วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2560

AREAN Summit

             การประชุมสุยอดอาเซียน ASEAN Summit เป็นการประชุมของผุ้นำสูงสุดระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, บรูไนดารุสซาลาม, เวียดนาม, ลาว, พม่าและกัมพูชา โดยในช่วงแรกจัดประชุมโดยหมุนเวียนกันระหว่างประเทศสมาชิก 5 ประเทศ คือ ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ หลังจากมีสมาชิกเพ่ิมจึงได้หมุนเวยน การจัดประชุมไปยังประเทศสมาชิกใหม่ด้วย ดดยหัวข้อการประชุมจะเป็นเรื่องการปรึกา หารือ ขอความร่วมมือ ขอฉันทมติหรือลงนามในเรื่องเศราฐกิจ แารเมือง ควมมั่นคง ด้านสังคมและวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก ช่วงแรกของการจัดกระประชุมไม่มีการจัดเป็นประจำต่อเนื่อง แต่หลังจาก การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 ที่ประเทศบรูไนฯ การประชุมก็มีการจัดต่อเนื่อง ทุกปี
          ครั้งที่ 1 วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียมีการลงนามว่าด้วยความร่วมือในเอกสาร 3 ฉบับ คือ "ปฏิญญาสมานแันท์อาเซียน", "สนธิสัญญาไม่ตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"และ "ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการอาเซียน"
          ครั้งที่2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป้นการประชุมเนื่องในโอกาสก่อตั้งอาเวียนครบ 10 ปี โดยเน้นย้ำถึงความร่วมมือ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้มีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น รวมถึงการมุ่งพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาคด้วย
           ครั้งที่ 3 วันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ที่กรงุมะนิลา ประเทศฟิลิปปิน์ มีการออก "ปฏิญญามะนิลาปี 2530" และประกาศให้ปี พ.ศ. 2535(ครบรอบ 25 ปีอาเซียน) เป็นปีการท่องเที่ยวอาเซียน มีการหารือกันเรื่องเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเด็นเรื่องสันติภาพเสรีภาพและความเป็นกลาง
           ครั้งที่ 4 วันที่ 27-29 มกราคม พ.ศ. 2535 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์" และหารือกันเรื่องความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติและองค์กรระหว่างปรเทศในการตกลงกันเรื่องสันติภาพ นอกนี้ยังพิจารณาเรื่องการจัดตั้งเขตการค้า เสรีอาเซียน
           ครั้งที่ 5 วันที่ 14-15 พ.ศ. 2538 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย มีการออก "ปฏิญญากรุงเทพฯ"และลงนามในเอกสารอีก 2 ฉบับ คือ "สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้", "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา" การประชุมสุดยออาเซียนครั้งนี้ถือว่าเป็นการครบการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพจัดประชุมของป 5 ประเทศสมาชิก ซึ่งกินเวลา 28 ปีนับตังแต่ประชุมครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519
           ครั้งที่ 6 วันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการออก "ปฏิญญาฮานอย" และประกาศ "การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน" รับรอง "แผนปฏิบัติการฮานอย" เพื่อให้อาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียนในปี พ.ศ. 25631 การประชุมครั้งนี้ถือเป็นการจัดการประชุมสุดยอด อาเซียนครั้งแรกของเวียดนาม หลังจากเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน 3 ปี
           ครั้งที่ 7 วันที่ 5-6 พศจิกายน พ.ศ. 2544 ที่กรงุบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม มีการออก "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการดำเนินการร่วกันในการต่อต้านการก่อการร้าย" ปรับปรุง "แผนปฏิบัติการฮานอย" สนับสนุนให้จัดตั้ง "แผนงานเพื่อการรวมตัวอาเซียน" และสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน" หลังจากากรประชุมคร้งนี้ การประชุมสุดยอดอาเซียนก็มีจัดต่อเนื่องกันทุกปี โดยหมุนเวียนกันในหมู่ประเทศสมาชิก
          ครั้งที่ 8 วันที่ 4-5 พศจิกายม พ.ศ. 2545 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามความตกลงด้านการท่องเที่ยวอาเซียน และเน้นย้ำเรื่องการต่อต้านการก่อการร้าย การบริาหรจัดการทรัพยากรธรรมชาิต และให้ความสำคัญกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมากที่สุดในการรวมตัวอาเซียน
         ครั้งที่ 9 วันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย มีการประกาศ "ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน II " หรือ "ความร่วมมือบาหลี II" ว่าด้วยการจัดตั้งประชาคมอาเว๊ยน ซึึ่งประกอบไปด้วยประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเวียน ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธณณฒอาเซียน พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมเศราฐกิจอาเซียน"
          ครั้งที่ 10 วันที่ 29-30 พฤศจิการยน พ.ศ. 2547 ที่กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ที่ประชุมได้ลงนาม "แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์" พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมความมันคงอาเซียน" และ "แผนปฏิบัติการประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน" และจัดตั้งกองทุนอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ประเทศลาวได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม หลังจากที่เป็นสมาชิกใหม่อาเวียนครบ 7 ปี จึงได้ลงทุนสร้างบ้านพักใหม่ทั้งหมดให้กับผุ้นำอาเซียนทุกคน ได้พักอยุ่ในช่วงระหว่างการประชุม เพื่อให้ได้บรรยาการเหมืออยู่บ้าน
  ครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ที่กรงุกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการจัดทำกฎบัติอาเซียน" และยกร่างกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 12 วันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาเซบูเพื่อมุ่งไปสู่ประชาคมที่มีความเื้ออาทรและแบ่งปันที่เป็นหนึ่งเกี่ยว", "ปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมภายในปี พ.ศ.2558" และ "ปฏิญญาเซบูว่าด้วย แผนงานเรื่องกฎบัตรอาเซียน"
            ครั้งที่ 13 วันที่ 18-22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยกฎบัตรอาเซียน" พร้อมทั้งรับรอง "ปฏิญญาแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" และ "กฎบัตรอาเซียน" ในวาระครอบรอบ 40 ปีอาเซียน
            ครั้งที่ 14 วันที่ 26 กุมภาพันธ์- 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ที่ชะอำ หัวหิน พัทยา ประเทศไทย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยแผนงานสำหรับประชาคมอาเซียนปี พ.ศ. 2552-2558" และรับรอง "แผนงานข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2558 ", "แผนงานการจัด ตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน" แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน"
            ครั้งที่ 15 วันที่ 23-25 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ฺประเทศไทย มีการหารือเรื่อง "เชื่อมโยงประชาคม สร้างเสริมประชาชน" และรับรอง "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 15", "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคม อาเซียนที่เื้ออาทรและแบ่งปัน", "แถลงการณ์ผุ้นำอาเซียนว่าด้วยการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมในอาเซียน", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยความร่วมมือเกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารและการพัฒนพลังงานชีวภาพในกรอบอาเซียนกับประเทศ +3", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก"
           
ครั้งที่ 16 วันที่ 8-9 เมษายน พ.ศ. 2553 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการหารือกันเรื่อง "มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน : จากวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติ", "การจัดทำแผนแม่บทว่าด้วยการเสริมสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงในภุมิภาค" และลงนามในพิธีการว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาทของกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 17 วันที่ 28-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียนดนาม มีการหารือกนเรื่อง "ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งเกียวกันของอาเซียน : จากความปรารถนาสู่ปฏิบัติการ" พร้อมทั้งประกาศปฏิญญา ฮานอยซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิสตรีและเด็กในภูมิภาคอาเซียน ตกลงจะจัดตั้งคณะกรรมการประสานงานระหว่างกันในอาเซียนเพื่อประสาน และกำกับดุแลการปฏิบัติงาน ลงความเห้ฯที่จะรับสหรัฐฯ กับรัฐเซียเข้าเป็นสมาชิก ของการประชุมสุดยอดเอเซียตะวันออกอย่างเป้ฯทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป

            ครั้งที่ 18 วันที่ 7-8 พฤษภาพคม พ.ศ. 2554 ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีการหารือกันเรื่อง "ความจำเป็นในกาบรรลุถึงความเป็นประชาคมอาเซียน" โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชานเป็นศูนย์กลาง และมีบทบาทสำคัญอยู่ในประชาคมโลกภายในปี พ.ศ.2565 มีการเสนอให้เตรียมร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมแห่งประชาชาติโลกเพื่อลงนามในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 
            ครั้งที่ 19 วันที่ 17-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิญญาบาหลีว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก", "ปฎิญญาว่าด้วยความเป็นอันหนึ่ง อันเดี่ยวกันของอาเซียนในความหลากหลายสู่การสร้างความแข็งแกร่งให้ประชาคมอาเวียน" และมีมติให้จัดตั้งศูนย์ ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและจัดการกับผลกระทบจากภัยพิบัติ
         
ครั้งที่ 20 วันที่ 3-4 เมษายน พงศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิบัติการพนมเปญ ว่าด้วยกานสร้างประชาคมอาเซียน", "แถลงการณ์พนมเปญประชาคมเดียว พรหมลิขิตเดียว" และ "แถลงการณ์ว่าด้วยการสร้างอาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดในปี พ.ศ. 2558
             ครั้งที่ 21 วันที่ 17-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "คำแถลงพนมเปญรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" , "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน", คำแถลงผุ้นำอาเซียนเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค", "เอกสารแนวคิดพื้นฐานเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค" และ "แผนการทำงานตามความตกลงบาหลีที่ III (2013-2017)

             ครั้งที่ 22-25 เมษายน 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวันประเทศบรูไน การปรุชมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นเป็นการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกภายใต้การดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนของบรูไน ฯ โดยบรูไนฯ กำหนดหัวข้อหลักของปีนี้ว่า "Our People,Our Future Together " เพื่อสะท้อนถึงความสำคัญของบทบาทประชาชนในการขับเคลื่อนอาเซียนและกำหนดอนาคตของภุมิภาค โดยบูไนฯ จะให้ความสำคัญกับการผลักดันประเด็นรวมถึงแผนงานต่างๆ ตามที่มีการตกลงไว้แล้วให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 22 นอกจากผุ้นำอาเซียนจะได้ทบทวนพัฒนาการความคืบหน้าการทำงานที่ผ่านมาแล้ว จะเป็นการให้ทิศทางและแสวงหาแนวทาง เพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป็นประโยชน์ร่วมกันต่อไปในกรอบอาเซียน ตลอดจนเป็นโอกาศให้แลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็นระหว่างประเทศที่สำคัญ

ประเด็นที่ทางไทยให้ความสำคัญ ได้แก่ การเร่งรัดการสร้างประชาคมอาเซียน และการเชื่อมโยงในอาเซียนตามเป้าหมายที่ 2558 การรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางในภูมิภาคของอาเว๊ยน ความร่วมมือเพื่อก้ไขปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ การค้ามนุษย์ ยาเสพติด ภัยพิบัติและหมอกควัน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และการสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียนในหมู่เยาวชน รวมทั้งการส่งเสริมบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ และประเด็นภูมิภาคที่มีความสำคัญต่อาเซียน
           ครั้งที่ 23 วันที่ 9-10 ตุลาคม 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวัน บรูไนดารุสซาลาม การประชุมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นในครั้งนี้เป้นการประชุมครั้งสุดท้ายภายใต้การเป็นประธานอาเวียนของบรูไนฯ ก่อนที่เมียนมาร์จะรับตำแหน่งต่อไปในปี 2557 โดยวัตถุประสงค์การประชุมครั้งี้คือเพือทบทวนพัฒนากรความคือบหน้าการทำงานที่ผ่านมาและ ร่วมกันแสวงแนวทางเพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป้นประดยชน์ร่วมกันต่อไปทั้งในกรอบอาเวียนและกับคู่เจรจา ตลอดจนเป็นโอกาสสำหรับแลกเปลี่ยนความเห้ฯเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็ระหว่งประเทศที่สำคัญ หัวข้อในการประชุมครั้งนี้ ประกอบด้วย
           - การเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมอาเซียนซึงรวมถึงการดำนินกาตามแผนงานสามประชาคมย่อยและ แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงในอาเวียน

            - การจัดทำวิสัยทัศน์อาเวียนภายหลังการเข้าสู่การเป็นปรชุมอาเซียนในปี 2558 โดยย้ำเจตนารมยืของผุ้นำอาเวียนนกาพัฒนาประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ซคึ่งจะเน้นผลประโยชน์ อขงประชาชนเป้นหลัก อาทิ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและการให้บริการสาธารณสุข โดยสอดคล้งกับเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของสหประชาชาติภายในปี 2558 
           - ความร่วมมือในการจัดการปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ ภัยพิบัติ และหมกควัน รวมทั้งการจัดการบริหารทรัพยากรน้ำซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร
           - การแลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นภูมิภาคและระหว่งประเทศ อาทิ ความร่วมมือด้านต่างๆ ในทะเลจีนใต้รวมทั้งกลไกการแก้ไขปัญหาด้านความมันคงเพื่อส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           ในการประชุมครั้งนี้ เหล่าผุ้นำอาเวียนได้มีการลงนามรับรองเอกสารสำคัญหลายๆ อัน ได้แก่                           1.ปฎิญญาบันดาร์เสรเบกาวัีน่าด้วยวิสัยทศน์ภายหลังปี 2558 
                  2. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีและเด็กในอาเวียน
                  3. ปฏิญญาอาเซียนเสริมสร้างความเข้มแข็งมาตรการการคุ้มครองทางสังคม
                  4. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวัน ว่าด้วยการประกอบการและจ้างงานของเยาวชน
                  5. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน การจัดการภัยพิบัติ
                  6. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวันว่าด้วยดรคไม่ติดต่อ
                  7. แถลงการณืร่วมของการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 16 ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของความเป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์อาเซียน- จีน
                  8. ปฏิญญาของกาประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 8 ว่าด้วยความม่นคงด้านอาหาร
               ครั้งที่ 24 วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2557 ณ เนปิดอว์ เป้ฯการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งแรภายใต้การเป็นประธานอาเซียนของเมียนมาร์ โดยเมียนมาร์ได้กำหนดหัวข้อหลักของการประชุมว่า "Moving Forward in Unity to peaceful and properous community" ในกาประชุมผุ้นำอเซียนได้ทบทวยพัฒนการและความคืบหน้าของการดำเนินงานที่ผ่านมาและพิจารณาประเด็นที่ควรเร่งรัดเพื่อบรรลุการจัดตังประชาคมอาเซียน ปี 2558 รวมทั้งกำหนดทิศทางความี่วมมือในอนาคตของอาเวียนในบริบทของการจัดทำวิสัยทศน์ประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ...
              (www.asean-info.com/asean_community/asean_summit."การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ASEAN Summit")

วันจันทร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Vision 2020(1997)

              วิสัยทัศน์อาเวียน 2020 นั้น เกิดจากคำประกาศของผุ้นำรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน เมื่อคราวการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป้ฯทางการ ครั้งที่สองในโอกาศครบรอบ 30 ปี ของอาเซียน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1997 ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อกำหนดป้เาหมายวิสัยทัศน์ของอาเซียนในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยมองว่า ณ ขณะนั้นอาเวียนมีความพร้อมแล้ว ทั้งด้านศักยภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางการเืองภายในประเทศ ความมั่นคงทางการเมืองระหว่งประเทศและความเติบโดตก้าวหน้าทงสังคม ด้วยความมั่นใจในความแข็งแกร่งและศักยภาพของตนเช่นนั้น ผุ้นำชาติอาเซียนจึงได้วางแลกการไว้ สามหลักการเพื่อทำให้อาเซีนนบรรลุในวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 กล่าวคือ
            1 วงสมานฉันท์แห่งประชาชาิเอเซียนตะวันอกเฉียงใต้
            2 การมีหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต
            3 มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภานอก
            4 การมีชุมชนที่สังคมเอื้ออาทรต่อกัน
             ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซีนตรั้งที่เก้า ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเวีย ผู้นำอาเซียนได้ตอบสนองต่อการบรระลุวิสันทัศน์อาเซียนเพิ่มเติม โดยได้ลงในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเวีนฉบับทีสอง หรือ Bali Concord II เห็นชอบให้มการจัดต้องประชาคมเาเวียน ภายใน ค.ศ. 2020 ประกอบด้วยสาด้านหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ ปละประชาคมสังและวัฒนธรมอาเวียน อยางไรก็ดี ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามปฏิญญาเซบูด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเวียน 2015 เพื่อให้อาเวียนสามารถปรับตัวแงะจัการกับประเด็นท้าทายของทุกมิติ ในสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่งรวดเร็ซ หลงจากนั้นอาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมอมเซียนขึ้น ซึ่งได้รับรองโดยผุ้นำอาเวีนเมื่อการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ 14 ที่ประเทศไทย
             แม้ว่าผุ้นำประเทศอาเซียนได้ยอมรับวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 ซึ่งได้วาดภาพอาเซียนที่เป็นประชาคมสมานฉันท์อันมีพลวัตรต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกขึ้น ในความเป็นจริงนั้นอาเซียนยังต้องเผชิญกับความท้าทายอีกมากว่าที่จะสร้างสิ่งที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ได้
             - ความท้าทายด้านสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนต้องอาศัยความมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นอย่างมาก ปัจจุบันพลเมืองอาเซียนยังขาดความรุ้สึกความเป็ฯเจ้าของและยังไม่มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจการอาเซียนมากนัก โดยปรกติผุ้ที่มีส่วนร่วมมส่วนใหญ่คือผุ้นำประเทศ รัฐมนตรีหรือเจ้าหน้าที่หน่วยราชการเท่านั้น
           
 - ความท้าทายด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน
                  ก.การสร้างค่านิยมร่วมกัน เนื่องจากความหลากหลายของวัฒนธรรมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอาเวียน และากรที่แต่ละประเทศยังไม่มุ่งไปสู่การสร้างผลประโยชน์ร่วมกันของประชาคมอาเซียน อย่างชัดเจน ส่วนหนึ่งของปัญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเวีียน ที่จะช่วยส่งเสริมค่านิยมอาเซียนยังอ่อนแอ โดยเฉพาะสำนักเลขาธิการอาเซียน
                 ข. การที่ยังไม่มีความไว้เนื้อเชื่อใจกน ระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียน เนื่องจากประเทศต่างๆ ยังอยู่ในสภาพที่ต้องแก่งแย่ง ชิงผลประโยชน์กัน เช่น ปัญหาข้อพิพาทเดี่ยวกับพรมแดน การแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรทะเล ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดความตึงเครียดในทะเลจีนใต้
                 ค. มีประเด็นของความอ่อนไหวสุงในแต่ละประเทศสมาชิกหรือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน ซึ่งสร้างข้อจำกัดทำให้กำไกที่กำหนดไว้ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ แช่น สิทธิมนุษยชนในประเทศเมียนมาร์ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองในไทย เป้นต้น
               - ความท้าทายด้านเศรษฐกิจ
                  ก.วิกฤตเศราฐกิจปี 1997 ได้ส่งผลกรทบต่อ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราการเจริญเติบโตทางเสณาฐกิจ เป้ฯอย่างมกา ซึ่งจจุดนี้ได้บ่นทอน เป้าหมายของวิสัยทัศน์อาเซีน 2020 จะเห้ฯได้ว่า กลไกใหม่ๆ เช่น ควาร่วมมือทางการเงินระหว่างสมาชิกอาเซียน นอกจากเชื่องช้า ไม่ทันการ ยังไม่มีผลในการปฏิรูปเศรษบกิจของประเทศนั้นนๆ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในเวลาต่อมา ย่ิงทำให้อาเวียนเป้นสังคมที่เื้ออาทรกันน้อยลงด้วย เพราะวิกฤตกรเศรษฐกิจได้ก่อให้เกิผลกระทบต่อคนยากจนและคนที่ด้อยโอกาส โจทย์ที่ท้าทายสำหรับการพัฒนาทางเศราฐกิจ คือ จะทำอย่างไรให้อาเซยนมีพัฒนาการทางเศราฐกิจที่มั่นคง ยังยืนและเป็นธรรมต่อประชาชนทุกภาคส่วน
                 ข. ประเทสมชิกยงคึงปกป้องผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป้นหลัก และการหารายได้เข้าของประเทศสมาชิกมีลักษณะเหมือกนักน คือ รายได้หลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินค้า เข้า-ออก ซึ่งการรวมกลุ่มเป็ฯประชาคมอาเซียนให้ยกเลิกการเก็บภาษีระหว่างกันหรือเก็บภาษีให้น้อยลง แต่ประเทศสมาชิกไม่สามารถสละรายไ้ส่วนนี้ได้ เนื่องจากเป้นเงินที่ต้องนำมาพัฒนาประเทศ การรวมกลุ่มเพื่อให้เกิดการต้าเสรีระวห่างประเทศในภาคีจึงทำได้ยาก นอกจากนั้นประเทศสมาชิกยังผลิตสินค้าเหมือนๆ กัน ทำให้ต้องแข่งขันกันเองในตลาดโลก อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดการซื้อขายระหว่ากันเองในหมู่สมาชิก
                  ค.ประเทศในอาเซียนพยายามพัฒนาอุตาสาหกรรมภายในประเทศ เพื่อทดแทนการนำเข้า แต่ละประเทศพยายามส่งสริม พัฒนาและคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศตนโดยการใช้กำแพงภาษีกรือโควต้า ซึ่งสวนทางกับหลักการในการรวมกลุ่มและตลดการต้าเสรี ดังนั้นน ข้อตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายข้อ จึงยังไม่ได้รับการปฏิบัติ...(wiki.kpi.ac.th/../วิสัยทัศน์อาเซียน_2020)
           

วันอาทิตย์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS (1995)

             ภาคบริการเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่และีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วต่อเศรษบกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยมีส่วนแบ่งระหว่างร้อยละ 40 ถึงร้อละ 63 ของผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ GDP สมาชิกอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า ควรมีการขยายความร่วมมือและการเปิดเสรีการต้าบริการภายในอาเซียนด้วยกันเพื่อเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้หใ้บริการในภูมิภาคเดียวกัน
            ตามบทบัญญัติในข้อที่ 5 ของความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การการต้าโลกซึ่วว่าด้วยการรวมกลุ่ททางเศราฐกิจอนุญาตให้สมาชิก WTO ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปสามารถจัดทำความตกบงรวมกลุ่มทางเศราฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริการให้แก่กันและกันมากกว่าที่ให้กับสมาชิก WTO อื่นได้ หากความตกลงรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริากรให้แก่กันและกันมากว่าที่ใหกับสมาชิก WTO อื่นได้ หากควาตกลงนั้นไม่มีผลทำให้ผลประโยชน์จากข้อผุ้พันซึ่งสมาชิก WTO ที่อยู่นอกความตกลงพึงด้รับ ต้องลอน้อยลงไป
           ดังนั้นสมาชิกอาเซียน 7 ประเทศจึงได้ร่วมกันจัดทำ กรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนขึ้นในปี 2538 ซึ่งต่อมาอาเซียนได้มีสมาชิกใหม่เข้ามาร่วมอีก 3 ประเทศ คือ ลาว ปละพม่า (เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อเดือนกรกฎาคม 2540) และกัมพูชา (เป็ฯสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 30 เมษา 2542 วัตถุประสงค์สำคัญของกรอบความตกลงว่าด้วยการบริากรของอาเซียนได้แก่
           - เพื่อขยายความร่วมมือด้านบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีนให้มาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับประเทศนอกกลุ่ม
            - เพื่อลดอุปสรรคในการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิก
            - เพื่อเปิดเสรีการต้าบริการภายในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ให้มากกว่าที่แต่ละประเทศมีพันธกรณี การเปิดเสรีในเวที WTO โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีด้านการบริการ"
            โดยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพันธกรณีดังนี้
             - การเข้าร่วมในข้อตกลงด้านความร่วมมือภายใต้ AFAS และหากมีจำนวนสมาชิกที่มีความพร้อมในการจัดทำข้อตกบงดังกล่าวตั้งแต่ 2 ประเศขึ้นไปก็สามารถดำเนินการไปก่อนได้
             - การเข้าร่วมเจรจาจัดทำข้อผุกพันเฉพาาะในการเปิดเสรีการต้าบริการให้กับประเทศสมาชิกอาเซียนมากว่าที่เสนอผูกพันไว้ภายใต้ GATS ในเวที่ "การค้าโลก"ซึ่งข้อผูกพันเฉพาะดังกล่าวจะระบุไว้ใน "ตารางข้อผุกพันเฉพาะภายใต้ AEAS"
               การเปิดเสรี กระทำโดย ยกเลิกมาตการเลือกปฏิบัติและข้อจำกดัในการเข้าสู่ตลาด ที่มีอยุ่ และห้ามออกมาตรการใหม่ซึ่งมีลักษณะเลือกปฏิบัติและข้อจำกัดใหม่ในการเข้าสู่ตลาด หรืออกมาตรการ หรือข้อจำกัดที่เข้มงวดมากขึ้น
               บทความนี้จะประกอบด้วย 4 ส่วนที่สำคัญ คือการเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของสมาชิกอาเซีย ข้อผูกพันการเปิดเสรีภาคบริการของไทย การประเมินผลการเจรจาว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ AFAS มากน้อยเพียงใดและวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากากรเข้าร่วมดำเนินการดังกล่าว
               การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน
               รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามให้การยอมรับกรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนเมื่อ ธันวาคม 2538 เพื่อใช้เป็นกรอบในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริากรในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกับรับรองปฏิญญากรุงเทพ ซึ่งเป้นการประกาศเจตนารมณ์ว่า รปะเทศสมาชิกอาเซียนจะร่วมกันเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการสาขาต่างๆ โดยในรอบแรกจะมุ่งเจรจาใน 7 สาขาบริการ ได้แก่ สาขาการเงิน(ประกอบด้วย การธนาคาร การประกันภัย ธุรกิจเงินทุน เครดิฟองซิเอร์ และธุรกิจหลักทรัพย์), สาขาการขนส่งทางทะเล สาขาการขนส่งทางอากาศ สาขาการสือสารโทรคมนาคม สาขาการท่องเที่ยว สาขาการก่อสร้างและสาขาบริากรธุรกิจ ทั้งนี้ ให้เกริ่มดำเนินการเจรจาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 และสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2541
                การดำเนินการ การเจรจาจัดทำข้อผุกพันในกาเปิดเสรีการต้าบริการะหว่างสมาชิกอาเซียนตามพันธกรณีของ AFAS สมาชิกจะต้องเสนอข้อผูกพันที่มีระดับการเปิดเสรีมากกว่าที่แต่ละประเทศได้ยื่นผูกพันไว้ภายใต้ GATS และได้แบ่งการเจรจาเป็น 2 ช่วง
               การเจรจาช่วงแรก เป้นการเจรจาเปิดเสรีในสาขาที่แต่ะประเทศสมาชิกมีความพร้อมเพื่อให้เป้นไปตามเจตนารมณ์ของผุ้นำอาเวียนที่ต้องการเร่งรัดการเจรจาเปิดเรรีการต้าบริากรบางสาขาให้เสร็สิ้นภายใน มิถุนายน 2540 อย่างไรก็ตามได้มีการขยายกำหนดเวลาสรุปผลการเจรจาออกไปเป็น ตุลาคม 2540
               ผลการเจรจา ได้จัดทำเป้นตารางข้อผูกพันชุดแรก ซึ่งประกอบด้วยข้อผูกพันเปิดเสรีในบริการ 5 สาขา (การท่องเที่ยว การขนส่งทางอากาศ การขนส่วทางทะเล บริการธุรกิจ และโทรคมนาคม) จากสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศสำหรับประเทศไทยได้ยื่นข้อผุกพันเปิดเสีรใน 2 สาขา คือการท่องเที่ยว และากรขนส่งทางทะเล
              การจเรจาช่วงหลัง เป็นการเจรจาเพื่อให้สมาชิกอาเซ๊ยนแต่ละประเทศ เปิดเสรีด้านบริการให้ครบ 7 สาขา
              ผลการเจรจา สามารถสรุปผล "ตารางข้อผูกพันชุดที่สอง" ได้เมือกันยายน 2541 โดยสมาชิกอาเซียนทุกประเทศยื่นข้อผูกพันใน 7 สาขาบริการ รายละเอียดข้อผูกพันการเปิดเสีการต้าบริการของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในสาขชาบริการทั้ง 7 สาขาในรอบแรก มีดังนี้
              ข้อผุกพันการเปิเสรีของไทยในอาเซียน
               - การขนส่งทางอากาศ
                  การสำรองบัตรโดยสรผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขว่า การใช้บริากรข้ามพรมแดนผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาองไทย การให้บริากรวิทธยุขึ้นอยู่กับคลื่นความถคี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งธุรกิจนั้น อนุญาตการจัดจำหน่ายผ่านระบบนี้ สำหรับสำนักงานของสายการบินต่าๆ และสำนักงานตัวแทนขายทั่วไปเพียง 1 แห่งโดยผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของไทยและต้องปฏิบัติตามข้อควาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในตารางข้อผูกพันสาขาการสื่อสารโทรคมนาคมของไทยภายใต้ GATS
               
การขายและการตลาดสำหรับบริการขนส่งทางอากาศ  โดยมีการปรับปรุงข้อผุกพันในรุ)แบบการให้บริการข้ามพรมแดนและการบริโภคในต่างประเทศจากเดิมไม่ผูกพันเปลี่ยนเป็นผูกพันเต็มที่โดยไม่มีเงื่อนไขการเข้าสู่ตลาด
                 - บริการธุรกิจ
                   การวิจัยและพัฒนาในด้านวิทยาศาสตร์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านฟิสิกส์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทำลองในด้ารเคมีและชีววิทยา, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, บริากรวิจัยและบุกเลิกการทดลองในด้านเกษตรกรรม, บริการวิจัยและบุกเลิกการทอดลองในด้านวิทยาศาสตร์อื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้ร่วมกับคนไทยในสัดส่วน มไ่เกินร้อยละ 49
                    การวิจัยและพัฒนาในด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านเศรษฐศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านกฎหมาย, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านภาษีศาสตร์ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกันบคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                    บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการ บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านการเงนิยกเว้นภาษีธุรกิจ, บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้าในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                  - การก่อสร้าง
                     การเตรียมการติดตั้งในงานก่อสร้าง, การประกอบและติดตั้งงานก่อสร้างชนิดสำเร็จรูป, การกร่อสร้างด้านการค้า, งานขั้นสุดท้ายเพื่อความสมบูรณ์ของอาคาร โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                 - การเงิน
                     บริษัทหลักทรัพย์ โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์ได้เกินกว่ากึ่งหนึ่ง(เดิมผูกพันร้อยละ 49 เพิ่มเป็นร้อยละ 100 ) และอนุญาติให้บริษัทหลักทรัพย์ที่มีต่างชาติถือหุ้นเกินร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว สามารถประกอบธุรกิจนายหน้าได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบะุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ พ.ศ. 2541 และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
                     บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุรรวมได้เกินกว่ากึ่งหนึ่งแต่ไม่ผูกพันสำหรับใบอนุญาตที่ออกใหม่
                  - การขนส่งทางทะเล
                     บริการเกี่ยวกับพิธีการทางศุลกากร โดยมีเงื่อนไยว่าต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 โดย คาสตอม โบ๊กเกอร์ ต้องมีสัญชาติไทยและได้รับใบอนุญาตจากกรมศุลกากร
                      บริการส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยการยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเดิมระบุข้อจำกัดการขนส่งสินค้าทางทะเลในเส้นทางไทย-เวียดนามและไทย-จีน ว่า ต้องให้สิทธิการขนส่งแก่ประเทศทั้งสองมากกว่าประเทศอื่นๆ ตามความตกลงร่วมกันว่าด้วย คาร์โก้ แชรริ่ง ระหว่งไทย-เวียดนาม และ ไทย-จีน แต่เนื่องจากข้อตกลงดังกล่าวได้มีการยกเลิกแล้ว ทดยจคึงสมารถปรบปรุงข้อเสนอดังกล่าวให้มีระดับการเปิดเสรีมากขึ้นได้
             
- การสื่อสารโทรคมนาคม
                   บริการให้เช่าอุปกรณ์ปลายทาง โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้งอเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                   Domestic VSAT โดยมีเงือนไขว่าในการให้บริการข้ามพรมแดนผู้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมของรัฐ การให้บริากรวิทยุขึ้นอยุ่กับคล่ความถี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งทางพาณิชน์นั้น ต้องจัดตั้งเป้นบริษัทจดทะเบียนของไทยโยมีต่างชาติถือหุ้นไม่เกินร้อยลุ 40 ของจำนวนผุ้ถือหุ้นทั้งหมดของบริษัทโดยเป็นการประกอบการ บิวท์-ทรานเฟอร์เรท-โอเปอร์เรท และต้องใช้เครือข่ายโรคมนาคมของรัฐ
                 - การท่องเที่ยว
                    บริการที่พักแบบ โมเตล, บริากร้านที่พักอื่นๆ (บริการศูนย์กลางและบ้านพักตากอากาศ, บริการที่ตั้งแคมป์และขบวนคาราวาน), สวนสนุก, การอำนวยความสะดวกด้านที่จอดเรือ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติที่จะเข้ามาประกอบธุรกิจเป็นผุ้ให้บริากรในกิจกรรมเหล่านี้ ต้องเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน และจำนวนผุ้ถือหุ้นเป็นคนต่างชาติต้องน้อยกว่างครึ่งหนึ่งของจำนวนผุ้ถอหุ้นทั้งหมด ส่วนการเข้ามาให้บริากรของคนต่างชาติในลักษณะบุคคลธรรมดานั้นไทยยินยิมเฉพาะบุคลากรระดับผู้จัดการ ผุ้บริหารและผุ้เชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งเป้นการโอนย้ายภายในองค์กรและบริษัทที่ว่าจ้างบุคคลดังกล่าว โดยต้องตั้งอยู่ในต่างประเทศ
                   ศูนย์การประชุม(จุผุ้เข้าร่วมประชุมได้มากกว่า 2,000 คน) โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน
                การเจรจารอบต่อไป อาเซียนได้ประกาศวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 เมื่อธันวาคม 2540 เพื่อใช้เป้นแนวทางใหม่ที่อาเซียนจะดำเนินการในทศวรรษต่อไปจนถึง ค.ศ. 2020 โดยในส่วนขงอการต้าบริากรได้เร่งรัดการเปิดเสรีการต้าบริการมากขึ้น และเพื่อให้การดำเนินการตามวิสัยัศน์อาเซียนปี 2020 บรรลุผลเป็นรูปธรรม จึงได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการฮานอย ซึ่งประกอบด้วยแผนดำเนินการในการเปิดเสรี การอำนวยความสะดวก และการส่งเสริมความร่วมมือดานการต้าบริากร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการ ในส่วนทีเกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการนั้น ได้กำหนดให้มีการเจรจาเปิดเสรีการต้าบริการในอาเซียนรอบต่อไปให้ครอบคลุมการเจรจาทุกสาขาบริการ โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2542 และสิ้นสุดในปี 2544
               ประโยชน์ที่ไทยได้รับ
                ด้านความร่วมมือ ในช่วงเวลา 3 ปีครั้งที่สมาชิกอาเวียนใช้ในการดำเนินการเพื่อให้เป็นไตาม AFAS โดยผ่านคณะกรรมการประสานงานด้านบริากรในอาเซียน นั้น ไม่มีการนำประเด็นเกี่ยวกับความร่วมมือใน AFAS มาพิจารณอย่างจริงจัง ดังนั้น กิจกรรมดังกบาวภายใต้ AFAS จึงยังไม่มีรความคืบหน้าใดๆ อย่งไรก็ตาม ปัจจุบันสมาชิกอาเซียนกำลังพิจารณาหาแนวทางส่งสเริมความ่วมมือในการริการสาขาการท่องเที่ยวและการขนส่ง อาทิ ลดข้อจำกัดทางการลงทุภายในกลุ่มสมาชิกอาเวียนด้วยกันในด้านที่พักนักท่องเที่วและสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอื่นๆ ให้มีการเคลื่อยย้ายบุคลากรระดับสำคัญๆ ด้านการโรงแรม และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างสมาชิกอาเซียน ให้สิทธิในการเจรจาสำหรับการขนส่งทางอากาศและทางทะเลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการเคลื่อนย้ายทั้งสินค้าและผู้โดยสารเป็นไปอย่างรอบรื่น หากบรรลุข้อตกลงร่วมกัน ไทยก็จะได้รับประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาการท่องเที่ยว ซึ่งไทยมีศักยภาพในการแข่งขันเพียงพอ
                 ด้านการเปิดเสรี ผลจากการเปิดเสรี ดังที่ผ่านมาจะเป้ฯประดยชน์อย่างแท้จริง ถ้าภาคเอกชนจะเป็นผู้ผลักดันให้เปิดตลาด โดยแจ้งปัญหาปละอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดและการดำเนินธุรกิจในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อจัดทำข้อเรียกร้องต่อสมาชิกอาเซียนในกาเปิดตลาดสาขาบริการที่ภาคเอกชนมีความร้พมอและความต้องการจะออกไปลงทุนยังต่างประเทศอย่างแท้จริง แต่ในทางปฏิบัติลแ้ว การเสนอข้อเรียกร้องต่อประเทศคู่เจรจาส่วนใหย่มาจากาภรัฐบาลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นผลการเจรจาจึงเป็นเพียงโอกาสให้กับผู้ประกอบการในประเทศที่สนใจ และเป้ฯทางเลือกที่เพิ่มขึ้นของตลาดบริากร เท่านั้น
              อย่างไรก็ตาม เมื่อการเคลื่อนย้ายของธุรกิจบริากรในประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้นก็จะเป้ฯการกระตุ้นให้ภาคเอกชนกต้องปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขันที่มากขึ้นและไปสู่การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริากรเพื่อรักษาสวนแบงลาด ซึ่งผุ้ได้รับประโยชน์คือ ผุ้บริโภคในประเทศ ถ้าคำนึงถึงในแง่โอกาสที่ผุ้ประกอบการทไยได้รับจากการเจรจา ในการเข้าไปประกอบะุรกิจบริการในประเทศสมชิกอาเซียน โดยได้รับสิทธิพิเศษมากกว่าประเทศนอกกลุ่มแล้ว ผุ้ประกอบการไทยจะได้รับประธยชน์จากการเปิดตลาดธุรกิจบริการจำนวนมากกว่า 70 กิจกรรม ซึ่่งเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้ประกอบการของไทยในการเข้าสู่ตลาดที่มีระดับการพัฒนาที่ใกล้เคียงกัน และเป้ฯการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันเพื่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในตลาดบริากรเหล่านี้ในอนาคต( การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน" ประนอมศรี โสมขันเงิน.บทความ)

ASEAN Free Trade Area (1992)

             ASEAN Preferential Trading Arrangment(1977)
             Preferential Trade Agreement : PTA  หมายถึง ความร่วมมือในเฉพาะประเด็นที่มีความสนใจร่วมกันเป็นบางส่วนเท่านั้น อาทิ โครงการความร่วมมือเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาเซียน ที่เปิให้บริษัทเอกชน 2 ฝ่าย ที่เป็นสมาชิกอาเซียนด้วยกันและต้องการทำหารต้าสินค้าที่อยุ่ในโครงสร้างการผลิตเดียวกัน  ดังนั้น ประเทศทั้ง 2 ฝ่ายหรือแต่ละฝ่ายจะเลือกเก็บอากรในอัตราต่ำหรือร้อยละ 0 เมื่อมีการค้าสินค้าระหว่งกันตามขั้นตอนโครงสร้างการผลิตสินค้านั้น หรือเป็นการให้สทิะิประดยชน์ในบางสินค้าด้วยอากรขาเข้าที่ต่ำเป็นพิเศษของประเทศที่พัฒนาแล้ว แก่ประเทศกำลังพัฒนา และประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด

           ASEAN Preferential Trading Arrangment เป็นข้อตกลงทางการค้าฉบับแรกที่ปูทางสู่การเป็นตลาดเดียวอาเซียน ความตกลงการค้าสิค้าของอาเซียน ASAEN Trade in Good Agreement หรือ ATIGA เป็นความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน AEC Blueprint ที่ต้องการให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้า บริการการลงทุน แรงงานที่มีทักษะ และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เป็นความตกลงที่มีเกี่ยวข้องกับความตกลง สินค้าหลายฉบับที่อาเซียนเคยให้สัตยาบัน อาทิ
              - การตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน
              - การใช้ความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน ปี 1992
             - ความตกลงด้านศุลกากรอาเซียน ปี 1997 
             - กรอบความตกลงในข้อตกลงยอมรับร่วมกันของอาเซียน ปี 1998
             - กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน ปี 2000
             - กรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน 2004
             - ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน ปี 2005 
             จากลำดับขั้นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ จะเห็นได้ว่า ความร่วมือเฉพาะประเด็น เป็นสิ่งแรกในการร่วมมือทางเศรษฐกิจ และในขั้นต่อมา คือ เขตการค้าเสรี  และสหภาพศุลการกร เพื่อจะดำเนินการไปสู่การเป็นตลาดเดียว และ ในขั้นต่อไปคือการร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในขั้น สหภาพเศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มในลำดับที่สุงสุดคือ สหภาพทางการเมือง หรือการรวมกลุ่มเหนือรัฐซึ่งเป็นลำดับสูงสุดของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งในลำดับต่อไปจะกล่าวถึงเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มที่สำคัญอีกขั้นหนึง
              Free Trade Area เขตการค้าเสรี เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการต้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควต้า) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่หมด) ที่ทำการต้าขายระหว่างกัน
             นโยบายการต้าเสรี มีรากฐานมาจากทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ที่เสนอว่า "แต่ละประเทศควรจะเลอกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบโดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนำสินึ้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอืนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ ถึงแม้ว่าประเทศหนึ่งจะอยุ่ในฐานะเสียเปรียบอีกประเทสหนึ่งในการผลิตสินค้าทุกชนิดก็ตามประเทศทั้งสองก็ย่อมจะทำการต้าต่อกันได้ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่เมื่อเปรียบเกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีประเทศหนึ่ง" 
            นโยบายการต้าเสรีไม่สนับสนุนการเก็บภาษีศุลการกรในอัตราที่สูบงและขจัดข้อบังคับต่างๆ ทีกีดกันการต้าระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศที่ใจช้นโยบายการต้าเสรีจะมีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้
             - ดำเนินการผลิตตามหลัการแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ เลือกผลิตแต่สินค้าที่ประเทศนั้นมีประสทิธิภาพในการผลิตสุงและมีต้นทุนการผลิตต่ำ

             - ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน เพื่อคุ้มครองช่วยเหลืออุตสาหกรรมในประเทศแต่อย่างใด คงเก็บแต่ภาษีศุลการกรเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
              - ไม่ให้สิธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง มีกาเก็บภาษีอัตราเดียวและให้ความเป้ฯธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่านๆ กัน
              - ไม่มีข้อจำกัดทางการต้า ที่เป็นอุปสรรคต่อการต้าระหว่างประเทศ ไม่มีการควบคุมการนำเข้าหรือการส่งออกเที่เป้นอุสรรคต่การต้าระหว่างปรเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่จะเป็ฯอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ศํ๊ลธรรมจรรยาหรือความมัี่นคงของรัฐเท่านั้น
              เขตการต้าเสรี หมายถึง การวมกลุ่มเศราฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงลงให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็ฯ 0 และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการต้าเรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า ดดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการต้าเสรีในระยะหลังๆ นั้น รวไไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ และการลงทุนด้วย
             เขตการต้าเสรีที่สำคัญในปัจจุบันได้แกี NAFTA และ AFTA และ๗ระนี้ ประเทศสหรับอเมริกา อยุ่ในระหว่างการเจรจาทำเขตการต้าเสรีในภูมิภาคอเมริกา โดยตั้งเป้าหมายที่จะให้การเจรจาเสร็จสิ้นก่อนปี พ.ศ. 2548 รูปแบบเขตการต้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ
            1) สหภาพศุลกากร หมายถึง การรวมตัวกันทางเศณาฐฏิจในระดับที่ลึกและหว้างกว่าเขตการค้าเสรี เพราะมีลักษณะที่เป้นตลาดร่วม ซ่งไม่มีกำแพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกในสหภาพศุลกากรเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน กับทุกประเทศนอกกลุ่ม สหภาพศุลกากรจึงทำให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน สหภพศุลกากรที่สำคัญ คือ สหภาพยุโปร และ MERCOSUR
          2) พันธมิตรทางเศณาฐฏิจ หมายถึง ความร่วมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมีกรอบความร่วมมือทีกว้างขวางเขตการค้าเสรี อยางไรก็ดี ความเข้าใจเกี่ยกับ CEP หรือ ขอบเขตอาจจะแตกต่างไป โดยทั่วไป ครอบคลุมความร่วมมือทางเศราฐกิจทังในด้านการต้า สินค้า บริการและการลงทุน และแบ่งอย่างหว้างๆ ได้ 2 ประเภท คือ ที่มีเขตการต้าเสรี เป้นหัวใจสำคัญ และรวมไปถึงความ่วมมือทางเศราฐกิจด้านอื่นๆ ด้วยและ ที่ไม่มีการทำเขตการต้าเสรี แต่อาจมีการลดภาษ๊ศุลกากรที่เป้นอุปสรรคต่อการต้าด้วย รวมทั้งมีการร่วมมือกันในด้านอื่นๆ อย่างกว้างขวาง 
          อย่างไรก็ตาม เขตการค้าเสรีและ สหภาพศุลกากร ต่างก็เป้ฯกระบวนการในการผนึกความร่วมมือ และหรือการรวมตัวทางเศรษฐกิจ และเป็นปัจจัยเร่งการเปิดเสรีที่ก้าวไปเร้วกว่าการเปิดเสรตามข้อผูกพันของ WTO รวมทั้งเป้ฯการเตรียมการเปิดเสรีตามเป้าหมายภายใต้ปฏิญญาโบกอร์ของ เอเปค ซึ่งกำหนดให้ประเทศสมาชิกที่พัฒนาแล้วเปิดเสรีอย่างเต็มที่ภายใรปี ค.ศ. 2010  และประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาเปิดเสรีภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ.2563)

         ในที่นี้การใช้คำว่าเขตการค้าเสรีนั้น หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ไกล้ชิดกันเป็นพิเศษในลักษณะที่เป็นการกล่าวอย่างกว้างๆ คลุมไปทั้ง เขตการค้าเสรี, สหภาพศุลการกร และพันธมิตรทางเศรษฐกิจ ส่วนในความหมายที่ต่างกันคือ ความร่วมมือในรูปแบบนั้นๆ เป็นกรณีๆ ไป
          อย่างไรก็ดี เขตการต้าเสรีนั้น ในทางปฏิบัตเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากในระดับหนึ่งและหากต้องการให้ได้ผลจริงจัง ก็จะต้องพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการหลบหนีภาษีในรูปแบบต่างๆ เนื่องจากประเทศนอกกลุ่มจะพยายามส่งสินต้าเข้าทางประเทที่ทำข้อตกลงเขตการต้าเสรี ที่มีภาษีต่ำไปสู่ประเทศมาเลเซีย แต่ประเทศไทยเก็บภาษีศุลการกรการนไข้าสิ่งทอเพียง 10 % แล้วนำปแปรรูปเล็กน้อย เช่น บรรจุห่อใหม่เพื่อแลปงสภาภให้เป็นสินค้ประเทศไทยแล้ว นำไปขายในประเทศมาเลเซียอันจะทำให้เขาเลี่ยงภาษีได้ 20% กล่าวคือ เขตการต้าเสรีจะต้องใช้ทรัพยารกรของภาครัฐเป้ฯจำนวนมาก เพื่อกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับแหล่งงกำเนินสินค้าที่รัดกุม ซึ่งทางออกที่ดีที่สุด คือ กาแแลงภาษีศุลการกรของประเทศในเขตการค้าเสรีให้เท่ากันทั้งหมด หรือลงให้เป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็วนั่นเอง
           เขตการต้าเสรีสะท้อนแนวคิดสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ทีว่า "ประโยชน์จากการต้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศต่างๆ ผลิตสินค้าที่ตนมีต้นทุนในกาผลติต่ำที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แล้วนำสินค้าเหล่านั้นมาขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแห่งความเป้นจริงนั้น ประโยชน์สุงสุดดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเข้าและมีการใช้มาตรการกีดกันทางการต้าต่างๆ ซึ่งส่งผลบิดเบือนราคาที่แท้จริงของสิค้า และทำให้การต้าขายไม่เป็นไปอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ
           พร้อมกันนี้ เขตการต้าเสรีถือเป็นเครื่องือทางกาต้าสำคัญที่ประเทศต่างๆ สามารถใช้เพื่อขยายโอกาสในการต้า สร้างพันธมิตรทางเศราฐกิจ พร้อมๆ กับเพ่ิมความามารถในการแข่งขันด้านราคาให้แก่สนค้าของตน เนื่องจากสินค้าที่ผลิตใน "เขตการต้าเสรี"จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราที่ต่ำกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่สมาชิก จึงทำให้สินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มได้ เรปียบในด้านราคากว่าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่ม...(www.th.wikipedia.org/../เขตการค้าเสรี)
           ASEAN Free Trade Area : AFTA เขตการค้าเสรีอาเซียน แนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนปรากฎเป็นรูปะรรม จากากรประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ค.ศ. 1976 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป้นจุดเริ่มต้นของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ เพราะหลังจากนั้น ก็มได้มีโครงการต่างๆ มากมาย เช่น โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน AIP โครงการแบ่งผลิตทางอุตาหกรรมอาเวียน AIC โครงการร่วมลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาเซียน AIIV เป็นต้น จนมาถึงแนวความคิดในการจัดตั้งเขตการต้เสรีอาเวียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 3  เมืองมะนิลา ในการประชุมครั้งนี้ มีการหารือถึงความเป้นไปได้ในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเวียน แต่ประเทศอินโดนีเซีย ได้คัดค้านการจักตั้งดังกล่าวจึงทไใ้ข้อเสนอนี้ตกไป แต่อย่างไรก็ดี ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร์ นายอาฯันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีประเทศไทยในขณะนั้นได้เสนอ เรื่องการจัดตั้งเขตการต้าเารีอาเซียนอีกครั้งในครั้งนี้ผุ้นำอาเซียนได้เห็นชอบกับแนวความคิดดังกล่าว จึงได้มีการลงนามจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียนขึ้น อย่างเป็นทางการ
       
 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ เขตการต้าเสรีอาเซียน เกิดจากคามต้องการร่วมมือทางกาต้าจากประเทศต่างๆ ในอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ และเพิ่มอำนาจในกาต่อร่องทางด้านเศรษฐกิจในเวทีโลก พร้อมกันนี้อาเวียนยังมีความต้องการที่จะดึงดูดประเทต่างๆ ให้เข้ามาลงทุน เพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องภายในภุมิภาค โดย AFTA นั้นจะทำให้การต้าขายสินค้าในอาเซียนเป็นไปอย่างเสรี มีการคิดอัตราภาษีระหว่างกันในระดับที่ตำ่ และปราศจากข้อกำหนดทางการต้า อันจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกจะมีต้นทุนการผลิตสินค้าที่ลดลง อีกทั้งเป็นการเพ่ิมปริมาณทางด้านการต้าในภูมิภาคให้มีมากขึ้น ทำให้อาเซียนเป็นภุมิภาคที่มีการเติลโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและมั่นคง
         กรอบการดำเนินงาน อาเซียนดำเนินการจักตั้งเขตการค้าเสรีอาเวียน ดดยมุ่งเน้นไปที่การขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งหลายภายในภูมิภาค ทั้งในด้านภาษีและเครื่องกีดขวางทางการต้าต่างๆ ที่มิใช่ภาษี ยกตัวอย่เช่น การจำกัดโควต้าการนำเข้า เป้นต้น โดยจะยกเว้นแต่เพียงสินค้าที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิต และสฺปะ เท่านั้น ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นมาตรการทางภาษี โดยอาเซียนมีเป้าหมายในการลดภาษีในบัฐชีลดภาษี ให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายใรปี ค.ศ. 2002 และตั้งเป้าให้เลหือร้อยละ 0 ภายใน ค.ศ. 2010 ..(wiki.kpi.ac.th/../เขตการค้าเสรีอาเซียน)
             

วันเสาร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia :Thailand

              ระบบเศรษฐกิจไทยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ปัญหาทั่วไปของประเทศไทยหลัวสงครามโลกครั้งที่สองคือ ความเสียหายของอุกรณ์การผลิตทั้งหลายตลอดจนปผัจจยการผลิตขึ้นพื้นฐานต่างๆ ทั้งการคมนาคมพลังงาน ท่าเรือ ฯ รวมมั้งความเสียหายเนื่อจากการต้าระหว่างประเทศถูกตัดขาดมานาน ส่งผลให้เกิดความขาดแคลนสิค้ารต่างๆ อย่งรุนแรง แต่ประเทศไทยวามารถฟื้นตัวได้รวดเร็วซึงอาจเป็นเพราะสาขาการผลิตที่สำคัญคือ การเหษตร มิได้ถูกทำลายมกนักในระหว่างสงคม โดยเฉพาะอย่างยิงข้าว ดังนันเพียง 6 ปีหลังสงคราม คือ ค.ศ. 1951 ระดับการผลิตข้าวก็สูงเกินกว่าระดับการผลิตเฉลี่ยช่วงก่อนสงครา นอกนั้นในระหว่างสงครามมีการฟื้นฟูอุสตสาหกรรมหลายชนิดขึ้นในประเทศเนื่องจาก สินค้าหลายอย่างไม่อาจนำเข้าจากต่างผระเทศได้ แต่สาขาเศรษฐฏิจที่ทรุดโทรมก็คือสาชขาการต้าระหว่างประเทศ เนื่องจากการคมนาคมระหว่งประเทศขัดของเป้นเหตุให้ไม่มีสินค้าเข้าออกดังภาวะปกติ
             ดังนั้น เมื่อเสร็จสิ้นสงครามจึง้องมีการบูรณะประเทศเป็นการใหญ่ ไทยมีภาวะการขาดแคลนสำรองเงินตราร่างประเทศหลังสงคราม เพราะส่วนหนึ่งของทุนสำรองเงินตราระหว่งประเทศที่ฝากไว้ ณ ประเทศอังกฤษถูกยึดโดยถือเสมอนไทยเป็นฝ่ายแพ้สงคราม อีกส่วนหนึ่งเป้ฯทองคำและเงินเบยนของญี่ปุ่น (ซึ่งไม่มีค่าในช่วงนั้น) ซึ่งมิได้คือใไ้ไทยการขาดแคลนเงินสำรองย่อมทำให้ขดความสามารถซ้อสินค้าเข้าและทำให้ค่าเงินตราสของไทยขาดเสถียรภาพอีกด้วย ดังนั้น สิ่ิงแรกที่ไทยจัดดำเนินการคือการฟื้นฟูการผลิตเพื่อส่งออกและข้าวคือการผลิตเป้าหมาย แต่ไทยประสบปัฐหาเรื่องข้าวมากในระยะนั้น เพราะการบังคับของฝ่ายพันธมิตรให้ไทยส่งข้าวโดยไม่คิดมูลค่าเพื่อแลกกับการไม่ต้องตกเป็นฝ่ายแพ้สงครา แต่เมื่อการบังคับดังกล่าวไม่ประสบผลดีฝ่ายพันธมิตรจึงให้พไทยขายข้าวราคาถูกให้ แต่วิธีการเช่นนี้ยากที่จะประสบผลสำเร็จได้ เนื่องจากราคาข้าวในตลาดโลกขณะนั้นสูงมาก จึงทำให้ผุ้ผลิตไม่ต้องการผลิตมากนัก นอกจากนั้นข้าวเป็นจำนวนมากที่มีการผลิตได้ถูกนำมาขายในตลาดมืดและลักลอบส่งออกต่างประเทศ รัฐบาลไทยจึงไม่อาจส่งข้าวได้ครบตามจำนวนที่สัฐญฐญา อย่างไรก็ดี ข้อบังคับต่างๆ ของฝ่ยพันธมิตรต่อไปทยน้ัน เป้ฯการกีดขวางการส่งออกของข้าวไทยอย่างยิ่ง ไทยมีโอกาสค้าข้าวโดยเสรีใน ค.ศ. 1947 ซึ่งมีผลให้การส่งออกขยายตัวอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ข้าวฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วนั้น สินค้าออกอื่นๆ ฟื้นตัวได้ค่อนข้างข้า เช่น การทำดีบุก ยางพารา และไม้สัก
             ปัญหารเงินสำรองระวห่างประเทศนั้นค่อยๆ ผ่อนคลายลงเมือไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้นและอังกฤษได้คือสำรองเงินตราส่วนที่เป้นเงินปอนด์ให้กับรัฐบาลไทย และญี่ปุ่นก้คืนทองคำบางส่วนมาให้ไทยด้วย นอกจากการได้คือสำรองเงินตราบางส่วนมาดังกล่าวแล้ว รัฐบาลไทยได้แก้ไขปัยหาการขาดแคลนสำรองเงินตราต่างประเทศนี้ด้วยการเข้าควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตาโดยทำการควบคุมอย่างเต็มที่ในระยะแรกคือรายรับจาการส่งออกทังหมดต้องนำมาแลกเปลี่ยนที่ธนาคารชาติในอัตราทางการและจะขชายเงินตราแก่ผุ้สั่งเข้าสินต้าที่รัฐบาลพิจารณาว่าจำเป้นเท่านั้น ต่อมาการควบุคุมกาแลกเปล่ยนเงินตราลดความเข้มงวดลง คงควบคุมเฉพาะเงินตราที่ได้จาการส่งออกาซึ่งสิค้าสำคัญ ๆ คือ ข้าว ไม่สัก ยางพารา และดีบุก เท่านั้นการกระทำ ดังกลาวของรัฐบาลไทยอาจพิจารณาได้สองทัศนะคือ การควบคุมเฉพาะรายได้จากสินค้าสำคัญ เพราะรัฐบาลเห็นว่าสินค้าดังกบล่าวมีตลาดที่กว้างมากในระยะหลังสงครามและรายได้จาดสินึ้าเหล่านี้มีจำนวนมหาศาล หากรัฐบาลไม่ควบคุมแลกเปลี่ยนเหล่านี้ อาจทำให้เสถียรภาพทางการเงินของประเทศแปรปรวนได้ ในขณะที่สินค้าออกอื่นๆ ซึ่งไม่ถูกควบคุมนั้นทำรายได้ให้แก่ประเทสน้อยมาก จนไม่จำเป็นที่รัฐบาลจะทการควบคุมอักทัศนะหนึค่งคือรัฐบาลต้องการเปลียนกลยุมธในการพัฒนาประเทศคือ พยายามให้มีการส่งออกสินค้าอื่นๆ มากขึ้น โดยการให้แรงจูงใจแก่ผุ้ส่งออกด้วยการไม่ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงนิตราอย่างเข้มงวด แต่ขณะดี่ยวกับอาจเห็นได้ว่าเป้นการลดแรงจูงใจของผุ้ส่งออกสินค้าสำคัญดั้งเดิม 4 ชนิด
                ในช่วงทศวรรษที่ 1950 นี้ประเทศไทดยเริ่มติดต่อค้าขายำับต่างปะระเทศอย่างจริงจังอีกครังหนึ่งเมื่อมีสนธิสัญญากับตะวันตกในรัฐกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นกล่าวได้ว่าเป้นสาเหตุที่ทำให้ระดับการต้าระหว่างประเทศของไทยพุ่งขึ้นสู่จุดแห่งความรุ่งเรืองอย่างมาก ดุลการต้าเกิดดุลตลดอเวลา อย่างไรก็ตาม ความเจริญเติบโตของการต้าในช่วงหลังๆ เป็นไปในอัตราที่ค่อข้างต่ำ และากรต้าทรุดโทรมลงในช่วงของการเกิดภาวะผดปกติขึ้นในโลก ชเ่น ระยะที่เกิดสงครามดลกทังสองครั้ง หรือช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก เศรษฐกิจสาขาการต้าระหว่างประเทศของไทยพุ่งขึ้นสุจุดยอดแห่งความเจริยีกครั้งในเมือเกิดสงครามเกาหลีและสงครามอินโดจีนตรังแรกในทศวรรษ 1950
            อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ไทยมีการต้าขายกับต่างประเทศอย่างจริงจัวในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 มีทั้งปัจจัยภายในประเทศและนอกประเทศ
            ในช่วงก่อนการมีแผนพัมนาเศราฐกินั้น โครงสร้างของการต้าระหย่างประเทศของไทยนั้นคือ สินค้าออกเป็นสินค้าขั้นปฐม แต่สินค้าขาเข้าเป็นสินค้าอุตาสหกรรมบริโภคฟุ่มเฟือยส่วยใหญ่ โดยหลัการแล้วไทยจะมีดุลการต้าเสียเปรียบในระยะยาว เนื่องจากสินค้าออกเกษตรมีความยือหยุนของอุปทานค่อนข้ารงต่ำเมือเทีบกับสินค้าอุตาสหรรม นอกจากนั้นมูลคา เพ่ิมของสินค้าเกษตรกรรมยังต่ำด้วย แต่การที่ไทยไม่ประสบปัญหารขาดดุการต้าในระยะดังกล่าวนั้นเป็นเพราะความต้องการสินค้า เกษตรของไทยโดยเฉพาะอย่างยิงข้าวมีมาก ทั้งทรัพยากรเพื่อการผลิตของไทยยังมีอยุ่เหลือเฟือ
             โครงสร้างการต้าเช่นนี้ดำเนินอยู่เป้นเวลานาน มีการหยุดชะงักบ้างในระยะสงครามดลกหรือเศรษฐกิจตกต่ำ มีผลให้ไทยต้องชลอการสั่งสินค้าจากต่างประเทศ แต่เมื่อภาระความจำเป็นหมดไป ไทยก็กลับซื้อสินค้าอุปโถภคบลริโภคเข้ามาอีก อย่างไรก็ตาม ในระยะหลังสงครามโลน้นมีสินค้าเข้าประเภททุนเพ่ิมมากขึ้น นเื่องจากการประกอบอุตสาหกรรมและการทำกิจกรรมพ้นฐานของรัฐบาล สินค้าเข้าของไทยยังคงมีลักาณะกระจายคือมีสินค้าเขาหลายชนิด แต่ละชนิดมีผุ้บิรโภคจำนวนน้อย ซึ่งเป็นอุปสรรคใการพัฒนาอุตสาหรรมแบบทดแทนการนำเข้า ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่รัฐใไการสนับสนุนในทศวรรษ 1960
             การผลิต หลังสงครามดลกครั้งมีั่สองนั้น ไทยหันกลับมาชำนาญในการผลิตข้าสอีก แต่รัฐบาลไทยมีบทบามในการลทุนด้านอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น อุตสาหรรมน้ำตาล สิ่งทอ และกระดา แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ทางด้านการเกษตรนั้นแม้ข้าวยังคงเป็นสินค้าออกที่ำสคัญ แต่ความำสำคัญเร่ิมลดลงนับจากปี 1950 เป้นต้นมาพื้ที่การเพาะปลูกเพ่ิมน้อยมา เช่นจากช่วง 1950-52 และ 1965-67 เพื้นที่การเพาะปลูกข้าเพิ่มเพียง 15 % สินค้าทางเกษตรชนิดอื่นๆ มีความสำคัญเพ่มขึ้นมาก ยางพารามีอัตราการผลิตและกาารส่งออกอย่งรวดเร็ต่ากับก่อนสงครามมาก ทั้งยางพารและดีบุกเป็นการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตคลาดโล นอกจากนั้นพชเศรณฐกิจเื่อนๆ มีการผลิตเพ่ิมมากขึ้นทุกที เช่น ข้ารวโพด และมันสำปะหลัง จะเห้นได้ว่าหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นชนิดของพืชมีลักษณะกระจายมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เมือเปรียบเทียบความสำคัญของเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในระายได้ประชาขชาติแลว ความสำคัญขงอการเกษตรลดลงเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่งยิ่งในทศวรรษ 1960 จากสัดส่วนขงอภาคเกษตรกรรม 50% ของรายได้ประชาชเมื่อ ค.ศ. 1951 เหลือเพียง 31% ใน ค.ศ. 1969
         
 กล่วได้ว่าโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามดลกครั้งสองกอนทศวรรษ 1960 นั้นรูปแบบไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก สินค้าออกของไทยโดยเฉพาะข้าวมีอุปสงค์จากตลดโลกเกือบตลดอเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งขช่วงสงครามเกาหลี มีผลให้ดุชำระเงินของไทยอยุ่ในสภาพเกินดุล และมีสำรองเงินตราเพิ่มจนเป็นอัตราที่น่าพอใจ แต่เมื่อสงครามเกาหลีสิ้นสุดลง ความต้องการสินค้าไทยเริ่มลดลง ระดับราต่ข้าวลดลงด้วย วึ่งเป้นผลมาจากากริส้นสุดของภาวะกสงครามและเป้นช่วงเวลาที่ประทเศผุ้ผลิตพืชอาหาร เช่น พม่า แลเวียดนามต่างปรับตัวได้แล้วอุปทานจึงไม่ขาดแคลนดังก่อน ยังผลให้มูลค่าการส่งข้าวออกของไทยลดลง ซึ่งส่งผลกระทบไปยังดุลการต้าแลดุการชำระเงนของประเทศในขณะนั้นการต้าข้าวถูกควบคุมอย่งเข้มงวดโดยสำรักงานข้าว แลมีการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากการต้าข้าวอันเป็นอุปสรรคของการต้าขาย ดังนั้น รัฐบาลจึงยกเลิกเอกสิทธิ์ของสำนักงานข้าวเมื่อ ค.ศ.1955 และในปีนั้นก็เลิกบังคับให้ผุ้ส่งข้าวออกต้องนำเงินตราต่างประเทศมาขายให้รัฐบาลด้วยแต่ยังคงให้มีการเก็บค่าฟรีเมี่ยมจากผุ้ส่งออก เพื่อรักษาระดับราต่ข้าวในประเทศไว้ ค่าพรีเมี่ยมนี้คือภาษีชนิดหนึ่งนันเอง
            ระยะหลังสงคราดลครั้งที่สองช่วงที่ดครงสร้างการผลิตที่การเปลี่ยนแปลงไปเห็นได้ค่อนข้างชัดคือ จากทศวรรษ 1960 ซึ่งประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษบกิจแล้วและรับบาลบสนับสนุนให้เอกชนทำอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเน้นอุตสาหกรรมทดอกทนการนำเข้า ทั้งนี้เป็นผลมาจาการแนะนำของธนาคารโลกในต้นทศวรรษ 1950 นั่นเอง
            การเปลี่นแปลงโครงสร้างเศรษบกิจในทศวรรา 1960 ปรากฎว่าสาขาอุตสาหกรรมสาขาบริการมีความสำคัญเพ่ิมขึ้นในขณะที่ความสำคัญของเกษตรกรรมลดน้อยถอยลง ในช่วงดังกล่าวนี้รายได้ประชาชาติเพิ่มเฉลี่ยปีละ 8.1% สาขาอุตสหกรรมขยายตัวได้เร้ซถึง 10.9% ต่อปี ส่วนสาขาเกษตรขยายตัวได้เพียง 5.5% เฉลี่ยต่อปี แต่แม้ว่าสาขาเกษตรกรรมจะลอความสำคัญลงก็ตามแต่ยังเป็นสาขเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุด โดยเฉพาะข้าวซึ่งเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศในทศวรรษที่พชเกษตรใหม่ๆ มีบทบาทมากขึ้น เช่น ข้าวโพด ปอ มันสัมปะหลัง ถั่ว ฯ ในพืชใหม่ๆ นี้จะพบว่ามีลักษณะการผลิตตามความชำนาญเฉพาะอย่างโดยแยกภูมิภาคเช่น ปอ นั้นจะปผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้าวโพดจะผลิตในภาคกลาง เป็นต้น และพืชใหม่เหล่านี้หลายประเภทที่เป็นการผลิตเพื่อการส่งออกโดยเฉพาะ ดังนั้นสภานภาพทางเศรษฐกิจของผุ้ผลิตพืชดังกล่าวย่อมผูกพันกับภาวะตลาดโลกข่างเต็มที่ การเสี่ยงของเกษตรกรรมกลุ่มนี้ย่อมสูงกว่าผุ้ผลิตข้าวซึ่งอาจมีรายได้ตำ่กว่าแต่ความมั่นคงมากกว่า เพราะอย่างน้อยผู้ปลูกข้าวจะมีอาหารรับประทาน ในช่วงศตวรรษท 1960 นี้บทบาทของรัฐบาลในการสนับสนุนเกณาตกรรมมากว่าเดิม เช่น การทำการชนลประทานการสร้างถนน เป้นต้น แต่ดูเหมือว่าการทำงานด้านการแสวงหาตลาดให้แก่สินค้าเกษตรกรรมไทย รัฐบาลยังทำไม่ได้ผลดีนัก
              ระยะแห่งการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจจาทศวรรษที่ 1960
              - การพัฒนาอุตสาหกรรม เมื่อคณะสำรวจภาวะเศรษบกิจของธนาคราดลกเข้ามายังประเทศไทยเมื่อ ค.ศ. 1957 นั้นได้เสนอแนะให้รัฐบายุติการประกอบกจิการอุตสาหกรรม รัฐบาลควรมีบทบาทเพรียงการให้ความสะดวกแก่ผุ้ผลิตเอกชนรวมทั้งมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยการให้สิทธิพิเศษต่างๆ รวมทืั้งการภาษร เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ขึ้นเป้นนายกได้นำแนวคิดดังกล่าวมาปฏิบัติทันที่ ดดยมีการวางแผนพัฒนาปะรเทศแผนแรกในต้นทศวรรษ 1960 หลังจากมีแผนฯ แล้ว โครงสร้างทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงคื อลดความสำคัญของการผลิตทางเษตรล
ให้คามสำคัฐญแก่อุตสากหรรมมาขึ้น ว฿งมีพผลต่อการจ้างงานและอพยพแรงงานระวห่างภาคเศรษบกิจ เป็นต้น อุตสาหกรรมที่รัฐบาลให้การสนับสนุนในระยะแผบยทร่ 1 และ 2 คืออุตสาหกรรมทดอทนแากรนำเข้าซึ่งใช้ทุนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ และเกือบจะเป้ฯเพรียงการนำชิ้นส่วนมาประกอบกันเข้าในประเทศไทย โดยสิ่งนำเข้าต่างๆ ทีเ่กี่ยพันกับอุตสาหกรรมที่รัฐสนับสนุนจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีอย่างมาก ทั้งๆ ที่อุตสาหกรรมหลายประเภทมิได้ผลิตสิ่งจำเป้นปก่การดำรงชีวิต การส่งเสริมการลงทุนในลัษณะดังกล่าวกลับทไใ้มีการขาดดุลการต้าเพ่ิมมา และมิได้มีส่วนช่วยให้มีการจ้างงานมากนัก ดังนั้น ในทศวรรษที่ 1970 จึงมีการเปลี่นนโยบายใหม่ในแผนที่ 3 โดยให้ความสำคัญแก่อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกมากขึ้น โดยพยายามให้มีการเชื่อมโยงกับการเกษตรกรรมในประเทศเป็นอุตสาหรรมที่ใช้วัตถุดิบในประทศเพื่อลดการขาดดุลการต้า และเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ แต่ปรากฎว่านโยบายดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จเพราะอุตสาหกรรมประเภทนีมิได้จ้างแรงงานมากเท่าที่รัฐบาลหวังไว้และคุณภาพสินค้ายังไม่อาจแข่งขันในตลาดโลกได้ทั้งการใช้วัตถุดิบจำนวนมากจากต่างประเทศในหลายๆ อุตสาหกรรมยังคงมีอยู่
            การที่รัฐบาลไทนวนับสนุนการผลิตอุตาสกหรรทอแทนการนำเข้าในช่วงแรกนั้น มีเหตุผลคือในระยะนั้นมีการขาดดุลการต้าและมีรัฐต้องการสงวนเงินตราของประเทศตลอดจนแรงผลักดันของสหรัฐ และเชื่อว่าอุตสาหกรรมประเภทนี้จะมีลู่ทางแจ่มใสของเพราะมีตลาดในประเทศรองรบ แต่ข้อผิดพลาดคือผุ้สนับสนุนดบบายดังกล่าวมิได้คิดว่าลักษณะสินค้าอุตาสหรรมที่นำเข้าประเทศไทยนตั้นเป้นสินค้าบริโภคฟุ่มเฟือยฟลายชนิดแต่ละชนิดมีลูกค้าไม่มากซึงจะไม่สามรถใช้ประโยชน์จากประหยัดขนาด ได้ อนึ่ง การผลิตนี้มิได้เป็นการประหยัดเงินตราต่างประเทศเพราะมีการนำชช้ินส่วนต่งๆ เข้ามามากเพียงเพื่อประกอบเป็นสินค้รสำเร็จรูปในเมืองไทยต้นทุนการผลิตจึงสุงมาก ซึ่งเป็นผลให้มูลค่าเพิ่มของกิจการประเภทนี้ในประเทศไทยไม่มาเท่ากับที่ทฤษฎีอธิบายไว้ว่า การผลิตทางอุตสาหกรรมมีมุลค่า เพิ่มสูงกว่าทางเกษตรกรรม ดังนั้น สิทธิพิเศษต่างๆ ที่รัฐบาลให้เพือส่งเสริมเกษตรกรรมจึงกลายเป็นการให้สิทธินายทุนต่างชาิตเข้ามาตักตวผลประทโยชน์ออกไป ทั้งอุตาสหกรรมดงลก่าวยังก่อใไ้เกิดความไม่เท่าเทียมในชนบทและเมืองมากขึ้น เพราะส่วนใหญ่อุตสาหกรรมกระจุกตัวอยุ่ในเขตกรุงเทพฯ และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีความสะดวกขึ้นพ้นฐานมากการอุตาสากรรมในรูปนี้ยังทำให้การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติเป้นไปโดยไม่มีประสิทธิภาพ และไม่เป็นธรรมแก่ผุ้บริโภค เพราะรฐบาลให้อภิสิทธิ์มากมายรวมทั้งการกดค่าแรงและราคาสินค้าทางเกษตรเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม ตลอดจนการตั้งกำแพงภาษี ซึ่งทำให้อุตสาหกรรมเหล่านี้ายสินค้าราคาแพงได้และไม่พยายามปรับปรุงประสิทะิภาพเพื่อการแข่งขัน นอกจากนี้อุตสาหกรรมทอแทนการนำเข้าที่ไทยทำยังทำให้เศรษฐกิจไทยมีลักาณพึงพิงมากขึ้น เพราะเป็นอุตสาหกรรมยังผลให้มีแรงงานอพยพเข้ามาแออัดกันใเขตเมืองมากมายก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาสลัม อาชญากรรมฯ

          ควาผิดพลาดของนโบบายอุตสาหกรรมไทยในทศวรรษ 1960 คือการมิได้เลือเแพาะสินค้าทอแทนที่มีศักยภาพสูงคือ ควรเป้นการผลิตที่มีวัตถุดิบในประเทศ มีตลาด และมีโอกาสที่จะทำการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต
               หากรฐบาลไทยยังตองการให้สาขาอุตสาหกรรม เป้นสาขานำการพัฒนาแล้วจักต้องพิจารณาให้รอบคอบ ไม่ว่าจะเป้ฯการผลิตเพื่อส่งออกเหรืการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า การพิจารรรศักยภาพด้านต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญ หากอุตาสหรรมใดที่ต้องนำวัตถุดิบ เครื่องจักร ผุ้เชียวชาญ ส่วนประกอบการผลิต ฯ มาจากต่างประเทสมากๆ อุตสาหกรรมชนิดนี้จะไม่ช่วยแก้ปัญหาของชาติ ปัญหาดุลการต้าขาดดุลจะเกิดได้ การจ้างงานจะมีน้อย การสะสมทุนในประทเศจะต่ำ และมูลค่าเพ่ิมของการผลิตจะต่ำด้วยซ่งสิ่งเหล่านี้ผู้วางนโยบายจังต้องพิจารณาให้รอบคอบ ก่อนที่จะวางนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมใด
              ากรพัฒนาเศรษกบิจของประเทศไทยนั้นมีอายุยาวนานับเกือบพันปี แต่การพัฒนาในสมัยโบรราณเป็นไปตามแรงผลักดันของธรรมชาติมิได้มีการวางแผนอย่างเป็นระบบดังเช่นปัจจุับ บางครั้งมีปัจจัยจากาภยนอกมากรทบ เช่น สงครามภาวะ เศราบกิจก็อาจทรุดโทรมลงได้ หากบ้านเมืองสงบการผลิตและการค้าขายมักจะทำได้สะดวก มีผลให้ระบบเศรษบกิจของประเทศรุ่งเรืองขึ้น
              ในประวัติศาสตร์ของไทยอาจกล่าวได้ว่าช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของเศรษบกิจมี 3 ช่วงคือ ใน ค.ศ. 1955 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล่าฯ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ประเทศอังกฤษเข้ามาทำสัญยาเบาว์ริ่งกับไทยและติดตามมาด้วยประเทศตะวันตกอื่นๆ เข้ามาขอทำสัญญาเอาเปรียบไทยอย่างมาก แต่ส่งผลให้การค้าขยายตัว การผลิตเพ่ิมขึ้นโดยแฑาะอย่างยิ่งข้าว มีผลให้เสณษฐกิจเปลี่ยนจากการผลิตแบบยังชีพกลายเป็นการผลิตเพื่อการต้ามีการใช้เงินตราแพร่หลายขึ้น และทำให้ดรงสร้างเศรษฐกิจเปลี่ยนไปคือ เน้นการผลิตข้าวมาก แต่อุตสาหกรรมพื้นบ้านเสื่อมโทรม เพราะสินค้าเข้ามีราคาถูกกว่า ที่สำคัญคือเป้ฯการเปิดประเทศอย่างเป้นทางการอีกครั้งหลังจากปิดประเทศตั้งแต่ปลายสมัยอรงุศรีอยุธยา
               หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอีกช่วงที่เศรษฐกิจของไทยมีการเปลี่ยนแม้จะไม่มากนัก นั่นคือ หลัวสงครามโลกนั้นรัฐบาลของ จอมพลแปลก พยายมยึดนโยบายชาตินิยมด้วยการผลิตทุกสิ่งเอง รัฐบาลก้าวเข้ามามีบทบาทในการผลิตสินค้าอุตสหกรรมหลายอย่าง เช่น กระดาษ สิ่งทอ ฯ เป็นยุคที่รัฐวิสาหกิจของไทยเจริญขึ้นมาอย่างมาก ซึ่งเป็ฯที่ราบกันดีว่ารัฐวิสาหกิจของไทยไม่มีประสิทธิภาพในการดำเนินงานและเป็นปัญหาหนักของประเทศในฐานะผุ้ก่อหนี้ต่งประเทศที่สำคัญของชาติในขณะนี้ นอกจากนี้ ในทศวรรนีเองที่ลัทธินิยมหวนกลับมาอีกครั้งเพื่อจะแผ่ขยายอิทธิพลในแถบประเทศด้วอยพัฒนา โดยอาศัยสภาบันการเงินระหว่างประเทศเป็นสื่อ เช่น คณะสำรวจภาวะเศรษฐกิจของธนาคารโลกเข้ามาแนะนำการปรับปรุงระบบเศรษบกิของแต่ละประเทศ เช่น ในประเทศไทยเขข้ามแนะนำให้รับบาลเลิกดำเนินการอุตสาหกรรมเองแต่ให้ส่งเริมเอกชนแทน ในทศวรรษนี้เงินกู้และช่วยเหลือในรูปต่างๆ หลังไหลเข้ามาในประเทศไทยและเพื่อนบ้านอย่างมากมาย ด้วยเงื่อไขต่างๆ นานา ไทยมีความเห้ฯคล้อยตามธนาคารโลกและในที่สุดเมื่อจอมพลสฤษดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรีก็ได้นัดให้มีการวางแผนขึ้นในต้นทศวรรษ 1980 นั่นเอง
               ช่วงแห่งการมีแผนพัฒนาในทศวรรษท 1960 เมื่อแปผนฉบัยที่ 1,2 สร้างขึ้นในช่วงนี้นั้น รัฐบาลมีบทบาทเพียงผุ้ส่งเสริมการอุตสาหกรรมด้วยมรตการต่างๆ เช่น ภาษีอากร โดยให้เอกชนเข้ามาีบทบาทในการลทุนให้มากที่สุด ภายใต้กาอำนวนคามสะดวกของรัฐบาล โดยหวังว่าอุตสากหรรมทอแทนการนำเข้าที่รัฐบาลส่งเสริมี้จะช่วยลดดุลการต้าที่เสียเแรียบ เป็นแหล่งดูดซับแรงงาน แต่ปรากฎว่าโดยความบกพรองบางอย่างของมาตการที่รัฐบาลใช้ อุตสาหกรรมดังกล่าวไม่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของรัฐบาลและกลับก่อใไ้เกิดปัญหาหนัก ทั้งนี้เพราะอุตาสาหกรรมนี้เป็นเพียงการนำชิ้นสวนมาประกอบกันเข้าในเมืองไทยเทานั้น ดดยที่ช้ินส่วนต่างๆ ต้องนำเข้าจึงเป็นการช่วยคุ้มครงอให้นายทุนต่างชาติมากอบโกยผลประโยชน์จากเมือไทยไปในแผน 3 จึงมีการพยายามแก้ไขด้านอุตสาหกรรม ใระยะแผนฯ 1-3 นั้น รัฐบาลมิได้ให้ความสนใจในการพัฒนาในชนบทเท่าที่ควร....(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์, 2538.)
         
     

วันศุกร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia : myanmar

              หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พม่าต้องฟื้นฟูประเทศให้พ้นจากความเสียหายต่างๆ ต้องซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม การปรับปรุงอู่ต่อเรือ ฯ ปัญหาทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจรุมล้อมพม่าอยู่ทางด้านเศรษฐกิจนั้น ปรากฎว่าเกษตรกรขาดแคลนเงินทุนอยู่ที่วไป ปัยหาโจรผุ้ร้ายชุกชุม ทางด้านการเมืองนั้นปรากฎว่าแนวความคิดแบบคอมมิวนิสต์เร่ิมจะแผ่ขยายตัว อย่งไรก็ี ในค.ศ.1948 เมื่อพม่าได้เอกราชอย่าแท้จริง รัฐบาบของอูนุพยายามใช้นโยบายเศณาฐกิจและการเมืองแบบผสมระหว่างทุนนิยมและสังคมนิยมมีลักษณะเป็นรัฐสวัสดิการมีการวางแผนจากส่วนกลางบ้าง โยอาศัยความช่วยหลือจาต่างประเทศในด้านผุ้เชี่ยวชาญ พม่ต้องการฟื้นฟูทั้งทางเษตรกรรมและอุตสาหกรรมให้ทัดเทียมกัน โดยรัฐบาจะเข้าช่วยเหลือท้งทางการลงทุนตลอดจนเข้าไปดำเนินการผลิตด้วยตนเอง ในช่วง ค.ศ. 1948-1950 ปรากฎว่าภาวะทั้งเศรษฐกิจและการเมืองของพม่าสับสนปั่นป่วนมีการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองอยุ่เกือบตลอดเวลา แต่ในที่สุดการเา่ิมพัฒนาอยาง ได้เร่ิมขึ้นเมื่อมีโครงกรพัฒนาเกิดขึ้น
             การพัฒนาในระยะเริ่มแรกของพม่านั้น ให้ความสำคัญแก่บทบาทของเอกชนมาก โดยเฉพาะอย่งยิงทางด้านการออมและากรลงุทน ซึง่เชื่อว่าภายใต้แรงจูงใจที่รัฐให้จะทำให้เอกชนมีการใช้จ่ายลงทุนในระดับที่น่าพอใจ นอกจากน้น รัฐบาลยังยอมรับความขวยเหลือจากต่างประเทศเป็นจำนวนมากมาย แม้ว่าความตั้งใจเติมของพม่าืชือการไม่ยอมพึงพาต่างประเทศประมาณว่า 1 ใน 3 ของายจ่ายขงอรัฐในช่วงนี้มาจากต่างประทเส อย่างไรก็ตา เมือถึงระยะ ค.ศ. 1959-60 ปรากฎว่าสภานกาณ์ต่างๆ ไม่เป้นตามที่รัฐบาลหวังไว้ เอกชนยังคงลงทุนต่อำว่าที่รัีฐคาดคะเนเอาไว้มาก
           ในกาพัฒนาของพม่าในระยะเร่ิมแรกของทศวรรษนี้นั้นพยาบยามพัฒนาทั้งสาขาเกษตรและอุตสาหกรรมไปพร้อมๆ กัน ซึ่งเป็นลักษณะของการพัฒนแบบสมดุล โดยรัฐบาลเข้าควบุคมในการเำเนินงานเศรษฐกิจโดยตรง เช่น การกำหนดราคาสินค้าการเกษตรคงที่ราคาเดียวตลอดปีแก่เกษตรกรเป้นต้น โดยหลักการแล้วการแทรกแซงของรัฐมีผลให้เกิดการจัดทรัพยกรที่ผิดพลาดของสังคม เพาระราคามิได้เป็นกลไกในการตัดสินปันญาของตลาดหรือการแบ่งสรรทรัพยากรอีกต่อไป
         อย่างไรก็ตาม กล่าวดดยสรุปได้ว่าในทศวรรษ 1950 นั้น เศรษบกิจของพม่ามีอัตรการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับที่ดีพอสมควรเมื่อเทียบกับระกับหลังสงครามโลกใหม่ๆ แต่ยังต่ำกว่าระดับก่อนสงคราม คือ  GDP ของพม่าในช่วง คซศ. 1949-1950 เป็นเพียง 70 % ของช่วง ค.ศ. 1938-1939 ในช่วงของการพัฒนาในทศวรรษ 1950 นั้น พม่าขายข้าวได้เป็นจำนนมากประกอบกับราคาข้าวที่สูงเนื่องจากความต้องการมีมาก เพราะในระยะนั้นมีสงครามเกาหลีและสงครามอินโดจีน ทำให้รายได้ของประเทศพม่ามีจำนวนมาก แต่ทว่าต่อมาหลายประเทศได้ฟื้นฟูการผลิตของตนได้ ทำให้พท่าขาดรายได้จากการต้าข้าวมากและเกิดภาวะการต้าขาดดุล จำนวนสำรองเงินตราของพม่าลดลง ซึงมีผลกระทบต่อแผนพัฒนาที่ตั้งไว้ เพราะเมื่อสำรองเงินตราลดลงย่อมเกิดอุปสรรคในการสั่งสินค้าเข้า
       
 ในปลาทศวรรษ 1950 ปรากฎว่าการเมืองในพม่าถึงจุดวิกฤต ความล้มเหลวของเศรษบกิจในตอนปลายทศวรรษนี้ยังผลให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ทหารเริ่มเข้ามามีบทบาทในการแทรกแซงทางการเมือง และในที่สุดรัฐบาลพลเรือนของอูนุก็ต้องพ้นอำนาจ นายพลเนวินซึ่งทำการปฏิวัติรัฐบาลเดิมได้ตั้งรัฐบาบโดยมีสภาปฏิวัติแทนรัฐสภา และในยุคนี้ระบบเศรษบกิจถูกชี้นำโดยรัฐโดยตรง รัฐบาลควบคุมกิจการต่างๆ ทางเศรษบกิจ มีการวางแผนส่วนกลางเต็มที่มีการโอนกิจการต่างๆ ทั้งการต้า การธนาคาร ทั้งของชาวต่างประเทศและชาวพื้นเมืองมาเป็นของรัฐ และลแ้วพม่าก็ก้าวไปสู่การพัฒนาประเทศภายใต้ระบอบ "สังคมนิยแบบพม่"จะเห้นได้ว่าบทบาทของเอกชนจะต้องถูกจำกัดภายใต้ระบบเศราฐฏิจดังกล่าวนี้ ความเสรีในการตัดสินใจดำเนินะูรกรรมต่างๆของฝ่ายเอกชนไม่อาจเกิดได้แน่นอ และแรงจูงใจต่างๆ ทางเศษบกิจย่อมสูญสิ้นไป
          พม่าในทศวรรษ 1960 ในทศวรรษนี้ ภายใต้การนไของเนวินนั้น ไม่อสจช่วยให้ระบบเศรษบกิจฟื้นตัว สถานการณ์กลับเสือมโทรมลงไปอี สถานการณืการขาดแคลนข้าวเกิดขึ้นในพม่าทั้งๆ ที่เคยเป็นประเทศผุ้ผลิตที่สำคัญของโลก ตลาดมีดของสินค้าตลอดจนการลักลอบนำสินค้าออกต่างประเทศเกิดโดยทั่วไป เศรษฐกิจทรุดโทรมลงทั้งทางด้าน เกษตรกรรมและอุตาสหกรรม ในขณะที่มีการเพิ่มของประชกร ซึ่งย่อมทำให้รายได้ต่อหัวของประชากรต่ำลบ การส่งสินค้าออกต่างประเทศลดลงตลอดเวลา และภายใต้สภาพเช่นนี้ภาวะดุลการต้และการชำระเงินย่อเลวลงดุลการต้าของพ่าขาดดุลติดต่อกันเกือบตลอดทศวรรษ 1960 ยกเว้นปีแรกๆ เท่านั้น
          นายพลเนวินมได้นำประเทศไปสู่การพัฒนาแตกลับิ่งทำให้ประเทศทรุดโทรมลงอบางมาก ทำให้ปรเทศพม่าซึ่งเคยอุดมสมบูรร์ในอดีตถึงกับต่องมีกาปันสวนสิค้าแผนเศรษบกิจตลอดจนหลัการที่สวยงามของเนวินที่จะทำให้เศรษฐกิจมีการพัฒนาอย่างได้สัดส่วนตามที่วางแผยไว้หาได้เกิดขึ้นไม่ ความเท่าเทียมโดยความยากจนยิงกว่าเดิมของชาวพม่าเช่นนี้อาจจะเลยร้ายย่ิงกว่าควาไม่เท่าเที่ยมที่เป้นอยู่ตั้งเดิมเสียอี การมุ่งแก้ไขความไม่เท่าเทียมของพลเมืองโดยการยึดโอนกิจการต่างๆ มาเป็นของรัฐ โดยละเลยกลไกระคาเสียและใช้การวางแผนส่วนกลางตามแบสังคมิยมนั้นมิได้ช่วยให้พม่ามีสภาพกีขึ้นตรงข้ามกับเกิดภาวะชะงักงันของเศรษบกิจ การไม่ต้องการพึ่งพิงทุนนิยมจากาภยนอก็เป็นส่ิงที่เป็นไปไม่ได้สำหรับกรณีพม่า เพราะเมือพม่าไม่ต้องกาพึงพาฝ่ายทุนนิยม ในที่สุดพม่าก็หันไปอิงกับฝ่ายสังคมนิยม
         กล่าวได้ว่าทั้งรัฐบาบสวัสดิการเสรีของอูนุ และรัฐบาสังคมนิยมของเนวิน นั้นมิได้มีการวางแผนเศรษฐกิจอย่างจริงจัง แผนส่วนใหญ่เป็นแผนระยะสั้น กรรมการวางแผนหรือกรรมการปฏิบัติงานเป็น
กรรมการเฉพาะ เมื่อหมดงานก็ยุบเลิกไปจึงไม่มีกาตติดตามผลงานที่วางแผนไว้ การวบอำนาจเกินไปนั้นมีผลให้การควบคุมงานทำได้ไม่ทั่วถึง และไม่มีประสิทธิภาพ การวางแปนจากส่วนกลางของนายพลเนวินก็เป็นแต่เพียงการโอนงานให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทำแทนเอกชนให้ภาคเศรษกบิกจเท่านั้น มีการตงหน่วยงานของรับอย่างมากมายแต่การดำเนินงานไม่มีการประสานงานที่ดี รัฐพยายามโอนกิจการธนาคาร การต้าและอุตสาหกรรมมาเป้นของรัฐ รวมท้งการโอนที่ดินด้วย รัฐจึงกลายเป็นนายทุนใหญ่รายเดี่ยวของประทเศ และเป้ฯนายทุนที่มีอำนาจเปด็จการแต่ไร้ประสิทธิภาพ จเกิ็นได้จาการโอนกิจการธนาครานั้น ความขาดประสิทธิภาพของรัฐบาลทำให้ประชาชนภอนเงินออกไปได้อ่กนเป็นเจำนวนมาก ส่วนการโอนการต้าแลอุตาสหกรรมล้วนล้มเหลว เกิดตลาดมืด และเกิดเงินเฟ้อตลอดเวลา การกระทำของรัฐไม่ช่วยให้ฐานะทางความเป็นอยุ่ของประชาชนดีขึ้นเลย ผุ้ผบิตาภยใต้กาบังคัขาดแรงจุงใจในการผลิต ย่อมลดการผลิตลง ระบบปันส่วนสินค้าดดยรัฐไม่ได้ผลเพราะราคาในตลาดมืดสุงมาก ผุ้ได้รับโควต้าสินค้าทั้งเจ้าของร้านและลูกค้าต่างแอบเอาสินค้าไปขายต่อในตลาดมือเพราะได้กำไร แสดงให้เห็นว่าจุดมุ่งหมายของรัฐบาลที่จะขจัด "กำไร" ซึ่งถือว่าเป็นตัวการท่ีทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในระบบสังคมนิยมนั้น ไ่ประสบผลสำเร็จและแสดงถึงการควบุคมที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐ ดังนั้น ปัญหาความขาดแคลนสินค้าย่อมแก้ไขมิได้ชี้ไใ้เห็นว่ากลไกของรัฐไม่อาจทำงานได้ก็เท่ากบกลไกตลาด เมื่อเปรียบเทียบสภานการณ์ใช่วงก่อนการเปลี่ยนระบบกรปกครองกับช่วงหลังของการปกครองใระระบบเผด็จการ หรือเปรียบเทียบช่วงก่อนการได้รับอิสรภาพกับช่วงลหังการได้อิสรภาพ
            อย่างไรก็ดี ในช่วงทศวรรษ 1960 นี้กล่าวได้ว่าพม่ายายามให้ความสนใจชนบทมากขึ้นมีการให้แรงจูงใจเกษตรกรด้านสินเชื่อด้วยการตั้งสหกรณ์การเกษตรเอนกประสค์กสิกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์จะกู้เงินได้โดยง่ายและดอกเบี้ยเงินกู้ก็ต่ำนอกจากนั้นรัฐบาลพยายามเพ่ิมราคาขึ้นต่ำ ของขาวเปลือกแต่ยังต่ำกว่าราคาตลาดมือปรากฎว่าชาวนามีการขอกุ้เงินขากสหรกณ์เพ่ิมมาก แต่การขอกุ้เงินเพิ่มจำนวนมากขึ้นในกลางทศวรรษ 1960 นั้น มิได้หมายความว่าผลิตผลจะเพิ่มขึ้น ดังนั้น เมื่อจำนวนเงินเพิ่มโดยผิตผลไม่เพิ่มภาวะเงินเฟ้อจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ การที่ผลิตผลมไม่เพิ่มมองได้สองนัยคือ ชาวนานำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือผลิตผลส่วนที่เพิ่มนั้นถูกลักลอบนำไปขายในตลาดมือ เรพาะระบบการควบุคมของรัฐไม่รัดกุม
             หากพิจารณาให้ถ่องแท้แล้วการที่พม่าพยายามปิดประเทศ ไม่ยอมรับความช่ววเบลหือจากตะวันตก แต่กลับนำเอาวิุีทางแบบสังคมนิยมบัคับมาใช้นั้น อาจมิใช่ทางเลือกที่ถูกต้งนัก เพราะพม่าขาดแคลนปัจจัยการผลิตทั้งทางด้านทรัพยากรมนุษย์ วัตถุดับที่สำคัญในการอุตสาหกรร เทคดนโลยี ตลอดจนเงินทุนเพื่อพัฒนา การพึงพาต่างประเทศในระดับที่เมหาสมอาจมีประโยชน์แก่พม่ามากว่าการโดเดี่ยวตนเองจากโลกภายนอก อนึง ประเทศพม่าเคยเป้นปะเทศที่อุดมสมบูรณ์อาจเท่ากับหรือมากว่าประเทศไทย ประชาชที่อดอยากยากจนที่สุดก็ไม่น่าจะมีสภาพเลวร้ายไปหว่าไทย การมีชนกลุ่มน้อยชราวต่างชาติเข้ามากอบโดยผลประดยชน์ไปจากพม่านั้น ไทยก็ประสบปัญหาเช่นนี้เหมือนกัน แต่ไทยมีทางเลือกที่แตกต่างออกไป การเอาระบบสังคมนิยมมาใช้ในพม่าอาจเป็นข้อผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง ทไใ้เกิดผลต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ เมื่อการลงทุนของนายทุนเอกขนทั้งขชาวต่างชาติและขาวพื้นเมืองยุติล
 และโดยการจัการที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐประกอบกับการขาดแคลน เทคโนโลยีและทุน ย่อมทำหใ้การผลิตตกต่ำลง การจ้างงานย่อมน้อยลง รายได้ทั้งของประเทศและประชาชนลดลง และระบบความเสมอภาพเช่นที่พม่าต้องการกลับเป็นการทำร้ายประชาชนของตนเอง ทั้งยังปรากฎว่าในที่สุดแล้วพม่าต้องพึ่งพาประเทศอื่น แม้จะมิใช่ฝ่ายโลกเสรีก็ตาม
                ในปัจจุบันนี้พม่ายังคงประสบภาวะยุ่งยากซึ่งเป้นปัญหาเรื้อรังคือ ปัญหาของชนกลุ่มน้อย ซึ่งยังต้องการชิงอำนาจจากรัฐบาลอยุ่อันมีผลให้ความสงบภายในของพม่ามีน้ยอเมื่อความสงบภายในไม่ม่ี การพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษบกิจการเมืองและสังคมยากที่จะสำเร็จ ในขณะที่ประเทศไทยไม่มีปัญหาคนกลุ่มน้อยมาเท่าพม่า แต่ก็มีปัญหารหลายๆ อย่างที่เป็นอุสรรคการพัฒนประเทศเช่นกัน เช่นการตกเป็นหนี้สินต่างประเทศอย่างมาก เป็นต้น....( ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์. 2538.)

History Economic of Sounth East Asia : Indo-China

                เศรษฐกิจหลักของประเทศอินโดจีนคือ การเกษตรกรรม ในประเทศลาวนั้นประชาชนทำนาเป็นอาชพหลัก ในราวทศวรรษ 1960 นั้นปรากฎว่ามีพืชอ่นๆ ด้วย คือ ข้าวโพด น้ำตาลมะพร้าวอ้อย ส่วนในกัมพูชา มีการผลิต ยาสูบ น้ำมันปาล์ม ยางพารา ฝ้าย และพริไทย แต่ทว่าพื้นที่ทำการเพาปลุกของประเทศเหล่านี้น้อยมาก สวนใหยถูกปล่อยให้เป็นป่า ทางด้านอุตสาหกรรมมีอยุ่บ้าง เช่น การทำโรงสีข้าว ทอผ้าไหม การปั้นถ้วชาม ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขั้นต้น ส่วนอุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่มีอยุ่ในช่วงทศวรรษ 1960 คือ การกลั่นน้ำมัน ดรงงานทำแก้ว ฯ แต่อุตสาหกรรมสมัยใหม่นี้ไม่ช่วยการจ้างงานเท่าที่ควร มีแรงงานชาวพื้นเมืองเพียงประมาณ 2% ที่เข้าไปทำงานในภาคอุตสาหกรรม ส่วนกาต้าตกอยุ่ในมือชาวต่างชาติ ในกัมพูชานั้นการต้าตกแยุ่ในมือของชาวจีนและชาวเวยดนาม ปลายทศวรรษ 1960 เศรษบกิจของลวและกัมพุชายังอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม ต้องแสวงหาความช่วงเหลือจากสถาันระหว่างประเทศอยางมาก ส่วนประเทศเวียดนามนั้นในช่วงทศวรรษ 1960 มีข้อมูลค่อนข้างจำกัแต่ก็เช่นเดี่ยวกับประเทศลาวและเขมตือ การปลูกข้าวเป้ฯการผลิตที่สำคัญ สถิติของทศวรรษ 1960 พบว่าการผลิตข้าวได้รับความกระทบกระเทือจากภาวะธรรมชาติและสาเหตุจากสงคราม เพราะแรงงานไม่มีโอกาสทำการผลิต เนื่องจากถูกเกณฑ์ไปทำสงครามบ้างหรือหลบภัยจากงครามบ้าง ในเวียดนามเหนือจอกจาการผลิตข้าแล้ว มีการเลั้ยงสุกร ผลิตน้ำตาล กาแฟ ชา เป็นต้น สินค้าเหล่านี้มีการส่งออกต่างประเทศด้วย การต้าของเวยดนามเหนือในทศวรรษท 1960 นั้น ส่วนใหญ่เป้ฯการต้ากับจีนแแผ่นดินใหญ่ และรัสเซีย ในเวียดนามได้นั้น มีการปลูกถั่ว อ้อย และยาวพารานอกจาการปลูกข้าวเป้ฯพืชหลัก
             กล่าวได้ว่ ฝรั่งเศสมิได้ดำเนินการใดๆ ที่แสดงให้เห็น่าต้องการพัฒนาอินโดจีน ประกอบกับการมีสงครามภายในอินโดจีนเองตลอดเวลา ดังนั้น เมื่อประทเศเหล่านี้ได้ปกครองตนเอง จึงปากฎว่าสภาพ เศรษฐกิจอยู่ในภาวะที่ทรุดโทรมภายหลังสงครามอินโดจีน ครั้งที่สองเสร็จสิ้นลงในต้นทศวรรษ 1970 ในประเทศเวียดนามนันประชาชนอดอยาก ไร้ที่อยุ่อาศัย เกิดสภาพตลาดมือ ตลอดจนปัญหาหาชญากรรมการดำเนินงานของรับบาลเวยดนามในขณะนันคือ มีการโอนกิจการชาดใหญ่มาเป็นของรัฐเข้าควบคุมกรธนาคารและการต้าระหว่างประเทศระบบทุนนิยมยังมิได้เลิกล้มโดยเด็ดขาด เอกชนยังสามารถประกอบกิจการย่อยๆ ต่อไปได้ การถือครองที่ดินโดยเอกชนยังควมีอยุ่ ในขณะเดียวกันมีการเพิ่มสวัสดิการให้แก่กรรมการในโรงงานด้วย อย่างไรก็ดี ทรัพยากรของเวียดนามถูกทำลายลงอย่างมากมาย เช่นป่าไม้ถูกทำลายถึง 5 ล้านเอเคอร์ เวียดนามได้พยายามแสงหาควาช่วยเหลือจาากต่างประเทศทั้งฝ่ายโลกคอมมิวนิสตืและโลกเสรี นอกจากนั้นองค์การเงินทุนระหว่างประเทศต่างให้ความช่วยเหลือเวียดนาม
          ส่วนเศรษฐกิจในประเทศลาวหลังจากได้รับเอกราชแล้วต้องพึ่งพาสหรัฐอย่างมาก แต่กระนั้นการพัฒนาในลาวยังอยุ่ระดับต่ำมากขาดการสาธารณูปโภคต่างๆ มาตรฐานชีวิตของประชาชนเสื่อโทรมมีการขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรงรัฐบาลต้องเกณฑ์ประชาชนทำการผลิตอาหาร ปลูกพืชผัก รัฐบาลกำหนดให้ข้าราชการทำงานสัปดาห์ละ 6 วัน ถ้าว่างให้ทำสวนครัว รัฐบาลพยายามแก้ปัญหาราคาเงินเฟ้อด้วยวิธีการหลายอย่างรวมทั้งการเปลี่ยนแมาตรเงิน มีการเข้ายึดกิจการขนาดใหญ่เป็นของรัฐ ส่วนกิจการขนาดย่อมนั้นให้เอกชนดำเนินงานต่อไปได้ ลาวก็เช่นเดียวกัน เวียนดนามที่ต้องอาศัยความทช่วยเหลือจากต่างประเทศ
            ในักัมพูชานั้นหลังจากได้รับเอกราชแล้วเจ้าสีหนุพยายามใช้นโยบายความเป้นกลาง โดยอิงทั้งฝ่ายดลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต์ แต่ก้ไมด่เป้นผลดีแก่ประเทศกัมพูชา เพราะกลับหลายเป็นการชักศึกเข้าบ้านและทำลายตนเองในที่สุด ความจริงเศรษบกิจกัมพูชาแม้ช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 นั้นกล่าวได้ว่า ทางด้านเกษตณกรรมยังเป็นการผลิตเพื่อเลี้ยงตนเอง คือผลผลิตเกือบทั้งหมดจะใช้นกาบริโภคมากกว่าการนำปชายหรือแลกเปลียนแกับสินค้าอื่นใช้เงินลทุนในการผลิตน้อย ระดับเทคโนโลยียังต่ำมาก  ใข้แรงงานของสัตว์และคนในการผลิต แต่อย่างไรก็ตาม มีกิจการที่เป็นการลงทุนแบบทันสมัยในด้านเกษตรกรรมอยุ่บ้าง คือการปลูกยางพาราแต่เจ้าของสวนยางเป็นชาวต่างประเทศทั้งหมดและผลผลิตของยางนั้นเพื่อการส่งออก ซึ่งคล้ายกับกรณีของไทยคือ การผลิตยางพารานั้นมิได้บริโภคในประเทศ
           ส่วนอุตาหกรรมของกัมพูชานั้นอยู่ในสภาพเสื่อโทรมย่ิงกว่าการเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมมีขนาดเล็ก และในภาคอุตสาหกรรมนี้กิจการสำคัญๆ ตกอยู่ในมือของชาวต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น โรงสีข้าว ซึ่งเป็นลักษณะเดี่ยวกับสภาพของประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยทั่วไป
            การที่เศรษฐฏิจของกัมพูชาไม่พัฒนานั้น อาจเป็นเพราะสาเหตุของการถูกครอบงำโดยฝรั่งเศส เขียว สัมพันธ์ อ้างว่าก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามาครอบงำน้น เศรษฐกิจของกัมพูชาก้าวหน้ากว่าระบบศักดินาในยุโรป ระบบการต้าขายแลกเปลี่ยนในตลาดเกิดขึ้นแล้ว และอุตสหรรมหัตถกรรมกำลังเจริย แต่หลังจากที่ฝรั่่งเศสเข้ามาปกครองได้ทำลายความเตริญดังกล่ว การที่สินค้าจากต่างประเทศข้ามาแข่งขันได้เสรีมีผลให้สินค้าอุตาสหกรรมพ้ินเมืองต้องหยุดชะวัก ดังนั้น ผุ้ผลิตชาวพื้นเมืองจึงต้องถอยกลับไปทำงาน้ดานกสิกรรม หรือยังคงผลิตอุตสาหกรรมขนาดเล็กต่อไปพร้อมกับเพาะปลูกเลี้ยงตัว หรือทำการต้าสินค้ายุโรปแทน ในที่สุดกัมพูชากลายเป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาสินค้าทุนแลสินค้าบริโภคจากต่างประเทศ ขณะเดียวกันปัญหาเกี่ยวกับที่ดินมีมากขึน นายทุนที่ดินและข้าราชการใช้วิธีการต่างอๆ ทำใ้ชาวนาสูญเสียที่ดินมากขึ้นทุกทีโดยที่รัฐบาลมิได้ช่วยเหลือในการปรับปรุงวิธีการผลิตให้แก่เกษตรกรมากนัก ปรากฎว่าชาวนาตกเป็นผุ้กู้ยืมมากขึ้นทุกที และรายได้ที่บรรดานายทุนที่ดินได้ก็นำไปซื้อสินค้านำเข้าฟุ่มเฟือย สรุปสภาพของชาวนาได้ว่าชาวนายังมีชีวิตดที่ต้องพึงพาเจ้าที่ดิน นายทุนเงินกู้แลสภาพอากาศแบบมรสุมที่เปบี่นแปลงอยู่ตลอดเวลา
           การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมของเขมรในช่วงที่ทุนนิยมต่างประเทศมีอิทธิพลนั้นก็าิได้มีส่วนช่วยจ้างแรงงานพื้นเมืองเท่ารที่ควร เพราะในการผลิตอาศีัยทุน เครื่องมือ แรงงานฝีมือ ตลอจนวัตถุดิบจากต่างประเทศเป็๋นส่วนใหย การผลิตสินค้าส่วนใหย่เป้ฯไปเพื่อสนองตลาดในเมืองและตลาดต่างประเทศ เขียนว สัมพันธ์เห็นว่าการที่ระบบเศรษฐกิจของเขมรต้องพึงพิงอยู่กับระบบเศรบกิจต่างประเทศมิใช่ทางแก้ปัญหาการอ้ยพัฒนาของชาติ เรพาะกลับจาะทำให้เกิผลร้ายแก่เศรษกบิจของเขมรเองอาทิ เช่น การเติบโตของอุตสาหรรมชาติอาจถูกจำกัดโยอิทะิพลของบริษัทต่างชาติซึ่งจะมีผลเสียต่อการจ้างงานแลมารตรฐานการครองชีพของประชากร อาจจะก่อให้เกิดการชะงักของการต้า การผลิตทางเกษตณ ภายในประเทศ และยิ่งไปกว่านั้นโดยลหัการแล้วผลของการพึ่งพิงอาจน้ำไปสู่ปัญหาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศก็ได้ เช่น การยอมรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศมักจะเป้ฯไปโดยมีเงื่อนไขที่จะให้ประโยชน์แก่ผุ้เป็นเจ้าของเงินทุนอย่งมาก เพราะไม่มีผุ้ใดหว่าพืชโดยไม่หวังผลการพึงพาต่างชาติอาจนำไปสู่การตกเป็นหนี้ต่างประเทศอยางหนกจนในที่สุดบรรดาผุ้ให้ความช่วยเลหืออาจเข้ามาีอิทธพลในประเทศทางการะมเืงและเศรษฐกิจได้
          อย่งไรก็ตามเป้ฯสิงที่ต้องยอมรับว่าในบรรดาปรเทศอินโดจีนนั้นมีเพียงเวียดนามเท่านั้น มีทรัยพกรค่อนข้างสมบุรณื ในขณะที่เขมรและลาวมีทรัพากรธรรมชาติจำกัด ประชกรน้อย ว฿่งเป้นอุปสรรคอย่างหนึ่งของการพัฒนา ส่วนอุสรรคอีกประการหนึ่งก็คือ ความสงลสุขในดินแดนนี้ยังหาได้บังเกิดไม่ ตราบใดที่ภาวะสงครามยังไม่หนมสิ้น การพัฒนาจะเกิดขึ้นไดอย่างไร การสงครามรังแต่จะนำมาซึ่งควมพิสาศย่อยยับของชีวิตผุ้คน ทรัพย์สิน และในที่สุก็คือ การทำลายประเทศของตนเอง ดังที่ได้เห็นจากเหตุการณืทุกวันนี้ก็คือ การอพยพหลบหนีของพลเมืองออกจากประเทศทั้งสาม มาพำนักในประเทศต่างๆ ในลักษณะของผุ้อาศัยเป็ฯที่น่าสมเพช หากยอมรับว่าแรงงานคืปัจจัยการผลิตที่สำคัญที่สุ โดยเฉพาะอย่างยิงแรงงานฝีมือแล้ว การอพยพของประชรออกจากประเทศอินดจีนก็คือความสูญเสียปัจจัยการผลิตที่สำคัญไปนั่นเอง เพราะผุ้ลี้ภยที่จะได้รับเลือกข้าไปยู่อาศัยในประเทศต่างๆ มักจะเป้นแรงงานที่มีความรู้แลมีฝีมือ นอกนั้นก็ถูกผลักดันให้กลับไปอยู่ในประเทศดั้งเดิมในที่สุ และการพัฒนาประเทศย่อมเป็นไปไม่ได้ถ้าาดแคลนแรงงาน ความไม่สงบและความสูญเสียที่เกิดขึ้นแก่ประเทศอินโดจีนน่าจะเป้ฯเตื่องเตือนสติให้กับประเทศอื่นๆ ในก๓ุมทิภาคเอเชียตะวนออกเแียงใต้ได้ว่าคราบใดที่ยังมีความแตกแยกภายในประทเศ การบริหารงานไร้ประสทิะิภาพมความทุจริในการหน่ยงาน ตลอดจนมีความมุ่งร้ายประเทศเพื่อบ้านปล้ว วาระสุดท้ายของประเทศก็จะมาถึงในเวลาอันไม่ช้า....(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ.ญาดา ประภาพันธ์, 2538.)
         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...