วันศุกร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia : myanmar

              หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พม่าต้องฟื้นฟูประเทศให้พ้นจากความเสียหายต่างๆ ต้องซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม การปรับปรุงอู่ต่อเรือ ฯ ปัญหาทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจรุมล้อมพม่าอยู่ทางด้านเศรษฐกิจนั้น ปรากฎว่าเกษตรกรขาดแคลนเงินทุนอยู่ที่วไป ปัยหาโจรผุ้ร้ายชุกชุม ทางด้านการเมืองนั้นปรากฎว่าแนวความคิดแบบคอมมิวนิสต์เร่ิมจะแผ่ขยายตัว อย่งไรก็ี ในค.ศ.1948 เมื่อพม่าได้เอกราชอย่าแท้จริง รัฐบาบของอูนุพยายามใช้นโยบายเศณาฐกิจและการเมืองแบบผสมระหว่างทุนนิยมและสังคมนิยมมีลักษณะเป็นรัฐสวัสดิการมีการวางแผนจากส่วนกลางบ้าง โยอาศัยความช่วยหลือจาต่างประเทศในด้านผุ้เชี่ยวชาญ พม่ต้องการฟื้นฟูทั้งทางเษตรกรรมและอุตสาหกรรมให้ทัดเทียมกัน โดยรัฐบาจะเข้าช่วยเหลือท้งทางการลงทุนตลอดจนเข้าไปดำเนินการผลิตด้วยตนเอง ในช่วง ค.ศ. 1948-1950 ปรากฎว่าภาวะทั้งเศรษฐกิจและการเมืองของพม่าสับสนปั่นป่วนมีการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองอยุ่เกือบตลอดเวลา แต่ในที่สุดการเา่ิมพัฒนาอยาง ได้เร่ิมขึ้นเมื่อมีโครงกรพัฒนาเกิดขึ้น
             การพัฒนาในระยะเริ่มแรกของพม่านั้น ให้ความสำคัญแก่บทบาทของเอกชนมาก โดยเฉพาะอย่งยิงทางด้านการออมและากรลงุทน ซึง่เชื่อว่าภายใต้แรงจูงใจที่รัฐให้จะทำให้เอกชนมีการใช้จ่ายลงทุนในระดับที่น่าพอใจ นอกจากน้น รัฐบาลยังยอมรับความขวยเหลือจากต่างประเทศเป็นจำนวนมากมาย แม้ว่าความตั้งใจเติมของพม่าืชือการไม่ยอมพึงพาต่างประเทศประมาณว่า 1 ใน 3 ของายจ่ายขงอรัฐในช่วงนี้มาจากต่างประทเส อย่างไรก็ตา เมือถึงระยะ ค.ศ. 1959-60 ปรากฎว่าสภานกาณ์ต่างๆ ไม่เป้นตามที่รัฐบาลหวังไว้ เอกชนยังคงลงทุนต่อำว่าที่รัีฐคาดคะเนเอาไว้มาก
           ในกาพัฒนาของพม่าในระยะเร่ิมแรกของทศวรรษนี้นั้นพยาบยามพัฒนาทั้งสาขาเกษตรและอุตสาหกรรมไปพร้อมๆ กัน ซึ่งเป็นลักษณะของการพัฒนแบบสมดุล โดยรัฐบาลเข้าควบุคมในการเำเนินงานเศรษฐกิจโดยตรง เช่น การกำหนดราคาสินค้าการเกษตรคงที่ราคาเดียวตลอดปีแก่เกษตรกรเป้นต้น โดยหลักการแล้วการแทรกแซงของรัฐมีผลให้เกิดการจัดทรัพยกรที่ผิดพลาดของสังคม เพาระราคามิได้เป็นกลไกในการตัดสินปันญาของตลาดหรือการแบ่งสรรทรัพยากรอีกต่อไป
         อย่างไรก็ตาม กล่าวดดยสรุปได้ว่าในทศวรรษ 1950 นั้น เศรษบกิจของพม่ามีอัตรการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับที่ดีพอสมควรเมื่อเทียบกับระกับหลังสงครามโลกใหม่ๆ แต่ยังต่ำกว่าระดับก่อนสงคราม คือ  GDP ของพม่าในช่วง คซศ. 1949-1950 เป็นเพียง 70 % ของช่วง ค.ศ. 1938-1939 ในช่วงของการพัฒนาในทศวรรษ 1950 นั้น พม่าขายข้าวได้เป็นจำนนมากประกอบกับราคาข้าวที่สูงเนื่องจากความต้องการมีมาก เพราะในระยะนั้นมีสงครามเกาหลีและสงครามอินโดจีน ทำให้รายได้ของประเทศพม่ามีจำนวนมาก แต่ทว่าต่อมาหลายประเทศได้ฟื้นฟูการผลิตของตนได้ ทำให้พท่าขาดรายได้จากการต้าข้าวมากและเกิดภาวะการต้าขาดดุล จำนวนสำรองเงินตราของพม่าลดลง ซึงมีผลกระทบต่อแผนพัฒนาที่ตั้งไว้ เพราะเมื่อสำรองเงินตราลดลงย่อมเกิดอุปสรรคในการสั่งสินค้าเข้า
       
 ในปลาทศวรรษ 1950 ปรากฎว่าการเมืองในพม่าถึงจุดวิกฤต ความล้มเหลวของเศรษบกิจในตอนปลายทศวรรษนี้ยังผลให้เกิดความไม่พอใจทั่วไป ทหารเริ่มเข้ามามีบทบาทในการแทรกแซงทางการเมือง และในที่สุดรัฐบาลพลเรือนของอูนุก็ต้องพ้นอำนาจ นายพลเนวินซึ่งทำการปฏิวัติรัฐบาลเดิมได้ตั้งรัฐบาบโดยมีสภาปฏิวัติแทนรัฐสภา และในยุคนี้ระบบเศรษบกิจถูกชี้นำโดยรัฐโดยตรง รัฐบาลควบคุมกิจการต่างๆ ทางเศรษบกิจ มีการวางแผนส่วนกลางเต็มที่มีการโอนกิจการต่างๆ ทั้งการต้า การธนาคาร ทั้งของชาวต่างประเทศและชาวพื้นเมืองมาเป็นของรัฐ และลแ้วพม่าก็ก้าวไปสู่การพัฒนาประเทศภายใต้ระบอบ "สังคมนิยแบบพม่"จะเห้นได้ว่าบทบาทของเอกชนจะต้องถูกจำกัดภายใต้ระบบเศราฐฏิจดังกล่าวนี้ ความเสรีในการตัดสินใจดำเนินะูรกรรมต่างๆของฝ่ายเอกชนไม่อาจเกิดได้แน่นอ และแรงจูงใจต่างๆ ทางเศษบกิจย่อมสูญสิ้นไป
          พม่าในทศวรรษ 1960 ในทศวรรษนี้ ภายใต้การนไของเนวินนั้น ไม่อสจช่วยให้ระบบเศรษบกิจฟื้นตัว สถานการณ์กลับเสือมโทรมลงไปอี สถานการณืการขาดแคลนข้าวเกิดขึ้นในพม่าทั้งๆ ที่เคยเป็นประเทศผุ้ผลิตที่สำคัญของโลก ตลาดมีดของสินค้าตลอดจนการลักลอบนำสินค้าออกต่างประเทศเกิดโดยทั่วไป เศรษฐกิจทรุดโทรมลงทั้งทางด้าน เกษตรกรรมและอุตาสหกรรม ในขณะที่มีการเพิ่มของประชกร ซึ่งย่อมทำให้รายได้ต่อหัวของประชากรต่ำลบ การส่งสินค้าออกต่างประเทศลดลงตลอดเวลา และภายใต้สภาพเช่นนี้ภาวะดุลการต้และการชำระเงินย่อเลวลงดุลการต้าของพ่าขาดดุลติดต่อกันเกือบตลอดทศวรรษ 1960 ยกเว้นปีแรกๆ เท่านั้น
          นายพลเนวินมได้นำประเทศไปสู่การพัฒนาแตกลับิ่งทำให้ประเทศทรุดโทรมลงอบางมาก ทำให้ปรเทศพม่าซึ่งเคยอุดมสมบูรร์ในอดีตถึงกับต่องมีกาปันสวนสิค้าแผนเศรษบกิจตลอดจนหลัการที่สวยงามของเนวินที่จะทำให้เศรษฐกิจมีการพัฒนาอย่างได้สัดส่วนตามที่วางแผยไว้หาได้เกิดขึ้นไม่ ความเท่าเทียมโดยความยากจนยิงกว่าเดิมของชาวพม่าเช่นนี้อาจจะเลยร้ายย่ิงกว่าควาไม่เท่าเที่ยมที่เป้นอยู่ตั้งเดิมเสียอี การมุ่งแก้ไขความไม่เท่าเทียมของพลเมืองโดยการยึดโอนกิจการต่างๆ มาเป็นของรัฐ โดยละเลยกลไกระคาเสียและใช้การวางแผนส่วนกลางตามแบสังคมิยมนั้นมิได้ช่วยให้พม่ามีสภาพกีขึ้นตรงข้ามกับเกิดภาวะชะงักงันของเศรษบกิจ การไม่ต้องการพึ่งพิงทุนนิยมจากาภยนอก็เป็นส่ิงที่เป็นไปไม่ได้สำหรับกรณีพม่า เพราะเมือพม่าไม่ต้องกาพึงพาฝ่ายทุนนิยม ในที่สุดพม่าก็หันไปอิงกับฝ่ายสังคมนิยม
         กล่าวได้ว่าทั้งรัฐบาบสวัสดิการเสรีของอูนุ และรัฐบาสังคมนิยมของเนวิน นั้นมิได้มีการวางแผนเศรษฐกิจอย่างจริงจัง แผนส่วนใหญ่เป็นแผนระยะสั้น กรรมการวางแผนหรือกรรมการปฏิบัติงานเป็น
กรรมการเฉพาะ เมื่อหมดงานก็ยุบเลิกไปจึงไม่มีกาตติดตามผลงานที่วางแผนไว้ การวบอำนาจเกินไปนั้นมีผลให้การควบคุมงานทำได้ไม่ทั่วถึง และไม่มีประสิทธิภาพ การวางแปนจากส่วนกลางของนายพลเนวินก็เป็นแต่เพียงการโอนงานให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทำแทนเอกชนให้ภาคเศรษกบิกจเท่านั้น มีการตงหน่วยงานของรับอย่างมากมายแต่การดำเนินงานไม่มีการประสานงานที่ดี รัฐพยายามโอนกิจการธนาคาร การต้าและอุตสาหกรรมมาเป้นของรัฐ รวมท้งการโอนที่ดินด้วย รัฐจึงกลายเป็นนายทุนใหญ่รายเดี่ยวของประทเศ และเป้ฯนายทุนที่มีอำนาจเปด็จการแต่ไร้ประสิทธิภาพ จเกิ็นได้จาการโอนกิจการธนาครานั้น ความขาดประสิทธิภาพของรัฐบาลทำให้ประชาชนภอนเงินออกไปได้อ่กนเป็นเจำนวนมาก ส่วนการโอนการต้าแลอุตาสหกรรมล้วนล้มเหลว เกิดตลาดมืด และเกิดเงินเฟ้อตลอดเวลา การกระทำของรัฐไม่ช่วยให้ฐานะทางความเป็นอยุ่ของประชาชนดีขึ้นเลย ผุ้ผบิตาภยใต้กาบังคัขาดแรงจุงใจในการผลิต ย่อมลดการผลิตลง ระบบปันส่วนสินค้าดดยรัฐไม่ได้ผลเพราะราคาในตลาดมืดสุงมาก ผุ้ได้รับโควต้าสินค้าทั้งเจ้าของร้านและลูกค้าต่างแอบเอาสินค้าไปขายต่อในตลาดมือเพราะได้กำไร แสดงให้เห็นว่าจุดมุ่งหมายของรัฐบาลที่จะขจัด "กำไร" ซึ่งถือว่าเป็นตัวการท่ีทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในระบบสังคมนิยมนั้น ไ่ประสบผลสำเร็จและแสดงถึงการควบุคมที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐ ดังนั้น ปัญหาความขาดแคลนสินค้าย่อมแก้ไขมิได้ชี้ไใ้เห็นว่ากลไกของรัฐไม่อาจทำงานได้ก็เท่ากบกลไกตลาด เมื่อเปรียบเทียบสภานการณ์ใช่วงก่อนการเปลี่ยนระบบกรปกครองกับช่วงหลังของการปกครองใระระบบเผด็จการ หรือเปรียบเทียบช่วงก่อนการได้รับอิสรภาพกับช่วงลหังการได้อิสรภาพ
            อย่างไรก็ดี ในช่วงทศวรรษ 1960 นี้กล่าวได้ว่าพม่ายายามให้ความสนใจชนบทมากขึ้นมีการให้แรงจูงใจเกษตรกรด้านสินเชื่อด้วยการตั้งสหกรณ์การเกษตรเอนกประสค์กสิกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์จะกู้เงินได้โดยง่ายและดอกเบี้ยเงินกู้ก็ต่ำนอกจากนั้นรัฐบาลพยายามเพ่ิมราคาขึ้นต่ำ ของขาวเปลือกแต่ยังต่ำกว่าราคาตลาดมือปรากฎว่าชาวนามีการขอกุ้เงินขากสหรกณ์เพ่ิมมาก แต่การขอกุ้เงินเพิ่มจำนวนมากขึ้นในกลางทศวรรษ 1960 นั้น มิได้หมายความว่าผลิตผลจะเพิ่มขึ้น ดังนั้น เมื่อจำนวนเงินเพิ่มโดยผิตผลไม่เพิ่มภาวะเงินเฟ้อจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ การที่ผลิตผลมไม่เพิ่มมองได้สองนัยคือ ชาวนานำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือผลิตผลส่วนที่เพิ่มนั้นถูกลักลอบนำไปขายในตลาดมือ เรพาะระบบการควบุคมของรัฐไม่รัดกุม
             หากพิจารณาให้ถ่องแท้แล้วการที่พม่าพยายามปิดประเทศ ไม่ยอมรับความช่ววเบลหือจากตะวันตก แต่กลับนำเอาวิุีทางแบบสังคมนิยมบัคับมาใช้นั้น อาจมิใช่ทางเลือกที่ถูกต้งนัก เพราะพม่าขาดแคลนปัจจัยการผลิตทั้งทางด้านทรัพยากรมนุษย์ วัตถุดับที่สำคัญในการอุตสาหกรร เทคดนโลยี ตลอดจนเงินทุนเพื่อพัฒนา การพึงพาต่างประเทศในระดับที่เมหาสมอาจมีประโยชน์แก่พม่ามากว่าการโดเดี่ยวตนเองจากโลกภายนอก อนึง ประเทศพม่าเคยเป้นปะเทศที่อุดมสมบูรณ์อาจเท่ากับหรือมากว่าประเทศไทย ประชาชที่อดอยากยากจนที่สุดก็ไม่น่าจะมีสภาพเลวร้ายไปหว่าไทย การมีชนกลุ่มน้อยชราวต่างชาติเข้ามากอบโดยผลประดยชน์ไปจากพม่านั้น ไทยก็ประสบปัญหาเช่นนี้เหมือนกัน แต่ไทยมีทางเลือกที่แตกต่างออกไป การเอาระบบสังคมนิยมมาใช้ในพม่าอาจเป็นข้อผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง ทไใ้เกิดผลต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ เมื่อการลงทุนของนายทุนเอกขนทั้งขชาวต่างชาติและขาวพื้นเมืองยุติล
 และโดยการจัการที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐประกอบกับการขาดแคลน เทคโนโลยีและทุน ย่อมทำหใ้การผลิตตกต่ำลง การจ้างงานย่อมน้อยลง รายได้ทั้งของประเทศและประชาชนลดลง และระบบความเสมอภาพเช่นที่พม่าต้องการกลับเป็นการทำร้ายประชาชนของตนเอง ทั้งยังปรากฎว่าในที่สุดแล้วพม่าต้องพึ่งพาประเทศอื่น แม้จะมิใช่ฝ่ายโลกเสรีก็ตาม
                ในปัจจุบันนี้พม่ายังคงประสบภาวะยุ่งยากซึ่งเป้นปัญหาเรื้อรังคือ ปัญหาของชนกลุ่มน้อย ซึ่งยังต้องการชิงอำนาจจากรัฐบาลอยุ่อันมีผลให้ความสงบภายในของพม่ามีน้ยอเมื่อความสงบภายในไม่ม่ี การพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษบกิจการเมืองและสังคมยากที่จะสำเร็จ ในขณะที่ประเทศไทยไม่มีปัญหาคนกลุ่มน้อยมาเท่าพม่า แต่ก็มีปัญหารหลายๆ อย่างที่เป็นอุสรรคการพัฒนประเทศเช่นกัน เช่นการตกเป็นหนี้สินต่างประเทศอย่างมาก เป็นต้น....( ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์. 2538.)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...