ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS (1995)

             ภาคบริการเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่และีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วต่อเศรษบกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยมีส่วนแบ่งระหว่างร้อยละ 40 ถึงร้อละ 63 ของผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ GDP สมาชิกอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า ควรมีการขยายความร่วมมือและการเปิดเสรีการต้าบริการภายในอาเซียนด้วยกันเพื่อเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้หใ้บริการในภูมิภาคเดียวกัน
            ตามบทบัญญัติในข้อที่ 5 ของความตกลงทั่วไปว่าด้วยการต้าบริการ ขององค์การการต้าโลกซึ่วว่าด้วยการรวมกลุ่ททางเศราฐกิจอนุญาตให้สมาชิก WTO ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปสามารถจัดทำความตกบงรวมกลุ่มทางเศราฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริการให้แก่กันและกันมากกว่าที่ให้กับสมาชิก WTO อื่นได้ หากความตกลงรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในการเปิดเสรีการต้าบริากรให้แก่กันและกันมากว่าที่ใหกับสมาชิก WTO อื่นได้ หากควาตกลงนั้นไม่มีผลทำให้ผลประโยชน์จากข้อผุ้พันซึ่งสมาชิก WTO ที่อยู่นอกความตกลงพึงด้รับ ต้องลอน้อยลงไป
           ดังนั้นสมาชิกอาเซียน 7 ประเทศจึงได้ร่วมกันจัดทำ กรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนขึ้นในปี 2538 ซึ่งต่อมาอาเซียนได้มีสมาชิกใหม่เข้ามาร่วมอีก 3 ประเทศ คือ ลาว ปละพม่า (เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อเดือนกรกฎาคม 2540) และกัมพูชา (เป็ฯสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 30 เมษา 2542 วัตถุประสงค์สำคัญของกรอบความตกลงว่าด้วยการบริากรของอาเซียนได้แก่
           - เพื่อขยายความร่วมมือด้านบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีนให้มาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับประเทศนอกกลุ่ม
            - เพื่อลดอุปสรรคในการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิก
            - เพื่อเปิดเสรีการต้าบริการภายในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ให้มากกว่าที่แต่ละประเทศมีพันธกรณี การเปิดเสรีในเวที WTO โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีด้านการบริการ"
            โดยประเทศสมาชิกอาเซียนมีพันธกรณีดังนี้
             - การเข้าร่วมในข้อตกลงด้านความร่วมมือภายใต้ AFAS และหากมีจำนวนสมาชิกที่มีความพร้อมในการจัดทำข้อตกบงดังกล่าวตั้งแต่ 2 ประเศขึ้นไปก็สามารถดำเนินการไปก่อนได้
             - การเข้าร่วมเจรจาจัดทำข้อผุกพันเฉพาาะในการเปิดเสรีการต้าบริการให้กับประเทศสมาชิกอาเซียนมากว่าที่เสนอผูกพันไว้ภายใต้ GATS ในเวที่ "การค้าโลก"ซึ่งข้อผูกพันเฉพาะดังกล่าวจะระบุไว้ใน "ตารางข้อผุกพันเฉพาะภายใต้ AEAS"
               การเปิดเสรี กระทำโดย ยกเลิกมาตการเลือกปฏิบัติและข้อจำกดัในการเข้าสู่ตลาด ที่มีอยุ่ และห้ามออกมาตรการใหม่ซึ่งมีลักษณะเลือกปฏิบัติและข้อจำกัดใหม่ในการเข้าสู่ตลาด หรืออกมาตรการ หรือข้อจำกัดที่เข้มงวดมากขึ้น
               บทความนี้จะประกอบด้วย 4 ส่วนที่สำคัญ คือการเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของสมาชิกอาเซีย ข้อผูกพันการเปิดเสรีภาคบริการของไทย การประเมินผลการเจรจาว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ AFAS มากน้อยเพียงใดและวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากากรเข้าร่วมดำเนินการดังกล่าว
               การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน
               รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามให้การยอมรับกรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียนเมื่อ ธันวาคม 2538 เพื่อใช้เป็นกรอบในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริากรในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกับรับรองปฏิญญากรุงเทพ ซึ่งเป้นการประกาศเจตนารมณ์ว่า รปะเทศสมาชิกอาเซียนจะร่วมกันเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการสาขาต่างๆ โดยในรอบแรกจะมุ่งเจรจาใน 7 สาขาบริการ ได้แก่ สาขาการเงิน(ประกอบด้วย การธนาคาร การประกันภัย ธุรกิจเงินทุน เครดิฟองซิเอร์ และธุรกิจหลักทรัพย์), สาขาการขนส่งทางทะเล สาขาการขนส่งทางอากาศ สาขาการสือสารโทรคมนาคม สาขาการท่องเที่ยว สาขาการก่อสร้างและสาขาบริากรธุรกิจ ทั้งนี้ ให้เกริ่มดำเนินการเจรจาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 และสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2541
                การดำเนินการ การเจรจาจัดทำข้อผุกพันในกาเปิดเสรีการต้าบริการะหว่างสมาชิกอาเซียนตามพันธกรณีของ AFAS สมาชิกจะต้องเสนอข้อผูกพันที่มีระดับการเปิดเสรีมากกว่าที่แต่ละประเทศได้ยื่นผูกพันไว้ภายใต้ GATS และได้แบ่งการเจรจาเป็น 2 ช่วง
               การเจรจาช่วงแรก เป้นการเจรจาเปิดเสรีในสาขาที่แต่ะประเทศสมาชิกมีความพร้อมเพื่อให้เป้นไปตามเจตนารมณ์ของผุ้นำอาเวียนที่ต้องการเร่งรัดการเจรจาเปิดเรรีการต้าบริากรบางสาขาให้เสร็สิ้นภายใน มิถุนายน 2540 อย่างไรก็ตามได้มีการขยายกำหนดเวลาสรุปผลการเจรจาออกไปเป็น ตุลาคม 2540
               ผลการเจรจา ได้จัดทำเป้นตารางข้อผูกพันชุดแรก ซึ่งประกอบด้วยข้อผูกพันเปิดเสรีในบริการ 5 สาขา (การท่องเที่ยว การขนส่งทางอากาศ การขนส่วทางทะเล บริการธุรกิจ และโทรคมนาคม) จากสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศสำหรับประเทศไทยได้ยื่นข้อผุกพันเปิดเสีรใน 2 สาขา คือการท่องเที่ยว และากรขนส่งทางทะเล
              การจเรจาช่วงหลัง เป็นการเจรจาเพื่อให้สมาชิกอาเซ๊ยนแต่ละประเทศ เปิดเสรีด้านบริการให้ครบ 7 สาขา
              ผลการเจรจา สามารถสรุปผล "ตารางข้อผูกพันชุดที่สอง" ได้เมือกันยายน 2541 โดยสมาชิกอาเซียนทุกประเทศยื่นข้อผูกพันใน 7 สาขาบริการ รายละเอียดข้อผูกพันการเปิดเสีการต้าบริการของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในสาขชาบริการทั้ง 7 สาขาในรอบแรก มีดังนี้
              ข้อผุกพันการเปิเสรีของไทยในอาเซียน
               - การขนส่งทางอากาศ
                  การสำรองบัตรโดยสรผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีเงื่อนไขว่า การใช้บริากรข้ามพรมแดนผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาองไทย การให้บริากรวิทธยุขึ้นอยู่กับคลื่นความถคี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งธุรกิจนั้น อนุญาตการจัดจำหน่ายผ่านระบบนี้ สำหรับสำนักงานของสายการบินต่าๆ และสำนักงานตัวแทนขายทั่วไปเพียง 1 แห่งโดยผุ้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะภายใต้หน่วยงานที่มีอำนาจของไทยและต้องปฏิบัติตามข้อควาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในตารางข้อผูกพันสาขาการสื่อสารโทรคมนาคมของไทยภายใต้ GATS
               
การขายและการตลาดสำหรับบริการขนส่งทางอากาศ  โดยมีการปรับปรุงข้อผุกพันในรุ)แบบการให้บริการข้ามพรมแดนและการบริโภคในต่างประเทศจากเดิมไม่ผูกพันเปลี่ยนเป็นผูกพันเต็มที่โดยไม่มีเงื่อนไขการเข้าสู่ตลาด
                 - บริการธุรกิจ
                   การวิจัยและพัฒนาในด้านวิทยาศาสตร์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านฟิสิกส์, บริการวิจัยและบุกเบิกการทำลองในด้ารเคมีและชีววิทยา, บริการวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี, บริากรวิจัยและบุกเลิกการทดลองในด้านเกษตรกรรม, บริการวิจัยและบุกเลิกการทอดลองในด้านวิทยาศาสตร์อื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้ร่วมกับคนไทยในสัดส่วน มไ่เกินร้อยละ 49
                    การวิจัยและพัฒนาในด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านเศรษฐศาสตร์, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านกฎหมาย, การวิจัยและบุกเบิกการทดลองในด้านภาษีศาสตร์ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกันบคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                    บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการ บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านการเงนิยกเว้นภาษีธุรกิจ, บริการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการด้านทรัพยากรบุคคล โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้าในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49
                  - การก่อสร้าง
                     การเตรียมการติดตั้งในงานก่อสร้าง, การประกอบและติดตั้งงานก่อสร้างชนิดสำเร็จรูป, การกร่อสร้างด้านการค้า, งานขั้นสุดท้ายเพื่อความสมบูรณ์ของอาคาร โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณธบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                 - การเงิน
                     บริษัทหลักทรัพย์ โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์ได้เกินกว่ากึ่งหนึ่ง(เดิมผูกพันร้อยละ 49 เพิ่มเป็นร้อยละ 100 ) และอนุญาติให้บริษัทหลักทรัพย์ที่มีต่างชาติถือหุ้นเกินร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว สามารถประกอบธุรกิจนายหน้าได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบะุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ พ.ศ. 2541 และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
                     บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม โดยอนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุรรวมได้เกินกว่ากึ่งหนึ่งแต่ไม่ผูกพันสำหรับใบอนุญาตที่ออกใหม่
                  - การขนส่งทางทะเล
                     บริการเกี่ยวกับพิธีการทางศุลกากร โดยมีเงื่อนไยว่าต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 โดย คาสตอม โบ๊กเกอร์ ต้องมีสัญชาติไทยและได้รับใบอนุญาตจากกรมศุลกากร
                      บริการส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยการยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเดิมระบุข้อจำกัดการขนส่งสินค้าทางทะเลในเส้นทางไทย-เวียดนามและไทย-จีน ว่า ต้องให้สิทธิการขนส่งแก่ประเทศทั้งสองมากกว่าประเทศอื่นๆ ตามความตกลงร่วมกันว่าด้วย คาร์โก้ แชรริ่ง ระหว่งไทย-เวียดนาม และ ไทย-จีน แต่เนื่องจากข้อตกลงดังกล่าวได้มีการยกเลิกแล้ว ทดยจคึงสมารถปรบปรุงข้อเสนอดังกล่าวให้มีระดับการเปิดเสรีมากขึ้นได้
             
- การสื่อสารโทรคมนาคม
                   บริการให้เช่าอุปกรณ์ปลายทาง โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้งอเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัดถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 49 และไม่ผูกพันการเข้ามาประกอบวิชาชีพของวิศวกรโยธา
                   Domestic VSAT โดยมีเงือนไขว่าในการให้บริการข้ามพรมแดนผู้ให้บริการต้องใช้เครือข่ายโทรคมนาคมของรัฐ การให้บริากรวิทยุขึ้นอยุ่กับคล่ความถี่ที่ว่าง ส่วนการเข้ามาจัดตั้งทางพาณิชน์นั้น ต้องจัดตั้งเป้นบริษัทจดทะเบียนของไทยโยมีต่างชาติถือหุ้นไม่เกินร้อยลุ 40 ของจำนวนผุ้ถือหุ้นทั้งหมดของบริษัทโดยเป็นการประกอบการ บิวท์-ทรานเฟอร์เรท-โอเปอร์เรท และต้องใช้เครือข่ายโรคมนาคมของรัฐ
                 - การท่องเที่ยว
                    บริการที่พักแบบ โมเตล, บริากร้านที่พักอื่นๆ (บริการศูนย์กลางและบ้านพักตากอากาศ, บริการที่ตั้งแคมป์และขบวนคาราวาน), สวนสนุก, การอำนวยความสะดวกด้านที่จอดเรือ โดยมีเงื่อนไขว่า ต่างชาติที่จะเข้ามาประกอบธุรกิจเป็นผุ้ให้บริากรในกิจกรรมเหล่านี้ ต้องเข้ามาในลักษณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน และจำนวนผุ้ถือหุ้นเป็นคนต่างชาติต้องน้อยกว่างครึ่งหนึ่งของจำนวนผุ้ถอหุ้นทั้งหมด ส่วนการเข้ามาให้บริากรของคนต่างชาติในลักษณะบุคคลธรรมดานั้นไทยยินยิมเฉพาะบุคลากรระดับผู้จัดการ ผุ้บริหารและผุ้เชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งเป้นการโอนย้ายภายในองค์กรและบริษัทที่ว่าจ้างบุคคลดังกล่าว โดยต้องตั้งอยู่ในต่างประเทศ
                   ศูนย์การประชุม(จุผุ้เข้าร่วมประชุมได้มากกว่า 2,000 คน) โดยมีเงื่อนไขว่าต่างชาติต้องเข้ามาในลักาณะบริษัทจำกัด ถือหุ้นร่วมกับคนไทยในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน
                การเจรจารอบต่อไป อาเซียนได้ประกาศวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 เมื่อธันวาคม 2540 เพื่อใช้เป้นแนวทางใหม่ที่อาเซียนจะดำเนินการในทศวรรษต่อไปจนถึง ค.ศ. 2020 โดยในส่วนขงอการต้าบริากรได้เร่งรัดการเปิดเสรีการต้าบริการมากขึ้น และเพื่อให้การดำเนินการตามวิสัยัศน์อาเซียนปี 2020 บรรลุผลเป็นรูปธรรม จึงได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการฮานอย ซึ่งประกอบด้วยแผนดำเนินการในการเปิดเสรี การอำนวยความสะดวก และการส่งเสริมความร่วมมือดานการต้าบริากร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการ ในส่วนทีเกี่ยวกับการเปิดเสรีการต้าบริการนั้น ได้กำหนดให้มีการเจรจาเปิดเสรีการต้าบริการในอาเซียนรอบต่อไปให้ครอบคลุมการเจรจาทุกสาขาบริการ โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2542 และสิ้นสุดในปี 2544
               ประโยชน์ที่ไทยได้รับ
                ด้านความร่วมมือ ในช่วงเวลา 3 ปีครั้งที่สมาชิกอาเวียนใช้ในการดำเนินการเพื่อให้เป็นไตาม AFAS โดยผ่านคณะกรรมการประสานงานด้านบริากรในอาเซียน นั้น ไม่มีการนำประเด็นเกี่ยวกับความร่วมมือใน AFAS มาพิจารณอย่างจริงจัง ดังนั้น กิจกรรมดังกบาวภายใต้ AFAS จึงยังไม่มีรความคืบหน้าใดๆ อย่งไรก็ตาม ปัจจุบันสมาชิกอาเซียนกำลังพิจารณาหาแนวทางส่งสเริมความ่วมมือในการริการสาขาการท่องเที่ยวและการขนส่ง อาทิ ลดข้อจำกัดทางการลงทุภายในกลุ่มสมาชิกอาเวียนด้วยกันในด้านที่พักนักท่องเที่วและสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอื่นๆ ให้มีการเคลื่อยย้ายบุคลากรระดับสำคัญๆ ด้านการโรงแรม และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างสมาชิกอาเซียน ให้สิทธิในการเจรจาสำหรับการขนส่งทางอากาศและทางทะเลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการเคลื่อนย้ายทั้งสินค้าและผู้โดยสารเป็นไปอย่างรอบรื่น หากบรรลุข้อตกลงร่วมกัน ไทยก็จะได้รับประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาการท่องเที่ยว ซึ่งไทยมีศักยภาพในการแข่งขันเพียงพอ
                 ด้านการเปิดเสรี ผลจากการเปิดเสรี ดังที่ผ่านมาจะเป้ฯประดยชน์อย่างแท้จริง ถ้าภาคเอกชนจะเป็นผู้ผลักดันให้เปิดตลาด โดยแจ้งปัญหาปละอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดและการดำเนินธุรกิจในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อจัดทำข้อเรียกร้องต่อสมาชิกอาเซียนในกาเปิดตลาดสาขาบริการที่ภาคเอกชนมีความร้พมอและความต้องการจะออกไปลงทุนยังต่างประเทศอย่างแท้จริง แต่ในทางปฏิบัติลแ้ว การเสนอข้อเรียกร้องต่อประเทศคู่เจรจาส่วนใหย่มาจากาภรัฐบาลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นผลการเจรจาจึงเป็นเพียงโอกาสให้กับผู้ประกอบการในประเทศที่สนใจ และเป้ฯทางเลือกที่เพิ่มขึ้นของตลาดบริากร เท่านั้น
              อย่างไรก็ตาม เมื่อการเคลื่อนย้ายของธุรกิจบริากรในประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาในไทยมากขึ้นก็จะเป้ฯการกระตุ้นให้ภาคเอกชนกต้องปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขันที่มากขึ้นและไปสู่การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริากรเพื่อรักษาสวนแบงลาด ซึ่งผุ้ได้รับประโยชน์คือ ผุ้บริโภคในประเทศ ถ้าคำนึงถึงในแง่โอกาสที่ผุ้ประกอบการทไยได้รับจากการเจรจา ในการเข้าไปประกอบะุรกิจบริการในประเทศสมชิกอาเซียน โดยได้รับสิทธิพิเศษมากกว่าประเทศนอกกลุ่มแล้ว ผุ้ประกอบการไทยจะได้รับประธยชน์จากการเปิดตลาดธุรกิจบริการจำนวนมากกว่า 70 กิจกรรม ซึ่่งเป็นการเปิดประตูทางเลือกใหม่ให้แก่ผุ้ประกอบการของไทยในการเข้าสู่ตลาดที่มีระดับการพัฒนาที่ใกล้เคียงกัน และเป้ฯการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันเพื่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในตลาดบริากรเหล่านี้ในอนาคต( การเจรจาเปิดเสรีภาคบริการของอาเซียน" ประนอมศรี โสมขันเงิน.บทความ)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)