรุตม์ เจริญศรี, วิทยาลัยพัฒนากากรปครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Loas
การแบ่งเขตการปกครองภายในประเทศของ สปป.ลาว แบ่งออกเป็น 16 แขวงและนครหลวง 1 แห่ง การปกครองท้องถิ่นในปัจจุบันตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พ.ศ. 1991 (ฉบับแก้ไขปรับปรุง ค.ศ. 2003) มาตรา 75 กำหนดให้แบ่งการปกครองท้องถ่ินออกเป็ฯ 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นแขวง ขั้นเมือง และขั้นบ้าน โดยขั้นแขวงมีหนวยการปกครอง คือ แขวงและนครหลวง ขั้นเมืองมีหน่วยการปกครอง คือ เมืองและเทศบาล ส่วนขั้นบ้านมีหนวยการปกครอง คือ บ้าน ส่วนตำแหน่งผุ้ปกครองกำหนดให้แขวงมีเจ้าแขวงเป็นผู้ปกครอง นครหลวงโดยเจ้าครองนครหลวง ส่วนการปกครองระดับเมืองให้ปกครองโดยเจ้าเมือง สวนเทศบาลให้อยู่ภายใต้การปกครองของหัวหร้าเทศบาลและสุดท้าย คือการปกครองในระดับบ้านให้มีนายบ้านเป็ฯผู้ปกครอง ในกรณีที่จำเป็นอาจจะตังเขตพิเศษขึ้นตามความเห็ฯชอบของสภาแห่งชาติ โดยให้เขตพิเศษนั้นมีฐานะเที่ยบเท่ากับแขวง
การปกครองท้องถิ่นในสมัยอาณานิคมฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ. 1893-1945 ภายใต้การปกครองแบบเมืองขึ้นโดยมีพระเจ้าแผ่นดินปกครองในฐานะประมุขแต่เพียงในนามเท่านั้น ซึ่งการจัดโครงสร้างการกคอรงในช่วงเวลานี้ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนกลางมีการจัดตั้เง กระทรวง ทบง
กรม และอีกส่วนหนึ่ง คือ ส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย
แขวง มี เรสิดังต์ เป็นผู้ปกครอง
เมือง มี เดเลเกย์ เป็นผู้ปกครอง
กอง มี นายกอง เป็นผู้ปกครอง
ตาแสง มีตาแสง เป็นผุ้ปกครอง
บ้าน มี นายบ้านเป็นผู้ปกครอง
" แขวง" เป็นหน่วยการปกครองที่หใญ่ที่สุดในระดับท้องถิ่น ขึ้นตรงหรือยู่ภายใต้การบังคับบัญชาต่อข้าหลวงใหญ่ฝรั่งเศส หรือผุ้สำร็จรชการประจำลาว โดยแขวงประกอบด้วยหลาย "เมือง" เมืองแบ่งเปนหลาย "ตาแสง" มีความหมายได้ทั้งหน่วยการปกครองระดับตำบลและหัวหน้าผุ้ปกครอง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งมาจากนายบ้านที่อยู่ในพื้นที่ตาแสงนั้นๆ โดยเจ้าเมืองให้การรับรองทั้งตาแสงและนายบ้านมีหน้าที่ในการสำรวจประชกร รายงานเกี่ยวกับการเกิดการตาย ดุแลประชาชนตามคำสั่งของเจ้าเมืองและเจ้าแขวงส่วนท้องถิ่นมีเทศบาล ทั้งนี้ฝรั่งเศสได้จักตังเทศบาลขึ้นในทุกท้องที่ทุกแขยวงเพื่อดำเนินกาบริาหรงานส่วนท้องถ่ิน โดยมอบให้ข้าหลวงประจำจังหวัดดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรี นอกจานี้ยังมี "กอง" ที่จัดตั้งขึ้นในเขตที่ไม่สามารถจัดเป้ฯเมืองได้ โดยมีนายกองเป้นผุ้ปกครองซึ่งอาจขึ้ต่อเจ้าเมืองหรือเจ้าแขวงแล้วแต่กรณีไป
ในด้านอำนาจหน้าที่นั้น ตาแสงและนายบ้านมีหน้าที่สืบสวนหาคนร้าย และเป็นผุ้พิพากษาในคดีบางประเภท สามารถที่จะปรับผู้ที่กระทำการละเมิดจารีตประเพณีหรือความสงบของหมู่บ้าน หากตาแสงและนายบ้านทำงานได้ดดี เจ้าแขวงอาจให้ยศเป็ฯหมื่อนแสน เพย และพยา ส่วนเจ้ามืองนั้นถือได้ว่ามีอำนาจเบ็ดเสร็จและประชาชต้องเช่อฟังอย่างเคร่งครัด มีการใช้อำนาจและกระบวนการปกครองด้วยระบบศาล หัวหน้าตำรวจ ระบบโรงเรียนโดยผ่านหัวหน้าโรงเรียนประถมสมบูรณ์ตอนต้น การสาธารณสุขโดยใช้การออกคำสั่งเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล ใช้อำนาจปกครองประชาชผ่านตาแสงและนายบ้าน
กล่าวได้ว่า การจักการปกครองที่เกิดขึ้นมุ่งเน้นการสร้างระบบควบคุมลาวให้อยู่ในความสงบเป็นหลัก โดยใช้ระบบควบคุมเป็นขั้นตอนกล่าวคือ ระดับเมืองให้เจ้าเมืองนั้นมีอำนาจมากและเก็บผลประโยชน์หรือบรรณาการส่งใหรัฐผุ้ปกรองมากกว่าการสร้างความเป้ฯปึกแผ่นของคนในชาติ สามารถเรียกเก็บภาษีสาธารณูปโภคจากประชาชนได้โดยให้แขวงเป้ฯหน่วยจัดเก็บหรือแผงในรูปค่าธรรมเียมต่าง ต่อมาเมืองญี่ปุ่นได้ครอบครองลาวต่อจากฝรั่งเศสในเดือนเมษายน ค.ศ. 1945 ยังคงรักษาโครงสร้างการปกครองของฝรั่งเศสไว้เช่นเดิม แต่ให้ผุ้ปกครองชาวญี่ปุ่นเข้าไปทำหน้าที่แทนผุ้ปกครองชาวฝรั่งเศสและจัดให้มีสภาที่ปรึกษาสูงสุดคู่กับพระเจ้าแผ่นดิน และให้มีที่ปรึกษาสูงสุดของญี่ปุ่นแทนที่ข้าาหลวงใหญ่ของฝรั่งเศส ตลอดจนย้ายที่ทำการจากเวียงจันทน์ไปตั้งอยู่ที่ท่าแขกในแขวงคำม่วน ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ติดชายแดนไทยและเวียดนาม
ต่อมาเมื่อญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงคราม ฝรั่งเศสได้กลับเข้ามายึดอำนาจในการปกครองลาวอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้บริบทางการเมืองที่ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองและมีกระแสชาตินิยมมากขึ้น ฝรั่งเศสจึงได้จัดรูปแบบการปกครองใหม่ ถึงแม้จะไม่เป็นประชาธิปไตย แต่ได้นำรูปแบบโครงสร้างการปกคอรงแบบโลกเสรีตะวันตกมาใช้โดยจัดให้มีสภาแห่งชาติ รัฐธรรมนูญและรัฐบาล ซึ่งอำนาจทั้งหมดยังคงเป็นของข้าหลวงฝรั่งเศส รวมทั้งได้มีการแบ่งแยกข้าราชการออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ข้าราชการระดับสหพันธ์ ทำงานให้แก่องค์กรยุติธรรม การคลัง การเงิน ภาษี โยธาธิการ ไปรษณีย์ การศึกษาระดับกลางและระดับสูงตลอดจนองค์การรักษาความปลอดภัยของสหพันธ์ ในขณะที่อีกระดับหนึ่ง คือ ข้าราชการระดับท้องถิ่น ประกอบด้วย กองทหารรักษาพระองค์ กองทัพแห่งชาติ การศึกษาแห่งชาติ ข้าราชการกระทรวงทบวง กรมของรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรลาว แต่ยังคงโครงสร้างการปกครองท้อถงถิ่นเอาไว้ ได้แก่ แขวง เมือง กอง ตาแสงและบ้าน
เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวยึดอำนาจจากรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรลาวแล้ว หัวใจสำคัญประการหนึ่ง คือ เปลี่ยนแปลงการจัดระเบียบบริหาราชการ โดยในช่วงระยะเริ่มแรกของการปกครองจนถึงก่อนการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 นั้น มีแนวโน้มเป็ฯการกระจายอำนาจโดยองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน มีการแยกหน่วยงานออกเป็นอิสระจากองค์การของราชการบริหารส่วนกลาง มีวบประมาณและบุคลากรเป็ฯของตนเอง เจ้าหน้าที่ทังหมดของหน่วยการปกครองท้องถ่ินเหล่านั้นได้รับเลอกตั้งจากประชาชน รวมทั้งมีอิสระในการปฏิบัติตาอำนาจหน้าที่ของตนเป็นไปตามระเบียบการเกี่ยวกับการจัดตั้งสภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองท้องถิ่นขึ้นต่างๆซึ่งได้รับการรับรองโดยที่ประชุมสมัยวิสามัญของคณะรัฐมนตรีผสมการเมืองแห่งชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1975 และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง สภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองประชาชนขั้นต่างๆ โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 4 ขั้น คือ
แขวงหรือกำแงนคร มีเจ้าแขวงหรือเจ้าครองกำแพงนรเป็ฯผุ้ปกครอง
เมือง มีเจ้าเมือง เป้ฯผุ้ปกครอง
ตาแสง มี ตาแสง เป็นผุ้ปกครอง
บ้าน มี นายบ้าน เป็นผุ้ปกครอง
ในแต่ละขั้นมีสภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองท้องถิ่นขั้นต่างๆ ได้แก่ สภาประชาชนระดับแขวงและกำแพงนครสภาประชาชนเมืองและเทศบาลแขวง สภาประชาชนตาแสงและเทศบาลเมอง ซึ่งสภาประชาชนขั้นต่างๆ ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนท้องถิ่นที่สภาประชาชนขั้นนั้นๆ ตั้งอยู่ เพื่อทำหน้าที่เป้นองค์การอำนาจรัฐอยู่ในท้องถิ่นเป็นตัวแทนให้แก่สิทธิประโยชน์และรับผิดชอบต่อประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ ตั้งอยู่ เพื่อทำหน้าที่เป็ฯองค์การอำนาจรัฐอยู่ในท้องถิ่นเป็นตัวแทนให้แก่สิทธิประโยชน์และรับผิดชอบต่อประชานในท้องถิ่นน้ชั้น สภาประชาชนขั้นต่างๆ จะเป็นผุ้เลือกตั้งคณะกรรมการปกครองประชาชนในขั้นของตนและผู้พิพากษาศาลขั้นของตนยกเว้นสภาประชาชนตาแสงที่ไม่มีศาลประชาชนเป็ฯของตนเองโดยอำนาจในการตัดสินคดีที่เกิดขึ้นในเขตตาแสงและทเศบาลนั้นเป็นอำนาจในการตัดิสินคดีที่เกิดขึ้นในเขตตาแสงและเทศบาลนั้นเป็ฯอำนาจของศาลประชาชนเมืองและศาลประชาชนแขวงหรือกำแพงนครซึงต่อมา ได้มีการยุลเลิกสภาประชาชตาแสงแต่ยังคงคณะกรรมการปกครองตแสงไว้
ช่วงเวลานี้ถือได้ว่าสภาประชานเป็นกลไกที่มีความสำคัญและบ่งชี้ถึงการก้าวเข้าสู่การกระจายอำนาข ของสปป.ลาวในยุคนั้นและเป็ญยุคที่มีลักษณะของการสร้างประชาธิปไตยในระดับฐานรากได้อยางชัดเจนที่สุด ซึ่งในแต่ละขั้นต่างๆ มีอำนาจหน้าที่คล้ายกันนั่นคือ การับประกันการเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ รักษาความสงบเรียบร้อยทรัพย์สินของรัฐและพลเมืองในท้องพถิ่นของตนรวมถึงการรับประกันสทิธิความเสมอภาคและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างชนชาติในท้องถิ่นนั้นๆ ตลอดจนปลุกระดมให้พลเมืองในท้องถิ่นปฏิบัติพันธะหน้าที่ที่มีต่อรัฐให้เป็นไปด้วยดี นอกจากนั้นสภาประชาชนขึ้นต่างๆ ยังมีอำนาจออกมติเพื่อใช้ปฏิบติหรือใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ วัฒฯธรรมและสังคมของพื้นที่นั้นโดยต้องไม่ขัดต่อกฎหมายของรัฐหรือมติขององค์การรัฐขึ้นสูงกว่า
ในด้านการจัดโครงสร้างสภาประชาชนขึ้นต่างๆ ยังไม่มีการเลือกตั้งประธานเป็นการภาวร อำนาจหน้าที่ในการเรียกประชุมสภาประชาชนขึ้นอยู่กับคณะกรรมการปกครองประชาชน ซึ่งจะประชุมเลือกประธานหรือเลขานุการตามมติในแต่ละสมัยประชุม ทั้งนี้ไม่ได้มีการกำหนดคุณสมบัติและจำนวนสมาชิกสภาประชาชนไว้อต่อย่างใด มีเพียงการกำหนดคุณสมบัติของผุ้มีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งและมีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งและมีสิทธิเลือกตั้งไว้ว่า ต้องเป็นผุ้ไม่ถูกตัดสิทธิทางการเมือง ไม่ถูกจำคุก ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตและมีอายุครบ 18 ปี ในวันเลือกตั้ง และได้มีการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาประชานในขั้นต่างๆ และวิธีการเลือกตั้งตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งผุ้แทนประชาชน ค.ศ. 1988 ที่ได้ให้อำนาจหน้าที่แก่คณะประจำสภาประชาชนสูงสุดร่วมกับคณะประจำสภารัฐมนตรีเป็ฯผุ้กำหนดจำนวนผุ้แทนประชาชนขั้นต่างๆ ทั่วประเทศแล้วจึงออกประกศโดยคำสั่งของประธานสภารัฐมนตรี
อย่างไรก็ตาม ได้มีการสร้างกลไกทางการเมืองที่ดำเนินงานควบคุ่ไปกับการปกครองระดับท้องถิ่น โดยรัฐบาลได้ส่งสมาชิกพรรคและทหารของฝ่ายขบวนการประเทศลาวหรือพรรคประชาชนปฏิวัติลาวให้มาตั้งถ่ินฐานอยู่ในทุกชุมชนในเขตปลดปล่อยใหม่ เพื่อทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการปกครองประชาชนในโครงสร้างการปกครองท้ถิงถ่ินระดับต่าๆ มีหน้าที่ในการสอดส่องูแลอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ยังได้จัดตังกองกำลังต่างๆ ลักษณะเช่นนี้เปรียบได้กับการจัดโครงสร้างแบบหน่วยย่อย (cell) ดังเช่นพรรคอมมิวนิสต์โดยทั่วไปที่มีเป้าหมายในการขยายอิทธิพลครอบคลุมพื้นที่การปกครองและสร้างความเป็นปคกแผ่นนั่นเอง
หลังจากประกาศใช้รัฐะรรมนูยแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 เป็นผลให้การจัดโครงสร้างการปกครองมีลักษณ์ของการรวมศูนย์อำนาจที่เข้มข้นมากขึ้น เนื่องจากประสบการณ์ของการกระจายอำนาจในการปกครองที่ไม่ประสบความสำเร็จโดยเฉพาะสภาประชาชนขั้นต่างๆ ไม่มีบทบาทางการปกครองเท่าที่ควร โดยสวนใหย่จะเป็นบทบาทของคณะกรรมการการปกครองประชาชน หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1991 ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองจากการปกครองตามเขตแค้วนสู่การแบ่งขั้นคุ้มครอง และเปลียนจากการคุ้มครองด้วยมติคพสั่ง เป็นการคุ้มครองรัฐด้วยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรมนูญฉบับนี้ได้กำหนดให้โครงสร้างการปกครองระดับท้ถงิถ่ินทีเพียง แขวง กำแพงนคร เมืองและบ้าน โดยหนวยการปกครองและตำแหน่ง "ตาแสง" ถุกยกเลิกไปไม่มีการระบุถภึงสภาท้องถิ่นใด ๆ ทั้งสิ้น เหตุที่นำไปสู่การยกเลิกตาแสง เนื่องมาจากตาแสงเป็นหน่วยงานที่ไม่มีประสิทธิภาพและสร้างความยุ่งยากให้แก่การประสานงานระหว่งเมืองกับบ้าน ซึ่งทำให้การนำมติคำสั่งขององค์การขึ้นสูงมาปฏิบัติในหน่วยงการปกรองระดับบ้านเป้นไปอย่าล่าช้า เป้ฯผลให้ำคร้องของประชาชนที่เสนอขึ้นไปสู่การปกครองระดับเมืองจึงตกค้างอยู่ที่ตาแสงแต่ถึงแม้ว่าจะมีการยเลิกตาแสงแล้ว ในบางพื้นที่ก็ยังคงมีตาแสงอยู่
ภาพรวมของพัฒนาการปกครองท้อถงิ่นของ สปป,ลาวในช่วงเวลานี้ ถือได้ว่าภายใต้ระบบการบริหารแบบรวมศูนย์ส่งผลให้การบริหารตัวเมืองและชนบทไม่มีความแตกต่างกันมากนักเนื่องจากรัฐบาลสนบสนุนงลประมาณให้ทั้งหมด แม้ว่าเมปืงใหญ่ จะเป็นศูนย์กลางทางกรเปกครอง เศราฐกิจและวัฒนธรรม แต่รูปแบบการบริหารไม่ได้แยกระหว่งการเป็นเขตเมืองและชนบท
ในปี ค.ศ. 2003 เป็นปีที่มีความสำคัญต่อการปกครองท้องถิ่นของ สปป.ลาว ในเชิงของการปรับตัวที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้ถงอิ่น นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายในการแบ่งอำนาจและมอบหมายความรับผิดชอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นผุ้คุ้มครองดินแดน ทรัพยากรธรรมชาติและประชานเพื่อความเจริญมั่งมี ผาสุขโดยกลำกทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการปรับตัวในยุคปัจจุบัน ได้แก่ การแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 ในปี ค.ศ. 2003 ซึ่งกำหนดให้การปกครองท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นแขวง มีแขวงและนครหลวง ในการ๊จำเป็นอาจจัดตั้เงเป็นเขตการปกครองพิเศษได้ ในปัจจุบันมีเพียง 1 แห่ง คือ นครหลวงเวียงจันทน์ มีเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวง เป็นผุ้ปกครอง ขั้นเมือง ประกอบด้วย เมืองและเทศบาล มีเจ้าเมืองและหัวหน้าเทศบาล เป้นผู้ปกครอง ประกอบกับการประกาศใช้กฎหมายการปกครองส่วนท้องถิ่น ค.ศ.2003 ได้นิยามความหมายขององค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นว่า เป็นการจัดตั้งหน่วยกาบริหารรัฐในขั้นท้องถ่ินที่มีภาระบทบาทในการคุ้มครองด้านการบริหารทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมสังคม สิ่งแวดล้อม การวางแผนการพัฒนาตัวเมือง การบริการสาธารระ การรับประกันความสงบและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในท้องถ่ิน โดยมีความร่วมมือกับต่างประเทศตามการมอบหมายของรับบาล นอกจากนี้ยังมีหลักปฏิบัติตามมติกรมการเมืองศูนย์กลางพรรค ว่าด้วยการสืบต่อปรับปรุงโครงสร้างบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น
การประกาศใช้กฎหมายหรือแนวปฏิบัติดังกล่าวได้รับอทะฺพลสำคัญมาจากนโยบายจินตนาการใหม่ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษบกิจและสังคม ของสปป.ลาว ให้มีการขยายตัวอย่างมาก ส่งผลให้มีการปรับปรุงระบบการบริหารรัฐอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ พรรคประชาชนปฏิวัติลาวจึงได้นำแนวคิด "การสร้างกลุ่มบ้านและบ้านพัฒนา" มาเป็นแนวทางในกาพัฒนาสังคมและเศรษบกิจของประเทศ ในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาหลายๆ ด้าน เช่น การแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาทางกสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยน ตลอดจนการกรับปรุงโครงสร้างองค์กรของกระทรวงและการกรจายอำนาจสู่ท้องถิ่นตามที่รัฐาลมอบหมายภารกิจ เพื่อเป้นกลไกหลักในการขับเคลือนนโยบายของพรรคไปสู่การปฏิบัติ มีแนวนโยบายเปลี่ยนให้แขวงเป็นหน่วยด้านยุทธศาสตร์ เปลี่ยนเมืองให้เป็นหน่วยด้านการวางแผนและงบประมาณเปลี่ยนหมู่บ้านให้เป็นหน่วยสนับสนุนการทำงาน รวมถึงการกระจายอำนาจให้แก่แขวง เพื่อยุติการวางแผนเศรษบกิจจากส่วนกลางที่ไม่มีประสทิธิภาพและขาดความคล่องตัว ซึ่งการกระจายอำนาจดังกล่าวส่งผลให้เจ้าแขวงมีอสิระในการบริหารและพัฒนาทางเศรษฐกิจภายใจแขวงของตนเองอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การกำหนดแผนพัฒนาทางเศรษบกิจ งบประมาณการก่อสร้าง การคาภายในแขวงและการติดต่อทางการค้ากับต่างประเทศ เป็นต้น
การเปลี่ยนผ่านอำนาจทางเศรษฐกิจให้แก่ปขวงในยุคนี้เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในกาสถาปนาอำนาจและบทบาทนำในท้องถิ่นของเจ้าแขวง ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อสังเกตว่า การกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะการมอบอำนาจใหแก่เจ้าแขวงนั้น เป้ฯการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะการมอบอำนาจให้แก่เจ้าแขวงนั้น เป้นการกะจายอำนาจทางการบริหารและการจัดการทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่นระดับแขวงมากขึ้น ในขณะที่อำนาจของส่วนกลางภายในพื้นที่แขวงมีลดลง เม่อมีแนวโน้มเช่นนี้จึงได้มีความพยายามดึงอำนาจกลับมารวมศูนย์ที่ส่วนกลางเช่นเดิม
ในปี 2003 ยังมีอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ การเกิดหน่วยการปกครองแบบรวมกลุ่ม ที่เรียกว่า "เขต zones"และ "คุ้มบ้าน group villages โดยการแบ่งเป็นเขตและคุ้มบ้านนี้ เป้นการจัดตั้งและแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในลักาณะของการรวมกลุ่มบ้าน ประมาณ 7-15 บ้านต่อ 1 เขต หรือคุ้มบ้าน เป็นหน่วยเชื่อมโยงระหว่างเมืองกับบ้าน แทนที่หน่วยการปกครอง ตาแสงที่เคยมีในอดีตถึงแม้จะมีผลดีในแง่ของการกระชับขั้นตอนการปกครองระว่างแขวง เมืองและย้านก็ตาม แต่ในขณะเดียวกันก็ส่งผลเสียต่อการจัดการปกครองที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในแขวงที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่และมีความสลับซับ้อน ทำให้เป็ฯอุถปสรรคต่อการบริหารและการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งผลจากการควบุคมตรวจสอบของเจ้าหน้าที่รับไม่สามารถทำได้ทั่วถึงและนำไปสู่ข้อบกพร่องในการควบคุมและป้องกันการกระทำความผิดต่างๆ เช่น การลักลอบขนสินค้าหรือค้าขายหนีภาษีและการลักลอบตัดไม่ เป็นต้นและในบางพ้นที่จะประสบปัญหาเรื่องสถานที่ทำการของส่วนราชการอยู่ไกลจากพื้นที่หมู่บ้าน โครงการที่เกิดขึ้นนี้้เป็นโครงการที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็ฯทางการเนื่องจากไม่มีบัญญํติเป็นกฎหมาย แต่ไ้รับการอ้างถึงย่อยครั้งในเอกสารของทางราชการ ประกอบกับมีแนวโน้มที่จะมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบัน ถือเป็นรากฐานสำคัญในการก้าวสุ่การกระจายอำนาจของ สปป.ลาวในอนาคต
"กฎหมายเอื้อให้เกิดโอกาสในการก่อร่างสร้างองค์กรปกครองท้องถ่ินที่มาจากากรเลือกตั้ง(เทศบาล)อย่างค่อยเป็นค่อยไปและในการปรับโครงสร้างองค์กรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เปป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการของการเพ่ิมขีดความสามารถให้แก่องค์รและสำนักงานในพื้นที่
การปกครองขั้นแขวงและนครหลวง
แขวง เป็นหน่วยทางการปกครองเที่ยบได้กับจังหวัดของไทย ได้รับการจัดตั้งหรือถูกยุบเลิกและกำหนดเขตแดนตามความเ็นชอบของสภาแ่งชาติตามการเสนอของนายกรัฐมนตรี โดยทั่วไปการเลือพื้นที่่ใดเป็นที่ตั้งของที่ทำการแขวงจะพิจารณาในเชิงภูมิศาสตร์และความสะดวกในการเข้าถึงหรือให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพร้อมต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป้นสำคัญ ซึ่งในพื้นที่แต่ละเขวงของ สปป,ลาวนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและศักยภาพในการเติบโตที่แตกต่างกันไปตามนโยบายเป็นพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ต่างๆของรัฐและลักษณะของพื้นที่ ใดเป็ฯที่ตั้งของที่ทำการแขวงจะพิจารณาในเชิงภูมิศาสตร์และความสะดวกในการเข้าถึงหรือให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงความพร้อมต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป้ฯสำคัญ ซึ่งในพื้นที่แต่ละแขวงของ สปป.ลาวนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและศักยภาพในการเติบโตที่แตกต่างกันไปตามนโยบายและการเป็นพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ต่างๆ ของรฐและลักษณะของพื้นที่
ด้านกาจัดโครงสร้างการปกครอง แขวงและนครหลวงมีเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวง เป็นผุ้มีอำนาจสุงสุดในกาบังคับบัญชารฐกรในแขวงนั้นๆ รวมถึงรัฐกรในสังกัดราชการบริาหรส่วนกลางที่ถูกส่งไปปฏิบัติหน้าที่ในแขวงหรือนครหลวงนั้นด้วยซึ่งไม่ได้เป็นเพียงผุ้ปกครององค์กรส่วนท้องถ่ินเท่านั้นแต่เจ้าแขวงแลเจ้าครองนครหลวงโดยส่วนใหญ่จะดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคระดับแขวงควบคู่ไปด้วยนอกเหนือจากตำแหน่งทางการเมืองในฐานะที่เป็นสมาชิกคณะกรรมการบริหารศูนย์กลางพรรค ซ่งการจะขึ้นสู่ตำแหน่งเจ้าแขวงได้นั้นจะต้องอยุ่ในตำแหน่งหรือมาจากสานการบริาหรงานของพรรคมาก่อน โดยเจ้าแขวงมีฐานเที่ยบเท่ารัฐมนตรีดังพิจารณาได้จาการโยกย้ายหรือสลบสับเปล่ยนตแหน่งระหว่างเจ้าแขวงกับรัฐมนตรีซคึ่มีอยุ่เสมอ ฐานะของเจ้าแขวงและเจ้ครองนครหลวงนั้นมีฐานะเท่ากัน แตกต่างกันเพียงความรัีบผิดชอบพื้ที่ในการปกครองเนื่องจากนครหลวงเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศอันเป็นศูนย์กลางทางการปกครองและเป็นที่ตั้งของกระทรวง ทบวงกรมแลองค์กรส่วนกลางอื่นๆ เท่านั้น ตำแหน่งเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงได้รบการแต่งตั้งโยกย้ายหรือปลดจากตำแน่งโดยประธานประเทศตามการสเนอของนายกรัฐมนตรีส่วนโครงสร้างการบริหารองค์กรขั้นแขวงนั้นประกอบด้วยห้องว่าการปกครองแขวงหรือนครหลวง แผนกของแขนงการ และหน่วยงานระดับกระทรวงประจำแขวงหรือนครหลวง ซึ่งบุคลากรภายในองค์กรขึ้นนี้ประกอบด้วย รองเจ้าแขวงหรือรองเจ้าครองนครหลวง ซึ่งเป็นอำนาจในการแต่างตั้งหรือปลดจากตำแหน่งโดยนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังประกอบด้วย หัวหน้าและรองหัวหน้าห้องว่าการ แขนงการและรัฐกร ก้านอำนาจหน้าที่ของเจ้าแขวและจ้าครองนครหลวงถูกกำหนดโดยบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 ว่าด้วยทิศทางแลหลัการในการคุ้มครองตามแขนงการ
นครหลวงเวียงจันทน์มีฐานะเที่ยบเท่าแขวงเป้นเขตที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศ เขตปกครองนี้แยกออกมาจากแขวงเวียงจันทน์ โดยถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วสนที่หนึ่ง คือ แขวงเวียงจันทน์ และอีกส่วนหนึ่ง คือ แขวงกำแพงพระนคร โดยกฎหมายปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 2003 กำหนดให้นครหลวงเวียงจันทน์ ประกอบด้วย หลายเมืองและหลายเทศบาล เป็นศูนย์กลางทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สังคมและการบริหารที่มีบทบามส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของชาติ โดยพื้นที่การปกครองของนครหลวงเวียงจันทน์ประกอบด้วย 7 เมือง แบ่งออกเป็น 3 เขต ได้แก่ เขตตัวเมือง ประกอบด้วย เมืองจันทะบูลี เมืองไชยเชษฐา เมืองศีรสัตตนาค และเมืองศรีโคตรบอง เขตชานเมือง ประกอบด้วย เมืองนาทรายทอง เมืองชัยธานี เมืองทรายฟอง และเขตนอกเมือง ประกอบด้วยเมืองปากงึมเมืองสังข์ทอง และยังกำหนดให้มองค์การพัฒนาและบริหารตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์ ในการบริหารและพัฒนาตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์ พร้อมทั้งทำหน้าที่วางแผนจัดให้มีการตรวจตรา ดุแลการปลูสร้าง ปกปักรักษาสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ถนน "ฟฟ้า คลองระบายน้ำ กำจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น องค์การพัฒนาและบริหารตัวเมืองเวยงจันทน์ ประกอบด้วย คณะชี้นำ ได้แก่ รองเจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์ เป็ฯรองหัวหน้าองค์การ อพบล. โดยตำแหน่ง ตทำหน้าที่เป็นผุ้ประจำการในฐาะนัวหน้าสำนังานขององค์การ อพบ. นอกจานี้ยังประกอบด้วยกรรมการอีก 4 ท่าน ซึ่งเป็นเจ้าเมือง 4 ตัวเมือง ได้แก่ เมืองจันทะบูลี เมืองไชยเชษฐา เมืองศรีสัตตนาค และเมืองศรีโคตรบอง ซึ่งคณะกรรมการเหล่าน้ได้รับการแต่างตั้งโดยนายกรัฐมนตรี ตามการเสนอของเจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์และคณะจัดตั้งศูนย์กลางพรรค
การปกครองขั้นเมือง
เมือง เมืองเป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ระหว่งแขวงหรือนครหลวงกับบ้าน ดดยการสร้างตั้งหรือยุบเลิกเมืองจะต้องพิจารณาถึงประเด็นเรื่องประชากร การบริหาราชการและเงื่อนไขเศรษฐกิจสงคมของพื้นที่นั้น รวมทั้งการใช้วบประมาณเพื่อการสร้างสาธารณประดยชน์ให้มีประสิทธิภาพด้วย ในด้านการบริหารงานของหน่วยการปกครองระดับเมือง มุ่งเน้นการปรสานงาน ตรวจตราและประเมินผลการดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวช้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนและการให้บริการประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ โครงสร้างการปกครองของเมือง มีเจ้าเมืองเป็นผุ้ปกครองสูงสุด ฝดดยมีรัฐกรของส่วนกลางปฏิบัติหน้าที่ประจำเมืองนั้น ๆ ตำแหน่งเจ้าเมืองได้รับการแต่างตังและปลดจากตำแหน่งโดยนายกรัฐมนตรี ส่วนตำแหน่งรอบลเจ้าเมืองซึ่งมีฐานะเป้นผุ้ช่วยของเจ้าเมือง ได้รับการแต่างตังจากเจ้าแขวงหรอเจ้าครองนครหลวงที่เมืองนั้นตั้งอยู่ การจัดโครงสร้งการบริหารองค์กรขึ้นเมืองประกอบด้วย ห้องว่าการปกครองเมือง ห้องแขนงการ และหน่วยงานระดับกระทรวงประจำเมือง บุคลากรประกอบด้วยรองเจ้าเมือง หัวหน้าและรองหัวหน้าห้องว่าการ และพนักงานรัฐกร อำนาจหน้าที่ของเจ้าเมืองนั้น มีภารกิจเช่นเดียวกับเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวงตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งสาะารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การแบ่งส่วนราชการของหน่วยการปกครองระดับเมืองคล้ายกับการแบงส่วนราชการของแขวงหรือนครหลวง โดยแบงออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง คื อห้องว่าการเมือง ประกอบด้วยหน่วยงาน เลขานุการ หน่วยงานปกครองและหน่วยงานบริหารการเงิน ส่วนที่สอง คือ ส่วนราชการของหระทรวงต่างๆ ที่ปฏิบัติหน้าที่ในเมืองนั้นๆ
เทศบาล เทศบาลคือ องค์การบริหารรัฐระดับท้องถ่ินในขึ้นเมืองโดยอยู่ใต้การบังคับบัญชาของแขวงหรือนครหลวง โดยมีหัวหน้าเทศลาลที่มาจากการแต่างตั้งจากนายกรัฐมนตรี ไม่ได้มาจากากรเลือกตั้งและไม่มีสภาเทศบาลดังเช่นรูปแบบเทศบาลทั่วไป กฎหมายปกครองท้องถ่ิน ได้กำหนดให้เทศบาลมีฐานะเป็นองค์กรปกครองท้ถงิถ่ินขั้นเมือง มีภารกิจและบทบาทในการบริหารทางด้านการเมือง เศรษบกิจ วัฒนธรรม สังคม รวมถึงการก่อสร้างและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การักษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ปฏิบัติตามแผนการพัฒนาตัวเมอืงการให้บริการสาธารณะ รับประกันความสงบล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาดายในเทศบาล ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับต่างประเทศตามที่ไดรับมอบหมายจากแขวง กัวหร้าองค์กรปกครองเทศลาล คื อกัวหร้าเทศบาบ ได้รับการแต่างตั้ง โยกย้ายและปลดจากตำปหน่งโดยนายกรัฐมนตรี ตามการเสนอของเจ้าแขวง รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ให้อำนาจหัวหน้าเทศบาลมีสิทธิและหน้าที่ในการวางแผนการจัดตั้งปฏิบัติและคุ้มครองการพัฒนาตัวเมืองบริการสาธารณะให้ทั่วถึง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและสวยงามในขอบเขตตัวเมือง ตามที่ได้กำหนดไว้ในผังเมือง รวมทั้งดำเนินการตามสิทธิ์และหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบกฎหมาย โครงสร้างการบริหารของเทศลบาล ประกอบด้วยห้องว่าการปกครองเทศบาล ห้องแขนงการ และหน่วยงานกองวิชาการนอกจากนี้ในส่วนของหน่วยงานบริการส่วนบุคลากรภายในองค์กรของเทศบาล ประกอบด้วย รองหัวหน้าเทศบาล หัวหน้าและรองหัวหน้า ห้องว่าการ รวมถึงพนักงานรัฐกรที่สังกัดโครงสร้างบริหารของเทศบาลซึ่งตำแหน่งหัวหน้า รองหัวหน้าว่าการเทศบาลได้รับการแต่งตั้งโยกย้ายและปลดจากตำแหน่งโดยเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงส่วนหัวหน้าห้องแขนงการประจำเมืองได้รับการแต่งตั้ง ดยกย้ายและปลดจากตำแหน่งโดยรัฐมนตรว่าการกระทรวงนั้นๆ
การปกครองขั้นบ้าน บ้าน เป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิขึ้นต้นและมีขนาดเล็ที่สุดเป็นผลมาจากเป้าหมายในการจัดหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อขยายการดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายรัฐ การปกครองครองระดับบ้านอยู่ในพื้นที่ซึค่งมีบ้านเรือนมากกว่า 20 หลังคาเรือน หรือมีประชาชนอาศัยอยู่ร่วมกันมาก่า 100 คน ก็สามารถจัดตั้งให้เป็นบ้านได้ตามการนุมัติของเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงโดยการเสนอของเจ้าเมืองนอกจากการมีฐานะเป็นหน่วยทางการปกครองแล้ว ยังถือว่าบ้านเป็นที่ดำรงชีวิตของบรรดาเผ่าชนที่จัดให้มีการปฏิบัติตามแนวทาง นโยบายหรือคำสั่งขององค์การขั้นสูง การจัดการปกครองระดับบ้าน จัดดครงสร้างให้มีายบ้านเป็นผุ้ดูแลโดยมีรองนายลบ้านจำนวนหนึ่งหรือสองคนเปนผุ้ช่วยงาน และยังประกอบด้วยคณะกรรมการบ้านอีกจำนวนหนึ่ง แม้บล้านจะเป็นหน่วยการปกครองขั้นต้น แต่สิ่งที่มีความสำคัญ คือ นายบ้านมาจากากรเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในเชตพื้นที่บ้านนั้นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นผุ้ที่ประชาชนให้การยอมรับและเป็นผุ้มีจิตสาธารณะหรือมีบทบามในพื้นที่เมื่อได้รับผลการเลือกตั้งแล้ว เจ้าเมืองจะเป็นผู้นำเสนอชื่อต่อเจ้าแขวงหรือเจ้านครหลวงเพื่อให้แต่างตั้งเป็นนายบ้านต่อไป ส่วนตำแหน่งรองนายบ้านและกรรมการบ้านได้รับการแต่างตั้งจากเจ้าเมืองตามการเสนอของนายบ้าน ทั้งนี้หากไม่มีผุ้ลงสมัครหรือไม่สามารถเลือกตั้งนายบ้านได้ เจ้าเทืองจะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสมแต่งตังให้เป็นนายบ้าน นอกจากนั้นโครงสร้างที่สำคัญอื่นๆ ของการปกครองขั้นบ้าน ยังประกอบด้วยคณะกรรมการบ้าน ซึ่งแบ่งออกเป็นด้านต่างๆ เพื่อช่วยนายบ้านดำเนินงานในการบริาหรงานภายในพื้นที่บ้าน ซึ่งนายบ้านและรองนายบ้านจะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการแต่ละชุดจะมีกรรมการ 3 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนภายในบ้านนั้นๆ
การปกครองท้องถิ่นในสมัยอาณานิคมฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ. 1893-1945 ภายใต้การปกครองแบบเมืองขึ้นโดยมีพระเจ้าแผ่นดินปกครองในฐานะประมุขแต่เพียงในนามเท่านั้น ซึ่งการจัดโครงสร้างการกคอรงในช่วงเวลานี้ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนกลางมีการจัดตั้เง กระทรวง ทบง
กรม และอีกส่วนหนึ่ง คือ ส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย
แขวง มี เรสิดังต์ เป็นผู้ปกครอง
เมือง มี เดเลเกย์ เป็นผู้ปกครอง
กอง มี นายกอง เป็นผู้ปกครอง
ตาแสง มีตาแสง เป็นผุ้ปกครอง
บ้าน มี นายบ้านเป็นผู้ปกครอง
" แขวง" เป็นหน่วยการปกครองที่หใญ่ที่สุดในระดับท้องถิ่น ขึ้นตรงหรือยู่ภายใต้การบังคับบัญชาต่อข้าหลวงใหญ่ฝรั่งเศส หรือผุ้สำร็จรชการประจำลาว โดยแขวงประกอบด้วยหลาย "เมือง" เมืองแบ่งเปนหลาย "ตาแสง" มีความหมายได้ทั้งหน่วยการปกครองระดับตำบลและหัวหน้าผุ้ปกครอง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งมาจากนายบ้านที่อยู่ในพื้นที่ตาแสงนั้นๆ โดยเจ้าเมืองให้การรับรองทั้งตาแสงและนายบ้านมีหน้าที่ในการสำรวจประชกร รายงานเกี่ยวกับการเกิดการตาย ดุแลประชาชนตามคำสั่งของเจ้าเมืองและเจ้าแขวงส่วนท้องถิ่นมีเทศบาล ทั้งนี้ฝรั่งเศสได้จักตังเทศบาลขึ้นในทุกท้องที่ทุกแขยวงเพื่อดำเนินกาบริาหรงานส่วนท้องถ่ิน โดยมอบให้ข้าหลวงประจำจังหวัดดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรี นอกจานี้ยังมี "กอง" ที่จัดตั้งขึ้นในเขตที่ไม่สามารถจัดเป้ฯเมืองได้ โดยมีนายกองเป้นผุ้ปกครองซึ่งอาจขึ้ต่อเจ้าเมืองหรือเจ้าแขวงแล้วแต่กรณีไป
ในด้านอำนาจหน้าที่นั้น ตาแสงและนายบ้านมีหน้าที่สืบสวนหาคนร้าย และเป็นผุ้พิพากษาในคดีบางประเภท สามารถที่จะปรับผู้ที่กระทำการละเมิดจารีตประเพณีหรือความสงบของหมู่บ้าน หากตาแสงและนายบ้านทำงานได้ดดี เจ้าแขวงอาจให้ยศเป็ฯหมื่อนแสน เพย และพยา ส่วนเจ้ามืองนั้นถือได้ว่ามีอำนาจเบ็ดเสร็จและประชาชต้องเช่อฟังอย่างเคร่งครัด มีการใช้อำนาจและกระบวนการปกครองด้วยระบบศาล หัวหน้าตำรวจ ระบบโรงเรียนโดยผ่านหัวหน้าโรงเรียนประถมสมบูรณ์ตอนต้น การสาธารณสุขโดยใช้การออกคำสั่งเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล ใช้อำนาจปกครองประชาชผ่านตาแสงและนายบ้าน
กล่าวได้ว่า การจักการปกครองที่เกิดขึ้นมุ่งเน้นการสร้างระบบควบคุมลาวให้อยู่ในความสงบเป็นหลัก โดยใช้ระบบควบคุมเป็นขั้นตอนกล่าวคือ ระดับเมืองให้เจ้าเมืองนั้นมีอำนาจมากและเก็บผลประโยชน์หรือบรรณาการส่งใหรัฐผุ้ปกรองมากกว่าการสร้างความเป้ฯปึกแผ่นของคนในชาติ สามารถเรียกเก็บภาษีสาธารณูปโภคจากประชาชนได้โดยให้แขวงเป้ฯหน่วยจัดเก็บหรือแผงในรูปค่าธรรมเียมต่าง ต่อมาเมืองญี่ปุ่นได้ครอบครองลาวต่อจากฝรั่งเศสในเดือนเมษายน ค.ศ. 1945 ยังคงรักษาโครงสร้างการปกครองของฝรั่งเศสไว้เช่นเดิม แต่ให้ผุ้ปกครองชาวญี่ปุ่นเข้าไปทำหน้าที่แทนผุ้ปกครองชาวฝรั่งเศสและจัดให้มีสภาที่ปรึกษาสูงสุดคู่กับพระเจ้าแผ่นดิน และให้มีที่ปรึกษาสูงสุดของญี่ปุ่นแทนที่ข้าาหลวงใหญ่ของฝรั่งเศส ตลอดจนย้ายที่ทำการจากเวียงจันทน์ไปตั้งอยู่ที่ท่าแขกในแขวงคำม่วน ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ติดชายแดนไทยและเวียดนาม
ต่อมาเมื่อญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงคราม ฝรั่งเศสได้กลับเข้ามายึดอำนาจในการปกครองลาวอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้บริบทางการเมืองที่ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองและมีกระแสชาตินิยมมากขึ้น ฝรั่งเศสจึงได้จัดรูปแบบการปกครองใหม่ ถึงแม้จะไม่เป็นประชาธิปไตย แต่ได้นำรูปแบบโครงสร้างการปกคอรงแบบโลกเสรีตะวันตกมาใช้โดยจัดให้มีสภาแห่งชาติ รัฐธรรมนูญและรัฐบาล ซึ่งอำนาจทั้งหมดยังคงเป็นของข้าหลวงฝรั่งเศส รวมทั้งได้มีการแบ่งแยกข้าราชการออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ข้าราชการระดับสหพันธ์ ทำงานให้แก่องค์กรยุติธรรม การคลัง การเงิน ภาษี โยธาธิการ ไปรษณีย์ การศึกษาระดับกลางและระดับสูงตลอดจนองค์การรักษาความปลอดภัยของสหพันธ์ ในขณะที่อีกระดับหนึ่ง คือ ข้าราชการระดับท้องถิ่น ประกอบด้วย กองทหารรักษาพระองค์ กองทัพแห่งชาติ การศึกษาแห่งชาติ ข้าราชการกระทรวงทบวง กรมของรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรลาว แต่ยังคงโครงสร้างการปกครองท้อถงถิ่นเอาไว้ ได้แก่ แขวง เมือง กอง ตาแสงและบ้าน
เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวยึดอำนาจจากรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรลาวแล้ว หัวใจสำคัญประการหนึ่ง คือ เปลี่ยนแปลงการจัดระเบียบบริหาราชการ โดยในช่วงระยะเริ่มแรกของการปกครองจนถึงก่อนการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 นั้น มีแนวโน้มเป็ฯการกระจายอำนาจโดยองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน มีการแยกหน่วยงานออกเป็นอิสระจากองค์การของราชการบริหารส่วนกลาง มีวบประมาณและบุคลากรเป็ฯของตนเอง เจ้าหน้าที่ทังหมดของหน่วยการปกครองท้องถ่ินเหล่านั้นได้รับเลอกตั้งจากประชาชน รวมทั้งมีอิสระในการปฏิบัติตาอำนาจหน้าที่ของตนเป็นไปตามระเบียบการเกี่ยวกับการจัดตั้งสภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองท้องถิ่นขึ้นต่างๆซึ่งได้รับการรับรองโดยที่ประชุมสมัยวิสามัญของคณะรัฐมนตรีผสมการเมืองแห่งชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1975 และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง สภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองประชาชนขั้นต่างๆ โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 4 ขั้น คือ
แขวงหรือกำแงนคร มีเจ้าแขวงหรือเจ้าครองกำแพงนรเป็ฯผุ้ปกครอง
เมือง มีเจ้าเมือง เป้ฯผุ้ปกครอง
ตาแสง มี ตาแสง เป็นผุ้ปกครอง
บ้าน มี นายบ้าน เป็นผุ้ปกครอง
ในแต่ละขั้นมีสภาประชาชนและคณะกรรมการปกครองท้องถิ่นขั้นต่างๆ ได้แก่ สภาประชาชนระดับแขวงและกำแพงนครสภาประชาชนเมืองและเทศบาลแขวง สภาประชาชนตาแสงและเทศบาลเมอง ซึ่งสภาประชาชนขั้นต่างๆ ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนท้องถิ่นที่สภาประชาชนขั้นนั้นๆ ตั้งอยู่ เพื่อทำหน้าที่เป้นองค์การอำนาจรัฐอยู่ในท้องถิ่นเป็นตัวแทนให้แก่สิทธิประโยชน์และรับผิดชอบต่อประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ ตั้งอยู่ เพื่อทำหน้าที่เป็ฯองค์การอำนาจรัฐอยู่ในท้องถิ่นเป็นตัวแทนให้แก่สิทธิประโยชน์และรับผิดชอบต่อประชานในท้องถิ่นน้ชั้น สภาประชาชนขั้นต่างๆ จะเป็นผุ้เลือกตั้งคณะกรรมการปกครองประชาชนในขั้นของตนและผู้พิพากษาศาลขั้นของตนยกเว้นสภาประชาชนตาแสงที่ไม่มีศาลประชาชนเป็ฯของตนเองโดยอำนาจในการตัดสินคดีที่เกิดขึ้นในเขตตาแสงและทเศบาลนั้นเป็นอำนาจในการตัดิสินคดีที่เกิดขึ้นในเขตตาแสงและเทศบาลนั้นเป็ฯอำนาจของศาลประชาชนเมืองและศาลประชาชนแขวงหรือกำแพงนครซึงต่อมา ได้มีการยุลเลิกสภาประชาชตาแสงแต่ยังคงคณะกรรมการปกครองตแสงไว้
ช่วงเวลานี้ถือได้ว่าสภาประชานเป็นกลไกที่มีความสำคัญและบ่งชี้ถึงการก้าวเข้าสู่การกระจายอำนาข ของสปป.ลาวในยุคนั้นและเป็ญยุคที่มีลักษณะของการสร้างประชาธิปไตยในระดับฐานรากได้อยางชัดเจนที่สุด ซึ่งในแต่ละขั้นต่างๆ มีอำนาจหน้าที่คล้ายกันนั่นคือ การับประกันการเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ รักษาความสงบเรียบร้อยทรัพย์สินของรัฐและพลเมืองในท้องพถิ่นของตนรวมถึงการรับประกันสทิธิความเสมอภาคและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างชนชาติในท้องถิ่นนั้นๆ ตลอดจนปลุกระดมให้พลเมืองในท้องถิ่นปฏิบัติพันธะหน้าที่ที่มีต่อรัฐให้เป็นไปด้วยดี นอกจากนั้นสภาประชาชนขึ้นต่างๆ ยังมีอำนาจออกมติเพื่อใช้ปฏิบติหรือใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ วัฒฯธรรมและสังคมของพื้นที่นั้นโดยต้องไม่ขัดต่อกฎหมายของรัฐหรือมติขององค์การรัฐขึ้นสูงกว่า
ในด้านการจัดโครงสร้างสภาประชาชนขึ้นต่างๆ ยังไม่มีการเลือกตั้งประธานเป็นการภาวร อำนาจหน้าที่ในการเรียกประชุมสภาประชาชนขึ้นอยู่กับคณะกรรมการปกครองประชาชน ซึ่งจะประชุมเลือกประธานหรือเลขานุการตามมติในแต่ละสมัยประชุม ทั้งนี้ไม่ได้มีการกำหนดคุณสมบัติและจำนวนสมาชิกสภาประชาชนไว้อต่อย่างใด มีเพียงการกำหนดคุณสมบัติของผุ้มีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งและมีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งและมีสิทธิเลือกตั้งไว้ว่า ต้องเป็นผุ้ไม่ถูกตัดสิทธิทางการเมือง ไม่ถูกจำคุก ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตและมีอายุครบ 18 ปี ในวันเลือกตั้ง และได้มีการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาประชานในขั้นต่างๆ และวิธีการเลือกตั้งตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งผุ้แทนประชาชน ค.ศ. 1988 ที่ได้ให้อำนาจหน้าที่แก่คณะประจำสภาประชาชนสูงสุดร่วมกับคณะประจำสภารัฐมนตรีเป็ฯผุ้กำหนดจำนวนผุ้แทนประชาชนขั้นต่างๆ ทั่วประเทศแล้วจึงออกประกศโดยคำสั่งของประธานสภารัฐมนตรี
อย่างไรก็ตาม ได้มีการสร้างกลไกทางการเมืองที่ดำเนินงานควบคุ่ไปกับการปกครองระดับท้องถิ่น โดยรัฐบาลได้ส่งสมาชิกพรรคและทหารของฝ่ายขบวนการประเทศลาวหรือพรรคประชาชนปฏิวัติลาวให้มาตั้งถ่ินฐานอยู่ในทุกชุมชนในเขตปลดปล่อยใหม่ เพื่อทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการปกครองประชาชนในโครงสร้างการปกครองท้ถิงถ่ินระดับต่าๆ มีหน้าที่ในการสอดส่องูแลอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ยังได้จัดตังกองกำลังต่างๆ ลักษณะเช่นนี้เปรียบได้กับการจัดโครงสร้างแบบหน่วยย่อย (cell) ดังเช่นพรรคอมมิวนิสต์โดยทั่วไปที่มีเป้าหมายในการขยายอิทธิพลครอบคลุมพื้นที่การปกครองและสร้างความเป็นปคกแผ่นนั่นเอง
หลังจากประกาศใช้รัฐะรรมนูยแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 เป็นผลให้การจัดโครงสร้างการปกครองมีลักษณ์ของการรวมศูนย์อำนาจที่เข้มข้นมากขึ้น เนื่องจากประสบการณ์ของการกระจายอำนาจในการปกครองที่ไม่ประสบความสำเร็จโดยเฉพาะสภาประชาชนขั้นต่างๆ ไม่มีบทบาทางการปกครองเท่าที่ควร โดยสวนใหย่จะเป็นบทบาทของคณะกรรมการการปกครองประชาชน หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1991 ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองจากการปกครองตามเขตแค้วนสู่การแบ่งขั้นคุ้มครอง และเปลียนจากการคุ้มครองด้วยมติคพสั่ง เป็นการคุ้มครองรัฐด้วยรัฐธรรมนูญ
รัฐธรมนูญฉบับนี้ได้กำหนดให้โครงสร้างการปกครองระดับท้ถงิถ่ินทีเพียง แขวง กำแพงนคร เมืองและบ้าน โดยหนวยการปกครองและตำแหน่ง "ตาแสง" ถุกยกเลิกไปไม่มีการระบุถภึงสภาท้องถิ่นใด ๆ ทั้งสิ้น เหตุที่นำไปสู่การยกเลิกตาแสง เนื่องมาจากตาแสงเป็นหน่วยงานที่ไม่มีประสิทธิภาพและสร้างความยุ่งยากให้แก่การประสานงานระหว่งเมืองกับบ้าน ซึ่งทำให้การนำมติคำสั่งขององค์การขึ้นสูงมาปฏิบัติในหน่วยงการปกรองระดับบ้านเป้นไปอย่าล่าช้า เป้ฯผลให้ำคร้องของประชาชนที่เสนอขึ้นไปสู่การปกครองระดับเมืองจึงตกค้างอยู่ที่ตาแสงแต่ถึงแม้ว่าจะมีการยเลิกตาแสงแล้ว ในบางพื้นที่ก็ยังคงมีตาแสงอยู่
ภาพรวมของพัฒนาการปกครองท้อถงิ่นของ สปป,ลาวในช่วงเวลานี้ ถือได้ว่าภายใต้ระบบการบริหารแบบรวมศูนย์ส่งผลให้การบริหารตัวเมืองและชนบทไม่มีความแตกต่างกันมากนักเนื่องจากรัฐบาลสนบสนุนงลประมาณให้ทั้งหมด แม้ว่าเมปืงใหญ่ จะเป็นศูนย์กลางทางกรเปกครอง เศราฐกิจและวัฒนธรรม แต่รูปแบบการบริหารไม่ได้แยกระหว่งการเป็นเขตเมืองและชนบท
ในปี ค.ศ. 2003 เป็นปีที่มีความสำคัญต่อการปกครองท้องถิ่นของ สปป.ลาว ในเชิงของการปรับตัวที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้ถงอิ่น นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายในการแบ่งอำนาจและมอบหมายความรับผิดชอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นผุ้คุ้มครองดินแดน ทรัพยากรธรรมชาติและประชานเพื่อความเจริญมั่งมี ผาสุขโดยกลำกทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการปรับตัวในยุคปัจจุบัน ได้แก่ การแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 ในปี ค.ศ. 2003 ซึ่งกำหนดให้การปกครองท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นแขวง มีแขวงและนครหลวง ในการ๊จำเป็นอาจจัดตั้เงเป็นเขตการปกครองพิเศษได้ ในปัจจุบันมีเพียง 1 แห่ง คือ นครหลวงเวียงจันทน์ มีเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวง เป็นผุ้ปกครอง ขั้นเมือง ประกอบด้วย เมืองและเทศบาล มีเจ้าเมืองและหัวหน้าเทศบาล เป้นผู้ปกครอง ประกอบกับการประกาศใช้กฎหมายการปกครองส่วนท้องถิ่น ค.ศ.2003 ได้นิยามความหมายขององค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นว่า เป็นการจัดตั้งหน่วยกาบริหารรัฐในขั้นท้องถ่ินที่มีภาระบทบาทในการคุ้มครองด้านการบริหารทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมสังคม สิ่งแวดล้อม การวางแผนการพัฒนาตัวเมือง การบริการสาธารระ การรับประกันความสงบและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในท้องถ่ิน โดยมีความร่วมมือกับต่างประเทศตามการมอบหมายของรับบาล นอกจากนี้ยังมีหลักปฏิบัติตามมติกรมการเมืองศูนย์กลางพรรค ว่าด้วยการสืบต่อปรับปรุงโครงสร้างบริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น
การประกาศใช้กฎหมายหรือแนวปฏิบัติดังกล่าวได้รับอทะฺพลสำคัญมาจากนโยบายจินตนาการใหม่ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษบกิจและสังคม ของสปป.ลาว ให้มีการขยายตัวอย่างมาก ส่งผลให้มีการปรับปรุงระบบการบริหารรัฐอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ พรรคประชาชนปฏิวัติลาวจึงได้นำแนวคิด "การสร้างกลุ่มบ้านและบ้านพัฒนา" มาเป็นแนวทางในกาพัฒนาสังคมและเศรษบกิจของประเทศ ในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาหลายๆ ด้าน เช่น การแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาทางกสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยน ตลอดจนการกรับปรุงโครงสร้างองค์กรของกระทรวงและการกรจายอำนาจสู่ท้องถิ่นตามที่รัฐาลมอบหมายภารกิจ เพื่อเป้นกลไกหลักในการขับเคลือนนโยบายของพรรคไปสู่การปฏิบัติ มีแนวนโยบายเปลี่ยนให้แขวงเป็นหน่วยด้านยุทธศาสตร์ เปลี่ยนเมืองให้เป็นหน่วยด้านการวางแผนและงบประมาณเปลี่ยนหมู่บ้านให้เป็นหน่วยสนับสนุนการทำงาน รวมถึงการกระจายอำนาจให้แก่แขวง เพื่อยุติการวางแผนเศรษบกิจจากส่วนกลางที่ไม่มีประสทิธิภาพและขาดความคล่องตัว ซึ่งการกระจายอำนาจดังกล่าวส่งผลให้เจ้าแขวงมีอสิระในการบริหารและพัฒนาทางเศรษฐกิจภายใจแขวงของตนเองอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การกำหนดแผนพัฒนาทางเศรษบกิจ งบประมาณการก่อสร้าง การคาภายในแขวงและการติดต่อทางการค้ากับต่างประเทศ เป็นต้น
การเปลี่ยนผ่านอำนาจทางเศรษฐกิจให้แก่ปขวงในยุคนี้เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในกาสถาปนาอำนาจและบทบาทนำในท้องถิ่นของเจ้าแขวง ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อสังเกตว่า การกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะการมอบอำนาจใหแก่เจ้าแขวงนั้น เป้ฯการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะการมอบอำนาจให้แก่เจ้าแขวงนั้น เป้นการกะจายอำนาจทางการบริหารและการจัดการทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่นระดับแขวงมากขึ้น ในขณะที่อำนาจของส่วนกลางภายในพื้นที่แขวงมีลดลง เม่อมีแนวโน้มเช่นนี้จึงได้มีความพยายามดึงอำนาจกลับมารวมศูนย์ที่ส่วนกลางเช่นเดิม
ในปี 2003 ยังมีอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ การเกิดหน่วยการปกครองแบบรวมกลุ่ม ที่เรียกว่า "เขต zones"และ "คุ้มบ้าน group villages โดยการแบ่งเป็นเขตและคุ้มบ้านนี้ เป้นการจัดตั้งและแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในลักาณะของการรวมกลุ่มบ้าน ประมาณ 7-15 บ้านต่อ 1 เขต หรือคุ้มบ้าน เป็นหน่วยเชื่อมโยงระหว่างเมืองกับบ้าน แทนที่หน่วยการปกครอง ตาแสงที่เคยมีในอดีตถึงแม้จะมีผลดีในแง่ของการกระชับขั้นตอนการปกครองระว่างแขวง เมืองและย้านก็ตาม แต่ในขณะเดียวกันก็ส่งผลเสียต่อการจัดการปกครองที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในแขวงที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่และมีความสลับซับ้อน ทำให้เป็ฯอุถปสรรคต่อการบริหารและการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งผลจากการควบุคมตรวจสอบของเจ้าหน้าที่รับไม่สามารถทำได้ทั่วถึงและนำไปสู่ข้อบกพร่องในการควบคุมและป้องกันการกระทำความผิดต่างๆ เช่น การลักลอบขนสินค้าหรือค้าขายหนีภาษีและการลักลอบตัดไม่ เป็นต้นและในบางพ้นที่จะประสบปัญหาเรื่องสถานที่ทำการของส่วนราชการอยู่ไกลจากพื้นที่หมู่บ้าน โครงการที่เกิดขึ้นนี้้เป็นโครงการที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็ฯทางการเนื่องจากไม่มีบัญญํติเป็นกฎหมาย แต่ไ้รับการอ้างถึงย่อยครั้งในเอกสารของทางราชการ ประกอบกับมีแนวโน้มที่จะมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบัน ถือเป็นรากฐานสำคัญในการก้าวสุ่การกระจายอำนาจของ สปป.ลาวในอนาคต
"กฎหมายเอื้อให้เกิดโอกาสในการก่อร่างสร้างองค์กรปกครองท้องถ่ินที่มาจากากรเลือกตั้ง(เทศบาล)อย่างค่อยเป็นค่อยไปและในการปรับโครงสร้างองค์กรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เปป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการของการเพ่ิมขีดความสามารถให้แก่องค์รและสำนักงานในพื้นที่
การปกครองขั้นแขวงและนครหลวง
แขวง เป็นหน่วยทางการปกครองเที่ยบได้กับจังหวัดของไทย ได้รับการจัดตั้งหรือถูกยุบเลิกและกำหนดเขตแดนตามความเ็นชอบของสภาแ่งชาติตามการเสนอของนายกรัฐมนตรี โดยทั่วไปการเลือพื้นที่่ใดเป็นที่ตั้งของที่ทำการแขวงจะพิจารณาในเชิงภูมิศาสตร์และความสะดวกในการเข้าถึงหรือให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพร้อมต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป้นสำคัญ ซึ่งในพื้นที่แต่ละเขวงของ สปป,ลาวนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและศักยภาพในการเติบโตที่แตกต่างกันไปตามนโยบายเป็นพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ต่างๆของรัฐและลักษณะของพื้นที่ ใดเป็ฯที่ตั้งของที่ทำการแขวงจะพิจารณาในเชิงภูมิศาสตร์และความสะดวกในการเข้าถึงหรือให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงความพร้อมต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป้ฯสำคัญ ซึ่งในพื้นที่แต่ละแขวงของ สปป.ลาวนั้น มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและศักยภาพในการเติบโตที่แตกต่างกันไปตามนโยบายและการเป็นพื้นที่เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ต่างๆ ของรฐและลักษณะของพื้นที่
ด้านกาจัดโครงสร้างการปกครอง แขวงและนครหลวงมีเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวง เป็นผุ้มีอำนาจสุงสุดในกาบังคับบัญชารฐกรในแขวงนั้นๆ รวมถึงรัฐกรในสังกัดราชการบริาหรส่วนกลางที่ถูกส่งไปปฏิบัติหน้าที่ในแขวงหรือนครหลวงนั้นด้วยซึ่งไม่ได้เป็นเพียงผุ้ปกครององค์กรส่วนท้องถ่ินเท่านั้นแต่เจ้าแขวงแลเจ้าครองนครหลวงโดยส่วนใหญ่จะดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคระดับแขวงควบคู่ไปด้วยนอกเหนือจากตำแหน่งทางการเมืองในฐานะที่เป็นสมาชิกคณะกรรมการบริหารศูนย์กลางพรรค ซ่งการจะขึ้นสู่ตำแหน่งเจ้าแขวงได้นั้นจะต้องอยุ่ในตำแหน่งหรือมาจากสานการบริาหรงานของพรรคมาก่อน โดยเจ้าแขวงมีฐานเที่ยบเท่ารัฐมนตรีดังพิจารณาได้จาการโยกย้ายหรือสลบสับเปล่ยนตแหน่งระหว่างเจ้าแขวงกับรัฐมนตรีซคึ่มีอยุ่เสมอ ฐานะของเจ้าแขวงและเจ้ครองนครหลวงนั้นมีฐานะเท่ากัน แตกต่างกันเพียงความรัีบผิดชอบพื้ที่ในการปกครองเนื่องจากนครหลวงเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศอันเป็นศูนย์กลางทางการปกครองและเป็นที่ตั้งของกระทรวง ทบวงกรมแลองค์กรส่วนกลางอื่นๆ เท่านั้น ตำแหน่งเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงได้รบการแต่งตั้งโยกย้ายหรือปลดจากตำแน่งโดยประธานประเทศตามการสเนอของนายกรัฐมนตรีส่วนโครงสร้างการบริหารองค์กรขั้นแขวงนั้นประกอบด้วยห้องว่าการปกครองแขวงหรือนครหลวง แผนกของแขนงการ และหน่วยงานระดับกระทรวงประจำแขวงหรือนครหลวง ซึ่งบุคลากรภายในองค์กรขึ้นนี้ประกอบด้วย รองเจ้าแขวงหรือรองเจ้าครองนครหลวง ซึ่งเป็นอำนาจในการแต่างตั้งหรือปลดจากตำแหน่งโดยนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังประกอบด้วย หัวหน้าและรองหัวหน้าห้องว่าการ แขนงการและรัฐกร ก้านอำนาจหน้าที่ของเจ้าแขวและจ้าครองนครหลวงถูกกำหนดโดยบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ค.ศ. 1991 ว่าด้วยทิศทางแลหลัการในการคุ้มครองตามแขนงการ
นครหลวงเวียงจันทน์มีฐานะเที่ยบเท่าแขวงเป้นเขตที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศ เขตปกครองนี้แยกออกมาจากแขวงเวียงจันทน์ โดยถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วสนที่หนึ่ง คือ แขวงเวียงจันทน์ และอีกส่วนหนึ่ง คือ แขวงกำแพงพระนคร โดยกฎหมายปกครองท้องถิ่น ค.ศ. 2003 กำหนดให้นครหลวงเวียงจันทน์ ประกอบด้วย หลายเมืองและหลายเทศบาล เป็นศูนย์กลางทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สังคมและการบริหารที่มีบทบามส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของชาติ โดยพื้นที่การปกครองของนครหลวงเวียงจันทน์ประกอบด้วย 7 เมือง แบ่งออกเป็น 3 เขต ได้แก่ เขตตัวเมือง ประกอบด้วย เมืองจันทะบูลี เมืองไชยเชษฐา เมืองศีรสัตตนาค และเมืองศรีโคตรบอง เขตชานเมือง ประกอบด้วย เมืองนาทรายทอง เมืองชัยธานี เมืองทรายฟอง และเขตนอกเมือง ประกอบด้วยเมืองปากงึมเมืองสังข์ทอง และยังกำหนดให้มองค์การพัฒนาและบริหารตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์ ในการบริหารและพัฒนาตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์ พร้อมทั้งทำหน้าที่วางแผนจัดให้มีการตรวจตรา ดุแลการปลูสร้าง ปกปักรักษาสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ถนน "ฟฟ้า คลองระบายน้ำ กำจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น องค์การพัฒนาและบริหารตัวเมืองเวยงจันทน์ ประกอบด้วย คณะชี้นำ ได้แก่ รองเจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์ เป็ฯรองหัวหน้าองค์การ อพบล. โดยตำแหน่ง ตทำหน้าที่เป็นผุ้ประจำการในฐาะนัวหน้าสำนังานขององค์การ อพบ. นอกจานี้ยังประกอบด้วยกรรมการอีก 4 ท่าน ซึ่งเป็นเจ้าเมือง 4 ตัวเมือง ได้แก่ เมืองจันทะบูลี เมืองไชยเชษฐา เมืองศรีสัตตนาค และเมืองศรีโคตรบอง ซึ่งคณะกรรมการเหล่าน้ได้รับการแต่างตั้งโดยนายกรัฐมนตรี ตามการเสนอของเจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์และคณะจัดตั้งศูนย์กลางพรรค
การปกครองขั้นเมือง
เมือง เมืองเป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ระหว่งแขวงหรือนครหลวงกับบ้าน ดดยการสร้างตั้งหรือยุบเลิกเมืองจะต้องพิจารณาถึงประเด็นเรื่องประชากร การบริหาราชการและเงื่อนไขเศรษฐกิจสงคมของพื้นที่นั้น รวมทั้งการใช้วบประมาณเพื่อการสร้างสาธารณประดยชน์ให้มีประสิทธิภาพด้วย ในด้านการบริหารงานของหน่วยการปกครองระดับเมือง มุ่งเน้นการปรสานงาน ตรวจตราและประเมินผลการดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวช้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนและการให้บริการประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ โครงสร้างการปกครองของเมือง มีเจ้าเมืองเป็นผุ้ปกครองสูงสุด ฝดดยมีรัฐกรของส่วนกลางปฏิบัติหน้าที่ประจำเมืองนั้น ๆ ตำแหน่งเจ้าเมืองได้รับการแต่างตังและปลดจากตำแหน่งโดยนายกรัฐมนตรี ส่วนตำแหน่งรอบลเจ้าเมืองซึ่งมีฐานะเป้นผุ้ช่วยของเจ้าเมือง ได้รับการแต่างตังจากเจ้าแขวงหรอเจ้าครองนครหลวงที่เมืองนั้นตั้งอยู่ การจัดโครงสร้งการบริหารองค์กรขึ้นเมืองประกอบด้วย ห้องว่าการปกครองเมือง ห้องแขนงการ และหน่วยงานระดับกระทรวงประจำเมือง บุคลากรประกอบด้วยรองเจ้าเมือง หัวหน้าและรองหัวหน้าห้องว่าการ และพนักงานรัฐกร อำนาจหน้าที่ของเจ้าเมืองนั้น มีภารกิจเช่นเดียวกับเจ้าแขวงและเจ้าครองนครหลวงตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งสาะารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การแบ่งส่วนราชการของหน่วยการปกครองระดับเมืองคล้ายกับการแบงส่วนราชการของแขวงหรือนครหลวง โดยแบงออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง คื อห้องว่าการเมือง ประกอบด้วยหน่วยงาน เลขานุการ หน่วยงานปกครองและหน่วยงานบริหารการเงิน ส่วนที่สอง คือ ส่วนราชการของหระทรวงต่างๆ ที่ปฏิบัติหน้าที่ในเมืองนั้นๆ
เทศบาล เทศบาลคือ องค์การบริหารรัฐระดับท้องถ่ินในขึ้นเมืองโดยอยู่ใต้การบังคับบัญชาของแขวงหรือนครหลวง โดยมีหัวหน้าเทศลาลที่มาจากการแต่างตั้งจากนายกรัฐมนตรี ไม่ได้มาจากากรเลือกตั้งและไม่มีสภาเทศบาลดังเช่นรูปแบบเทศบาลทั่วไป กฎหมายปกครองท้องถ่ิน ได้กำหนดให้เทศบาลมีฐานะเป็นองค์กรปกครองท้ถงิถ่ินขั้นเมือง มีภารกิจและบทบาทในการบริหารทางด้านการเมือง เศรษบกิจ วัฒนธรรม สังคม รวมถึงการก่อสร้างและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การักษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ปฏิบัติตามแผนการพัฒนาตัวเมอืงการให้บริการสาธารณะ รับประกันความสงบล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาดายในเทศบาล ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับต่างประเทศตามที่ไดรับมอบหมายจากแขวง กัวหร้าองค์กรปกครองเทศลาล คื อกัวหร้าเทศบาบ ได้รับการแต่างตั้ง โยกย้ายและปลดจากตำปหน่งโดยนายกรัฐมนตรี ตามการเสนอของเจ้าแขวง รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ให้อำนาจหัวหน้าเทศบาลมีสิทธิและหน้าที่ในการวางแผนการจัดตั้งปฏิบัติและคุ้มครองการพัฒนาตัวเมืองบริการสาธารณะให้ทั่วถึง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและสวยงามในขอบเขตตัวเมือง ตามที่ได้กำหนดไว้ในผังเมือง รวมทั้งดำเนินการตามสิทธิ์และหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบกฎหมาย โครงสร้างการบริหารของเทศลบาล ประกอบด้วยห้องว่าการปกครองเทศบาล ห้องแขนงการ และหน่วยงานกองวิชาการนอกจากนี้ในส่วนของหน่วยงานบริการส่วนบุคลากรภายในองค์กรของเทศบาล ประกอบด้วย รองหัวหน้าเทศบาล หัวหน้าและรองหัวหน้า ห้องว่าการ รวมถึงพนักงานรัฐกรที่สังกัดโครงสร้างบริหารของเทศบาลซึ่งตำแหน่งหัวหน้า รองหัวหน้าว่าการเทศบาลได้รับการแต่งตั้งโยกย้ายและปลดจากตำแหน่งโดยเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงส่วนหัวหน้าห้องแขนงการประจำเมืองได้รับการแต่งตั้ง ดยกย้ายและปลดจากตำแหน่งโดยรัฐมนตรว่าการกระทรวงนั้นๆ
การปกครองขั้นบ้าน บ้าน เป็นหน่วยการปกครองท้ถงอถ่นิขึ้นต้นและมีขนาดเล็ที่สุดเป็นผลมาจากเป้าหมายในการจัดหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อขยายการดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายรัฐ การปกครองครองระดับบ้านอยู่ในพื้นที่ซึค่งมีบ้านเรือนมากกว่า 20 หลังคาเรือน หรือมีประชาชนอาศัยอยู่ร่วมกันมาก่า 100 คน ก็สามารถจัดตั้งให้เป็นบ้านได้ตามการนุมัติของเจ้าแขวงหรือเจ้าครองนครหลวงโดยการเสนอของเจ้าเมืองนอกจากการมีฐานะเป็นหน่วยทางการปกครองแล้ว ยังถือว่าบ้านเป็นที่ดำรงชีวิตของบรรดาเผ่าชนที่จัดให้มีการปฏิบัติตามแนวทาง นโยบายหรือคำสั่งขององค์การขั้นสูง การจัดการปกครองระดับบ้าน จัดดครงสร้างให้มีายบ้านเป็นผุ้ดูแลโดยมีรองนายลบ้านจำนวนหนึ่งหรือสองคนเปนผุ้ช่วยงาน และยังประกอบด้วยคณะกรรมการบ้านอีกจำนวนหนึ่ง แม้บล้านจะเป็นหน่วยการปกครองขั้นต้น แต่สิ่งที่มีความสำคัญ คือ นายบ้านมาจากากรเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในเชตพื้นที่บ้านนั้นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นผุ้ที่ประชาชนให้การยอมรับและเป็นผุ้มีจิตสาธารณะหรือมีบทบามในพื้นที่เมื่อได้รับผลการเลือกตั้งแล้ว เจ้าเมืองจะเป็นผู้นำเสนอชื่อต่อเจ้าแขวงหรือเจ้านครหลวงเพื่อให้แต่างตั้งเป็นนายบ้านต่อไป ส่วนตำแหน่งรองนายบ้านและกรรมการบ้านได้รับการแต่างตั้งจากเจ้าเมืองตามการเสนอของนายบ้าน ทั้งนี้หากไม่มีผุ้ลงสมัครหรือไม่สามารถเลือกตั้งนายบ้านได้ เจ้าเทืองจะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสมแต่งตังให้เป็นนายบ้าน นอกจากนั้นโครงสร้างที่สำคัญอื่นๆ ของการปกครองขั้นบ้าน ยังประกอบด้วยคณะกรรมการบ้าน ซึ่งแบ่งออกเป็นด้านต่างๆ เพื่อช่วยนายบ้านดำเนินงานในการบริาหรงานภายในพื้นที่บ้าน ซึ่งนายบ้านและรองนายบ้านจะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการแต่ละชุดจะมีกรรมการ 3 คน ที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนภายในบ้านนั้นๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...