วิสัยทัศน์อาเวียน 2020 นั้น เกิดจากคำประกาศของผุ้นำรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน เมื่อคราวการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป้ฯทางการ ครั้งที่สองในโอกาศครบรอบ 30 ปี ของอาเซียน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1997 ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อกำหนดป้เาหมายวิสัยทัศน์ของอาเซียนในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยมองว่า ณ ขณะนั้นอาเวียนมีความพร้อมแล้ว ทั้งด้านศักยภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางการเืองภายในประเทศ ความมั่นคงทางการเมืองระหว่งประเทศและความเติบโดตก้าวหน้าทงสังคม ด้วยความมั่นใจในความแข็งแกร่งและศักยภาพของตนเช่นนั้น ผุ้นำชาติอาเซียนจึงได้วางแลกการไว้ สามหลักการเพื่อทำให้อาเซีนนบรรลุในวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 กล่าวคือ
1 วงสมานฉันท์แห่งประชาชาิเอเซียนตะวันอกเฉียงใต้
2 การมีหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต
3 มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภานอก
4 การมีชุมชนที่สังคมเอื้ออาทรต่อกัน
ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซีนตรั้งที่เก้า ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเวีย ผู้นำอาเซียนได้ตอบสนองต่อการบรระลุวิสันทัศน์อาเซียนเพิ่มเติม โดยได้ลงในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเวีนฉบับทีสอง หรือ Bali Concord II เห็นชอบให้มการจัดต้องประชาคมเาเวียน ภายใน ค.ศ. 2020 ประกอบด้วยสาด้านหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ ปละประชาคมสังและวัฒนธรมอาเวียน อยางไรก็ดี ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามปฏิญญาเซบูด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเวียน 2015 เพื่อให้อาเวียนสามารถปรับตัวแงะจัการกับประเด็นท้าทายของทุกมิติ ในสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่งรวดเร็ซ หลงจากนั้นอาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมอมเซียนขึ้น ซึ่งได้รับรองโดยผุ้นำอาเวีนเมื่อการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ 14 ที่ประเทศไทย
แม้ว่าผุ้นำประเทศอาเซียนได้ยอมรับวิสัยทัศน์อาเวียน 2020 ซึ่งได้วาดภาพอาเซียนที่เป็นประชาคมสมานฉันท์อันมีพลวัตรต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกขึ้น ในความเป็นจริงนั้นอาเซียนยังต้องเผชิญกับความท้าทายอีกมากว่าที่จะสร้างสิ่งที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ได้
- ความท้าทายด้านสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนต้องอาศัยความมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นอย่างมาก ปัจจุบันพลเมืองอาเซียนยังขาดความรุ้สึกความเป็ฯเจ้าของและยังไม่มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจการอาเซียนมากนัก โดยปรกติผุ้ที่มีส่วนร่วมมส่วนใหญ่คือผุ้นำประเทศ รัฐมนตรีหรือเจ้าหน้าที่หน่วยราชการเท่านั้น
- ความท้าทายด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน
ก.การสร้างค่านิยมร่วมกัน เนื่องจากความหลากหลายของวัฒนธรรมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอาเวียน และากรที่แต่ละประเทศยังไม่มุ่งไปสู่การสร้างผลประโยชน์ร่วมกันของประชาคมอาเซียน อย่างชัดเจน ส่วนหนึ่งของปัญหาเกิดจากการที่ระบบสถาบันของอาเวีียน ที่จะช่วยส่งเสริมค่านิยมอาเซียนยังอ่อนแอ โดยเฉพาะสำนักเลขาธิการอาเซียน
ข. การที่ยังไม่มีความไว้เนื้อเชื่อใจกน ระหว่งประเทศสมาชิกอาเวียน เนื่องจากประเทศต่างๆ ยังอยู่ในสภาพที่ต้องแก่งแย่ง ชิงผลประโยชน์กัน เช่น ปัญหาข้อพิพาทเดี่ยวกับพรมแดน การแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรทะเล ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดความตึงเครียดในทะเลจีนใต้
ค. มีประเด็นของความอ่อนไหวสุงในแต่ละประเทศสมาชิกหรือระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน ซึ่งสร้างข้อจำกัดทำให้กำไกที่กำหนดไว้ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ แช่น สิทธิมนุษยชนในประเทศเมียนมาร์ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองในไทย เป้นต้น
- ความท้าทายด้านเศรษฐกิจ
ก.วิกฤตเศราฐกิจปี 1997 ได้ส่งผลกรทบต่อ การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราการเจริญเติบโตทางเสณาฐกิจ เป้ฯอย่างมกา ซึ่งจจุดนี้ได้บ่นทอน เป้าหมายของวิสัยทัศน์อาเซีน 2020 จะเห้ฯได้ว่า กลไกใหม่ๆ เช่น ควาร่วมมือทางการเงินระหว่างสมาชิกอาเซียน นอกจากเชื่องช้า ไม่ทันการ ยังไม่มีผลในการปฏิรูปเศรษบกิจของประเทศนั้นนๆ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในเวลาต่อมา ย่ิงทำให้อาเวียนเป้นสังคมที่เื้ออาทรกันน้อยลงด้วย เพราะวิกฤตกรเศรษฐกิจได้ก่อให้เกิผลกระทบต่อคนยากจนและคนที่ด้อยโอกาส โจทย์ที่ท้าทายสำหรับการพัฒนาทางเศราฐกิจ คือ จะทำอย่างไรให้อาเซยนมีพัฒนาการทางเศราฐกิจที่มั่นคง ยังยืนและเป็นธรรมต่อประชาชนทุกภาคส่วน
ข. ประเทสมชิกยงคึงปกป้องผลประดยชน์แห่งชาติของตนเป้นหลัก และการหารายได้เข้าของประเทศสมาชิกมีลักษณะเหมือกนักน คือ รายได้หลักของประเทศมาจากการเก็บภาษีศุลกากรสินค้า เข้า-ออก ซึ่งการรวมกลุ่มเป็ฯประชาคมอาเซียนให้ยกเลิกการเก็บภาษีระหว่างกันหรือเก็บภาษีให้น้อยลง แต่ประเทศสมาชิกไม่สามารถสละรายไ้ส่วนนี้ได้ เนื่องจากเป้นเงินที่ต้องนำมาพัฒนาประเทศ การรวมกลุ่มเพื่อให้เกิดการต้าเสรีระวห่างประเทศในภาคีจึงทำได้ยาก นอกจากนั้นประเทศสมาชิกยังผลิตสินค้าเหมือนๆ กัน ทำให้ต้องแข่งขันกันเองในตลาดโลก อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดการซื้อขายระหว่ากันเองในหมู่สมาชิก
ค.ประเทศในอาเซียนพยายามพัฒนาอุตาสาหกรรมภายในประเทศ เพื่อทดแทนการนำเข้า แต่ละประเทศพยายามส่งสริม พัฒนาและคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศตนโดยการใช้กำแพงภาษีกรือโควต้า ซึ่งสวนทางกับหลักการในการรวมกลุ่มและตลดการต้าเสรี ดังนั้นน ข้อตกลงใน AFTA ของอาเซียนหลายข้อ จึงยังไม่ได้รับการปฏิบัติ...(wiki.kpi.ac.th/../วิสัยทัศน์อาเซียน_2020)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น