ASEAN Free Trade Area (1992)

             ASEAN Preferential Trading Arrangment(1977)
             Preferential Trade Agreement : PTA  หมายถึง ความร่วมมือในเฉพาะประเด็นที่มีความสนใจร่วมกันเป็นบางส่วนเท่านั้น อาทิ โครงการความร่วมมือเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาเซียน ที่เปิให้บริษัทเอกชน 2 ฝ่าย ที่เป็นสมาชิกอาเซียนด้วยกันและต้องการทำหารต้าสินค้าที่อยุ่ในโครงสร้างการผลิตเดียวกัน  ดังนั้น ประเทศทั้ง 2 ฝ่ายหรือแต่ละฝ่ายจะเลือกเก็บอากรในอัตราต่ำหรือร้อยละ 0 เมื่อมีการค้าสินค้าระหว่งกันตามขั้นตอนโครงสร้างการผลิตสินค้านั้น หรือเป็นการให้สทิะิประดยชน์ในบางสินค้าด้วยอากรขาเข้าที่ต่ำเป็นพิเศษของประเทศที่พัฒนาแล้ว แก่ประเทศกำลังพัฒนา และประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด

           ASEAN Preferential Trading Arrangment เป็นข้อตกลงทางการค้าฉบับแรกที่ปูทางสู่การเป็นตลาดเดียวอาเซียน ความตกลงการค้าสิค้าของอาเซียน ASAEN Trade in Good Agreement หรือ ATIGA เป็นความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน AEC Blueprint ที่ต้องการให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้า บริการการลงทุน แรงงานที่มีทักษะ และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เป็นความตกลงที่มีเกี่ยวข้องกับความตกลง สินค้าหลายฉบับที่อาเซียนเคยให้สัตยาบัน อาทิ
              - การตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน
              - การใช้ความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน ปี 1992
             - ความตกลงด้านศุลกากรอาเซียน ปี 1997 
             - กรอบความตกลงในข้อตกลงยอมรับร่วมกันของอาเซียน ปี 1998
             - กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน ปี 2000
             - กรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน 2004
             - ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน ปี 2005 
             จากลำดับขั้นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ จะเห็นได้ว่า ความร่วมือเฉพาะประเด็น เป็นสิ่งแรกในการร่วมมือทางเศรษฐกิจ และในขั้นต่อมา คือ เขตการค้าเสรี  และสหภาพศุลการกร เพื่อจะดำเนินการไปสู่การเป็นตลาดเดียว และ ในขั้นต่อไปคือการร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในขั้น สหภาพเศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มในลำดับที่สุงสุดคือ สหภาพทางการเมือง หรือการรวมกลุ่มเหนือรัฐซึ่งเป็นลำดับสูงสุดของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ซึ่งในลำดับต่อไปจะกล่าวถึงเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มที่สำคัญอีกขั้นหนึง
              Free Trade Area เขตการค้าเสรี เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการต้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควต้า) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่หมด) ที่ทำการต้าขายระหว่างกัน
             นโยบายการต้าเสรี มีรากฐานมาจากทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ที่เสนอว่า "แต่ละประเทศควรจะเลอกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบโดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนำสินึ้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอืนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ ถึงแม้ว่าประเทศหนึ่งจะอยุ่ในฐานะเสียเปรียบอีกประเทสหนึ่งในการผลิตสินค้าทุกชนิดก็ตามประเทศทั้งสองก็ย่อมจะทำการต้าต่อกันได้ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่เมื่อเปรียบเกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีประเทศหนึ่ง" 
            นโยบายการต้าเสรีไม่สนับสนุนการเก็บภาษีศุลการกรในอัตราที่สูบงและขจัดข้อบังคับต่างๆ ทีกีดกันการต้าระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศที่ใจช้นโยบายการต้าเสรีจะมีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้
             - ดำเนินการผลิตตามหลัการแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ เลือกผลิตแต่สินค้าที่ประเทศนั้นมีประสทิธิภาพในการผลิตสุงและมีต้นทุนการผลิตต่ำ

             - ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน เพื่อคุ้มครองช่วยเหลืออุตสาหกรรมในประเทศแต่อย่างใด คงเก็บแต่ภาษีศุลการกรเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
              - ไม่ให้สิธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง มีกาเก็บภาษีอัตราเดียวและให้ความเป้ฯธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่านๆ กัน
              - ไม่มีข้อจำกัดทางการต้า ที่เป็นอุปสรรคต่อการต้าระหว่างประเทศ ไม่มีการควบคุมการนำเข้าหรือการส่งออกเที่เป้นอุสรรคต่การต้าระหว่างปรเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่จะเป็ฯอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ศํ๊ลธรรมจรรยาหรือความมัี่นคงของรัฐเท่านั้น
              เขตการต้าเสรี หมายถึง การวมกลุ่มเศราฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงลงให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็ฯ 0 และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการต้าเรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า ดดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการต้าเสรีในระยะหลังๆ นั้น รวไไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ และการลงทุนด้วย
             เขตการต้าเสรีที่สำคัญในปัจจุบันได้แกี NAFTA และ AFTA และ๗ระนี้ ประเทศสหรับอเมริกา อยุ่ในระหว่างการเจรจาทำเขตการต้าเสรีในภูมิภาคอเมริกา โดยตั้งเป้าหมายที่จะให้การเจรจาเสร็จสิ้นก่อนปี พ.ศ. 2548 รูปแบบเขตการต้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ
            1) สหภาพศุลกากร หมายถึง การรวมตัวกันทางเศณาฐฏิจในระดับที่ลึกและหว้างกว่าเขตการค้าเสรี เพราะมีลักษณะที่เป้นตลาดร่วม ซ่งไม่มีกำแพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกในสหภาพศุลกากรเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน กับทุกประเทศนอกกลุ่ม สหภาพศุลกากรจึงทำให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน สหภพศุลกากรที่สำคัญ คือ สหภาพยุโปร และ MERCOSUR
          2) พันธมิตรทางเศณาฐฏิจ หมายถึง ความร่วมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมีกรอบความร่วมมือทีกว้างขวางเขตการค้าเสรี อยางไรก็ดี ความเข้าใจเกี่ยกับ CEP หรือ ขอบเขตอาจจะแตกต่างไป โดยทั่วไป ครอบคลุมความร่วมมือทางเศราฐกิจทังในด้านการต้า สินค้า บริการและการลงทุน และแบ่งอย่างหว้างๆ ได้ 2 ประเภท คือ ที่มีเขตการต้าเสรี เป้นหัวใจสำคัญ และรวมไปถึงความ่วมมือทางเศราฐกิจด้านอื่นๆ ด้วยและ ที่ไม่มีการทำเขตการต้าเสรี แต่อาจมีการลดภาษ๊ศุลกากรที่เป้นอุปสรรคต่อการต้าด้วย รวมทั้งมีการร่วมมือกันในด้านอื่นๆ อย่างกว้างขวาง 
          อย่างไรก็ตาม เขตการค้าเสรีและ สหภาพศุลกากร ต่างก็เป้ฯกระบวนการในการผนึกความร่วมมือ และหรือการรวมตัวทางเศรษฐกิจ และเป็นปัจจัยเร่งการเปิดเสรีที่ก้าวไปเร้วกว่าการเปิดเสรตามข้อผูกพันของ WTO รวมทั้งเป้ฯการเตรียมการเปิดเสรีตามเป้าหมายภายใต้ปฏิญญาโบกอร์ของ เอเปค ซึ่งกำหนดให้ประเทศสมาชิกที่พัฒนาแล้วเปิดเสรีอย่างเต็มที่ภายใรปี ค.ศ. 2010  และประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาเปิดเสรีภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ.2563)

         ในที่นี้การใช้คำว่าเขตการค้าเสรีนั้น หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ไกล้ชิดกันเป็นพิเศษในลักษณะที่เป็นการกล่าวอย่างกว้างๆ คลุมไปทั้ง เขตการค้าเสรี, สหภาพศุลการกร และพันธมิตรทางเศรษฐกิจ ส่วนในความหมายที่ต่างกันคือ ความร่วมมือในรูปแบบนั้นๆ เป็นกรณีๆ ไป
          อย่างไรก็ดี เขตการต้าเสรีนั้น ในทางปฏิบัตเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากในระดับหนึ่งและหากต้องการให้ได้ผลจริงจัง ก็จะต้องพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการหลบหนีภาษีในรูปแบบต่างๆ เนื่องจากประเทศนอกกลุ่มจะพยายามส่งสินต้าเข้าทางประเทที่ทำข้อตกลงเขตการต้าเสรี ที่มีภาษีต่ำไปสู่ประเทศมาเลเซีย แต่ประเทศไทยเก็บภาษีศุลการกรการนไข้าสิ่งทอเพียง 10 % แล้วนำปแปรรูปเล็กน้อย เช่น บรรจุห่อใหม่เพื่อแลปงสภาภให้เป็นสินค้ประเทศไทยแล้ว นำไปขายในประเทศมาเลเซียอันจะทำให้เขาเลี่ยงภาษีได้ 20% กล่าวคือ เขตการต้าเสรีจะต้องใช้ทรัพยารกรของภาครัฐเป้ฯจำนวนมาก เพื่อกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับแหล่งงกำเนินสินค้าที่รัดกุม ซึ่งทางออกที่ดีที่สุด คือ กาแแลงภาษีศุลการกรของประเทศในเขตการค้าเสรีให้เท่ากันทั้งหมด หรือลงให้เป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็วนั่นเอง
           เขตการต้าเสรีสะท้อนแนวคิดสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ทีว่า "ประโยชน์จากการต้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศต่างๆ ผลิตสินค้าที่ตนมีต้นทุนในกาผลติต่ำที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แล้วนำสินค้าเหล่านั้นมาขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแห่งความเป้นจริงนั้น ประโยชน์สุงสุดดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเข้าและมีการใช้มาตรการกีดกันทางการต้าต่างๆ ซึ่งส่งผลบิดเบือนราคาที่แท้จริงของสิค้า และทำให้การต้าขายไม่เป็นไปอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ
           พร้อมกันนี้ เขตการต้าเสรีถือเป็นเครื่องือทางกาต้าสำคัญที่ประเทศต่างๆ สามารถใช้เพื่อขยายโอกาสในการต้า สร้างพันธมิตรทางเศราฐกิจ พร้อมๆ กับเพ่ิมความามารถในการแข่งขันด้านราคาให้แก่สนค้าของตน เนื่องจากสินค้าที่ผลิตใน "เขตการต้าเสรี"จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราที่ต่ำกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่สมาชิก จึงทำให้สินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มได้ เรปียบในด้านราคากว่าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่ม...(www.th.wikipedia.org/../เขตการค้าเสรี)
           ASEAN Free Trade Area : AFTA เขตการค้าเสรีอาเซียน แนวทางการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนปรากฎเป็นรูปะรรม จากากรประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ค.ศ. 1976 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป้นจุดเริ่มต้นของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ เพราะหลังจากนั้น ก็มได้มีโครงการต่างๆ มากมาย เช่น โครงการอุตสาหกรรมอาเซียน AIP โครงการแบ่งผลิตทางอุตาหกรรมอาเวียน AIC โครงการร่วมลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาเซียน AIIV เป็นต้น จนมาถึงแนวความคิดในการจัดตั้งเขตการต้เสรีอาเวียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 3  เมืองมะนิลา ในการประชุมครั้งนี้ มีการหารือถึงความเป้นไปได้ในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเวียน แต่ประเทศอินโดนีเซีย ได้คัดค้านการจักตั้งดังกล่าวจึงทไใ้ข้อเสนอนี้ตกไป แต่อย่างไรก็ดี ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประเทศสิงคโปร์ นายอาฯันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีประเทศไทยในขณะนั้นได้เสนอ เรื่องการจัดตั้งเขตการต้าเารีอาเซียนอีกครั้งในครั้งนี้ผุ้นำอาเซียนได้เห็นชอบกับแนวความคิดดังกล่าว จึงได้มีการลงนามจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียนขึ้น อย่างเป็นทางการ
       
 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ เขตการต้าเสรีอาเซียน เกิดจากคามต้องการร่วมมือทางกาต้าจากประเทศต่างๆ ในอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ และเพิ่มอำนาจในกาต่อร่องทางด้านเศรษฐกิจในเวทีโลก พร้อมกันนี้อาเวียนยังมีความต้องการที่จะดึงดูดประเทต่างๆ ให้เข้ามาลงทุน เพื่อความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องภายในภุมิภาค โดย AFTA นั้นจะทำให้การต้าขายสินค้าในอาเซียนเป็นไปอย่างเสรี มีการคิดอัตราภาษีระหว่างกันในระดับที่ตำ่ และปราศจากข้อกำหนดทางการต้า อันจะส่งผลให้ประเทศสมาชิกจะมีต้นทุนการผลิตสินค้าที่ลดลง อีกทั้งเป็นการเพ่ิมปริมาณทางด้านการต้าในภูมิภาคให้มีมากขึ้น ทำให้อาเซียนเป็นภุมิภาคที่มีการเติลโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและมั่นคง
         กรอบการดำเนินงาน อาเซียนดำเนินการจักตั้งเขตการค้าเสรีอาเวียน ดดยมุ่งเน้นไปที่การขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งหลายภายในภูมิภาค ทั้งในด้านภาษีและเครื่องกีดขวางทางการต้าต่างๆ ที่มิใช่ภาษี ยกตัวอย่เช่น การจำกัดโควต้าการนำเข้า เป้นต้น โดยจะยกเว้นแต่เพียงสินค้าที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิต และสฺปะ เท่านั้น ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นมาตรการทางภาษี โดยอาเซียนมีเป้าหมายในการลดภาษีในบัฐชีลดภาษี ให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายใรปี ค.ศ. 2002 และตั้งเป้าให้เลหือร้อยละ 0 ภายใน ค.ศ. 2010 ..(wiki.kpi.ac.th/../เขตการค้าเสรีอาเซียน)
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)