วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN + 1

             สมาคมอาเซียนได้เสริมสร้างความสัมพันธ์ทวิภาคีกับหุ้นสวนต่างๆ ผ่านการจัดตั้งกลไกและร่างเอกสารข้อตกลงต่างๆ  โดยปัจจุบัน กรอบความร่วมมืออาเซียนบวก 1 คือ กรอบความร่วมมือที่บรรลุผลงานหลายด้านและเป้นกลไกความร่วมมือนอกลุ่มที่มี่ประสิทธิภาพที่สุดของอาเซียน
             อาเซียน + 1 คือกรอบความร่วมมือทวิภาคีขงอาเซียนกับหุ้นส่วนภายนอกที่ได้รับการจัดตั้งเป้ฯอันดับแรกก่อนกลไกความร่มมืออื่นๆ ของอาเซียน นับตั้งแต่ได้รับการก่อตั้ง อาเซียนได้สภาปนาความสัมพันธ์ทวิภาคกับประเทศ องค์การต่างๆ ในภูมิภาคและโลกพเพื่อเสริมสร้างสถานะ โดยปัจจุบัน อาเซียนได้ธำรงความสัมพันธ์กับ 10 หุ้งส่วน ประกอบด้วย จีน สาธารณประชาชนจีน สาธารณรับเกาหลี แคนาดา ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย สหรัฐ สหภาพยุโรปหรือียู รัสเซียนและนิวซีแลนด์
            ผลักดันความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ในเวลาที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนต่างๆ ในกรอบอาเซียนบวก 1 ได้รับการผลักดันและยกระดับให้สูงขึ้น โดยนอกจากการดำเนินนโยบายการต่างประเทศที่เปิดกว้างแล้ว อาเซียนยังคงให้ความสำคัญต่อการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนในการสร้างสรรค์โครงกสร้างภุมิภาคให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์และผลประโยชน์ของภุมิภาค บนพ้นฐานกลไกที่อาเซียนเป็นผุ้นำ ซึ่งได้รับความเห็นพื้องเป็นเอกฉันท์ในระดับสุงจากหุ้นส่วนต่างๆ
             คำมั่นสัญญาของหุ้นส่วนต่างๆ ในเวลาที่ผ่านมาคือพลังขับเคลื่อนเพื่อให้อาเซียนสร้างสรรค์และเสริมสร้างประชาชนที่คล่องตัวและพัฒนา โดยเฉพาะกลไกการสนทนาอาเวียนบวก 1 หลังปี 2015 มี
ความหมายสำคัญต่อสถานะของกลุ่มและนี่คือนโยบายที่ได้รับความสนใจเป็นอันดับต้นๆ ของอาเซียน ปัจจุบันอาเซียนได้บรรลุผลงานที่สำคัญที่สุดในการผสมผสานเข้ากับกระแสเศราบกิจ นั้นคือได้จัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซีเมื่อปลายปี 2015 ดังนั้น ความร่วมมือด้านเศราฐกิจ การต้าในกรอบอาเซียนบลวด 1 จึงได้รับความสนใจเป้นอย่างมากจากประเทศสมาชิกและถือเป็นเนื้อหาที่ได้รับความสนใจเป็นอันดับต้นๆ ญี่ปุ่นซึ่งเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข้งได้ให้การช่วยเหลือเป็นอย่างมากต่อการะบวนการสน้างสรรค์ประชาคมอาเซียน โดยให้คำมั่นที่จะลดช่องว่างการพัฒนาปฏิบัตกระบวนการ การขยายตัวที่มีคุรภาพ ในอนุภูมิภาคแม่น้ำโขงให้เป็นเรูปธรรม รวมทั้งยุทธศาาตร์โตเกียวปี 2015 ปัจจุบัน
ท้งสองฝ่ายได้ส่งเสริมการสรุป 10 ปี ความร่วมมือหุ้นส่วนเศราฐกิจในทุกด้านอาเซียน-ญี่ปุ่น มุ่งสู่แผนความร่วมมือระยะใหม่ 2016-2025 สำหรับหุ้นส่วนออสเตรเบีย ข้อตกลงการต้าเสรีอาเซียน -ออสเตรเลีย-นิวซีแล้นด้หรือ AANZFTA มีการลงนามเมื่อปี 2012 กำลังเกิดประสิทธิผล โดยเมื่อเร็วไนี้ ออสเตรเลียได้ขยายระยะเวลาการปฏิบัติโครงการช่วยเหลือร่วมมือด้านเศรษบกิจถึงปี 2018 และโครงการร่วมมือพัฒนาอาเซียน- ออสเตรเลียระยะที่ 2 จนถึงปี 2019 โดยให้คำมั่นที่จะสนับสนุนเงิน 34 ล้านดอลลาร์สหรับ ในการประชุมอาเซียน-ออสเตรเลียที่มีขึ้นในกรอบการประชุมรัฐมนตรีต่่งประเทศอาเซียนตึ้งที่ 49 ณ ประเทศลาว ออสเตรเลียได้ให้คำมั่นที่จะสรับสนุนเงินกว่า 100 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียภายในเวลา 5 ปี ให้แก่แผนการโคลอมโลใหม่เพื่อให้การช่วยเหลือการขยายความร่วมมือด้านการศึกษาและการเชื่อมโยงประชาชนระหว่างออสเตรเลียกับอาเซียน ส่วนทางด้านความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับรัสเซียในหลายปีมานี้ก็ได้รับการผลักดันผ่านการปฏิบัติกระบวนการร่วมมือลงทุนและการต้าอาเซียน-รัสเซีย ปฏิบัติแผนปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การเกษตร พลังงานและความมั่นคงด้านอาเหารทั้งสองฝ่ายเห้ฯพ้องที่จะร่วมกันจัดงานฉลอง 20 ปีการสถาปนาความสัมพันธ์หุ้นส่วนในปีนี้ อีกทั้งปฏิบัติแผนการในชข่วงปี  2016-2020 อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ศักยภาพความร่วมมือใด้านที่ต่างให้ความสนใจให้เป็นธรรมในการช่วยเหลืออาเซียนรับมือกับปัญหาความมั่นคงในโลก
             ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนใหญ่ๆ เช่น สหรัฐ จีน สาธารณรัฐเกาหลีและอียูต่างได้บรรลุก้าวกระโดด โดยนอกจากการปลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนแล้ว หุ้นส่วนดังกล่าวยังให้การช่วยเลหือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามต่างๆ เช่นการก่อการร้าย ลัทธิหัวรุนแรง ความมั่นคงในการเดินเรืออาชญากรรมบนอินเตอร์เน็ต การลักลอบค้าสัตว์ป่าและการต้ามนุษย์
              ดังนั้น สามารถเห็นได้ว่า กลไกความร่วมมือในกรอบอาเวียนบวก 1 คือกลไกความร่วมมือที่รอบด้านที่สุด และบรรลุผลงานที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดของเาซียนและหุ้นส่วน ประเทศหุ้้นส่วนได้ให้คำมั่นที่จะสนับสนุนและให้การช่วยเหลืออาเซียนประชาคมอาเซียนพัฒนา ลดช่องว่างการพัฒนาและธำรงบทบาทการเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในกระบวนการพัฒนาของภุมิภาคและให้การช่วยเลหือด้านการเงินในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งสิ่งนี้ได้ยืนยันถึงผลสำเร็จและประสิทธิภาพของอาเซียน + 1 อำนวยความสะดวกเพื่อให้อาเซียนและหุ้นส่วนต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างความไ้วางใจ ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการต้าควบคุ่กับปัญหาความมั่นคงในโลก เช่นการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติพร้อมกับการพัฒนาของอาเซียนและแนวโน้มแห่งการปสมปสานของโลก อาเซียนบวก 1 นับวันยิ่งยืนยันถึงบทบาทของตนมากขึ้น และแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของความร่วมมือทวิภาคีกับหุ้นส่วนต่างๆ ในทุกด้าน..(vovworld.vn/../วิเคราะห์สถานะการณ์ฝประสิทธิภาพของกลไกความร่วมมืออาเซียนบวก 1 )

วันอาทิตย์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Plus

             ASEAN Plus หมายถึง กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา กรอบความร่วมมือเหล่านี้มีหลายด้าน ทั้งในด้านการเมือง ความั่นคง สังคม และศรษบกิจ และปัจจบุัน มีการนำคำศัพท์ ASEAN Plus มาใช้ในหลายบริบท ดังนี้ ASEAN Plus One (ASEAN + 1) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 1 ประเทศ เช่น ความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียน-จีน และความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ญี่ปุ่น จัดเป็นเขตการต้าเสรีแบบ ASEAN Plus One ASEAN Plus Three (ASEAN + 3) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งริเริ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 2540
            ASEAN Plus 6(ASEAN + 6) โดยทั่วไปอ้างอิงถึงข้อริรเ่ิมในกรอบการประชุมสุดยอดเอเซียนตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ซึ่งมีการประชุมครั้งแรกในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อริเริ่มเรื่องการจัดทำพันธมิตรทางเศราฐกิจอย่างใกล้ชิดในเอเชียตะวัยออก (Closer Economic Parnership in East Asia : CEPEA) เนื่องจากเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกในช่วงเริ่มต้นมีประเทศผุ้เข้าร่วม 16 ประเทศ คือ อาเซียน 10 ประเทศ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
           ASEAN Plus Eight (ASEAN + 8) ใช้อ้างอิงอย่างไม่เป็ฯทางการถึงข้อริเร่ิมในกรอบการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกเช่นกัน เนื่องจากเวทีนี้มีการขยายสมาชิกภาพเมื่อปี 2553 โดยรับรัสเวียนและสหรัฐอเมริกาเข้ามาเป็ฯสมาชิกเพิ่มอีก 2 ประเทศ
       
 ASEAN Plus Plus (ASEAN + + )หมายถึง การขยายการรวมกลุ่มทางเศณาฐกิจในอนาคตที่หว้างขวางไปหว่ากรอบ ASEAN +1 กล่าวคือ ในอนาคตอาเซียนอาจจะจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรีกับประเทศคู่เจรจาจำนวนมากกว่ากนึ่งประเทศขึ้น
ไปขึ้นอยู่กับความพร้อมของประเทศคู่เจรจาแต่ละประเทศเองอาเซียนจึงเรียกแนวทางนี้ว่า ASEAN Plus Plus เพราะไม่ได้ระบุไว้ว่าประทเสคู่เจรจาที่อาจขอเข้าเจรจากับอาเซียนแล้ว ในท้ายที่สุดจะมีจำนวนเท่าใด
         ASEAN + 9 นอกจากอาเซียน + 8 ุ ประเทศคู่เจรจาที่กล่าวมาแล้ว อาเซียนยังเปิดความสัมพันธ์กับประเทศอื่นที่อยู่ไกลออกไปอีก คือประเทศได้แก่ ประเทศ แคนนาดา
              ...(www.aseanthai.net/..ASEAN Plus หมายถึงอะไร)

วันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2560

Digital Free Trad Zone : DFTZ

         แจ็คหม่า เจ้าพ่ออาลีบาบา ยักษ์ใหญ่ E-commerce ของจีน ประกาศลงทุนใหญ่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าประจำภูมิภาคอาเซียนที่มาเลเซีย และร่วมผลักดันมาเลเซียให้เป็น "ศุนย์กลาง E-Commerce" ประจำภูมิภาค เพื่อนผมไม่น้อยรู้สึกแปลกใจ และเสียดายเทนรัฐบาลไทย แต่ผมกลับคิดว่า รัฐบาลเราอาจไม่ได้เสียใจอะไรมากก็ได้..เนื่องจากยังไม่พร้อม และไม่กล้าเดิมพันเหมือนกับรํฐบาลมาเลเซีย หรือ เรายังไม่แน่ใจว่าถ้าเเจ็คหม่า บุกเรา เราจะได้ประโยชน์จริง หรือแจ็คหม่าและสินค้าจีนจะกินรวบประเทศไทย...
         นโยบายเขตการต้าเสรีดิจิตัล(DFTZ) ของมาเลเซีย สิ่งสำคัญที่มาเลเซียนอมตามข้อเสนอของเจ็คหม่า ก็คือ การจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีดิจิตัล" แจ็คหม่าให้สัมภาษณ์ว่า ตัวเขาพยายามนำเสนอไอเดียนี้กับรัฐบาบยุดรปและรัฐบาลในประเทศเอเซียหลายประทเศ แ่ทุกประเทศของเวลาศึกษาก่อน มีนายกฯ นาจิบของมาเลเซียที่ตกลงรับข้อเสนอ และใช้เวลาต่อมาอีก 4 เดือน ก่อนประะกาศจัดตั้งเขต การข้าเสรีดิจิตัลอย่างเป้ฯทางการ
         เขต DFTZ นับเป็นเขตการต้าเสรีดิจิตัลแห่งแรกของโลก สินค้า E-Commerce (ไม่จำกันว่าเป้ฯสินค้าจากชาติไหน) ที่ส่งผ่านเข้ามาในเขตนี้จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี(ภาษีศุลกากร ภาณีอื่นๆ และค่าธรรมเนียมต่างๆ ) รวมทั้งลดขั้นตอนการขออนุญาตที่ยุ่งยากลงด้วย โครงการที่เสร็จสมบูรณืของเขต DFTZ จะเปิดใช้งานในปี ค.ศ. 2019 โดยแบ่งเป้นสามส่วน ได้แก่
          E-Fulfillment Hub คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า E-Commerce ณ สนามบินนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ลงทุนโดยเครืออาลีบาบา, Cainiao (พันธมิตรด้านโลจิสตกิส์ของอาลีบาบา), Lazada (E-Commerce ใหญ่ในเอเซีย ซึ่งอาลีบาบาซื้อไปแล้ว),และ POS Malasia(ไปรษณ๊ย์มาเลเซีย) โดยสินค้าจะผ่านกระบวนการจัดการด้านศุลกากรที่สะดวกและรวดเร็ว
         Satellite Service Hub ตั้งอยู่ที่ "Internet City"ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ โดย Catcha Group ของมาเลเซียจะเป้นผุ้ลงทุนด้วยวงเงิน 1.3พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ประกอบด้วยอาคารสำนักงานสำหรับ start-up, Co-Working Space, และโชว์รูม O2O (Offline to Online) เป้าหมายเพื่อเป็นที่รวมตัวของบริษัท Tech ในภูมิภาคมากกว่า 1,000 แห่ง และคนทำงานในวงการ Tech มากกว่า 25,000 คน
         eService Platfome ในโลกออนไลน์ ซึ่งจะช่วยให้ผุ้ค้า E-Commerce ที่ต้องการนำเข้าหรือส่งออกสินึ้าสามารถดำเนินขั้นตอนขออนุญาตต่อหน่วยงานรัฐต่างๆ ผ่านขึ้นตอนออนไลน์ได้ในที่เดียว รวมทั้งติดต่อบริษัทและทำการตลาดได้อย่างเต็มที่ โดยไม่้ต้องมัวเสียเวลาหรือกำลังคนกับการเินเรื่องติดต่อหน่วยงานตาชการหรือเจรจากับบริษัทโลจิสติกส์เช่นในอดีต
         แนวคิดของโครงการเขตการต้าเสรีดิจิตัลนี้ เลียนแบบจากระบของเขตทดลอง E-Commerce ข้ามชาติ เมื่อหางโจว ประเทศจีน (ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ Alibaba) โดยเขต DFDZ ของมาเลเซียน ตังเป้าจะเชื่อต่อเป็น platform เดียวกับของเมืองจีน
         ผลที่ตามคือ มาเลเซียจะกลายเป็นเมืองท่า E-Commerce ของอาเซียน สินค้าจีน สินค้าผรัีง ที่จะบุกตลาด E-Commerce ของอาเซียนผ่าน platform ของอาลีบาบา จะผ่านเข้ามาที่คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าในมาเลเซียก่อน แล้วจึงต่อไปยังตลาดผุ้บริโภคสไคัญในอาเซียน เช่น ไทย, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์..(Thaipublica.org/..แจ็คหม่าบุกมาเลเซีย : เกมส์เดิมพันของใคร)
         ก่อนที่แจ็ค หม่า จะตกลงกับมาเลเซีย เขาได้มาเจรจากับไทยในช่วงปลบายปีที่ผ่านมา โดยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 แจ็ค หม่า กล่าวในงานบรรยายพิเสษสไกรับผุ้ประกอบการรุ่นใหม่หัวข้อ " Entrepreneurship and Inclusive Globalization" ขณะเดินทางมาประเทศไทยวา ภายใน 12 เดือนจากนี้จะได้เห็นโรดแมพการทำงานร่วมกับรัฐบาลไทย
          ขณะเดียวกันจะมีการปรับแผนใหเหมาะสมทุก 6 เดือน สิ่งที่หวังคงไม่ใช่ความหวังความสำเร็จยิ่งใหญ่แต่จะค่อยๆ ทำให้เกิดขึ้นทีละน้อย เบื้องต้น งานที่จะทำร่วมกัน เชน ยกระดับเอสเอ็มอี เทรนนิ่งผุ้รปะกอบการรายใหม่ พัฒนาคน เปิดโอาสให้ไปศึกษาดูงานที่สำนักงานใหญ่อาลีบาบาร่วใสนับสนุนนโยบายรัฐบาลไทย "ผมมองว่านโยบายไทยแลนด์ 4.0 การสนับสนุสาร์ทอัพ รวมถึงผุ้ประกอบการรายใหม่ของรัฐบาลไทยนั้นมาถุกทางแล้ว อาลีบาบายินดีให้การสนับสนุน ช่วยให้ไทยสามารถสเนอเอกลักษณ์สู่สายตาโลก"
          เมื่อครังเจ้าพ่อาลีบาบามาไทย แจ็ค หม่า ไม่ได้แค่โฉบมาขายฝันแล้วจากไป แต่ยังมีความตกลงถึงขั้นตั้งคณะทำงานร่วมมืกับรัฐบาลไทยอย่างเป็นรูปธรรมผ่านการบอกกล่าวของนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี
       
แจ็ค หม่า ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการยกระดับเรื่องดิจิตัลของประเทศไทยเหมือนกับที่เคยช่วยรัฐบาลจีนและรัฐบาลของอีกหลายประเทศทั่วโลกมาแล้ว เพือช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อยหรือเอสเอ็มอีที่มีสัดส่วนกว่า 90% ของผุ้ประกอบการในไทยทั้งหมดให้มีโอกาสค้าขายไปยังต่างประเทศ
          ตามแผนการทางอาลีบาบากรุ็ปและรัฐบาลไทย จะมีการตั้งคณะทำงานร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย เพื่อมาร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ มีแผนงาน 1 ปี โดยทางอาลีบาบา จะมาร่วมพัฒนาแพล็ตฟอร์มเพื่อช่วยให้ผุ้ประกอบการรายย่อยค้าขายได้ ทั้งยังจะมาช่วยฝึกนักธุรกิจและเอสเอ็มอีของไทยเรื่องการต้าขายผ่านระบบอี-คอมเมิร์ซ และจะร่วมกับรัฐบาลและสถาบันการศึกษาช่วยสอนเรื่อง อี -คอมเมร์ซ ให้เกิดการตื่นตัวในเด็กรุ่นใหม่ เพื่อสร้างผุ้ประกอบการใหม่หรือสาร์ทอัพขายสินค้าให้กับคนทั่วดลก
        แจ็ค หม่า มองว่า ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรคือจุดแข็งของไทย สามารถสงออกไปสู่ตลาดใหญ่อย่างจีน ยุโรป และทั่วโลก ดังนั้นสิ่งที่ต้องเข้าไปสนับสนุคือทำอย่างไรให้เกษตรกรสามารถขายสินค้าได้บนโลกออนไลน์ เรื่องนี้รัฐบาลต้องวางนโยบายพร้อมพัฒนาอีโคซิสเต็มส์ที่จะผลักดันให้เกิดการเติบโต
          ที่สำคัญ แจ็ค หม่า ย้ำและยืนยันว่าไม่คิดจะมาทำงเงินในไทย แต่จะเป็น แพลตฟอร์ม อินหราสตรักเจอร์ ส่วนหนึ่งช่วยพัฒนาอีโคซิสเต็ม เชื่อมโยงการต้า การลงทุน การท่องเที่ยว ยกระดับภาคธุรกิจ และผลักดันให้เกิดการเติบโต โดยบทบาทสำคัญจะเข้ามาเป็ฯพันธมิตร ไม่ใช่มาควบคุมหรือทำให้ผุ้ประกอบการท้องถิ่นตายจากไป เพราะหากเป็นเช่นนั้น อาลีบาบเองคงอยุ่ไม่ได้เช่นกัน....(new.tlcthai.com/ข่าว ข่าวเด่น)

วันศุกร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN's 50th Anniversary(201ึ7)

            สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน เปิดตัวโลโก้ใหม่ "Visit ASEAN@ 50 Golden Celebration 2017" เพื่อนำเสนออคมเปญการท่องเที่ยวของอาเวียน โดย 10 ผุ้นำประเทศอาเซียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ณ กรุงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อ 2 กันยายน 2016
            โดยแคมเปญใหม่นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมการท่องเทียยวอาเซียนในปี 2560 ในวาระครอบรอบ 50 ปีของการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างการก่อตั้งที่สมาคมประชาชาิแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างเอกลักษณ์การท่องเที่ยวอาเซียนหรือในภูมิภาคเอเซียนตะวันออกเแียงใต้ ที่มีความหลากหลาย ให้เป็นจุดหมายปลายทางการทองเที่ยวเดียว เพื่อสร้างกระแสการรับรู้และเพ่ิมจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศให้มาเที่ยวอาเซียน จาก 108.9 ล้านคนในปี 2558 เพ่ิมข้นเป็น 121 ล้านคนในปี 2560 และสร้างรายได้เพิ่มจาก 75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯในปี 2557 เป็น 83 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯภายในปี 2560
            ทั้งนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ จะมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันะ์และส่งเสริมการรับรู้แคมเปญ Visit ASEAN@ 50 : Golden Celebration ในงานแสดงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ITB เอเซีย ณ ประเทศสิงคโปร์ในเดือนตุลาคม รวมทั้งประชสาัพันะ์ส่งเสริมสินค้าด้านการท่องเที่ยว และแนะนำกิจกรรมประสบการณ์การเดิทนทางพิเศษต่างๆ ในอาเซียนในงาน World Travel Market ณ กรุงลอนอน ในเดือนพฤศจิกายน ในปีนี้
            นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประธานการประชุมสุดยอดอาเซียน กล่าวว่า การฉลองครบรอบ 50 ปี อาเซียนเป็นโอกาสที่ดีสำหรับประเทศสมาชิกทั้ง 10 ที่จะร่วมกันฉลองความสำเร็จอันรวดเร็วของชาติสมาชิกของสมาคมประชาชาติแป่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการเป็ฯจุดหมายปลายทางเดียวของการท่องเที่ยวภายใต้ความหลากหลาย Visit ASEAN@ 50 จะส่งเสริมความแข็งแกร่งและความเป็นอัหนึ่งอันเดียวกันทางเศรษฐกิจของอาเซียน
            ตลาดเป้าหมายที่สำคัญสำหรับการรณรงค์ส่งเสริมการท่องเทียวอาเซียนครบรอบ 50 ปี ในปี 2560 จะเป็นกลุ่ม ยุโรปตะวันออกกลาง และอเมริกาเหนือ รมถึงจีนญี่ปุ่นเกาหลีอินเดียและออสเตรเลียโดยคณะกรรมการด้านความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอาเซียนในฐานะผุ้รับผิดชอบแคมเปญนี้ ได้อล่าวถึงกิจกรรมด้านการตลาดเพื่อส่งเสริมแคบเปญ ดังนี้
 "Visit ASEAN @ 50" จะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในงานการประชุมการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Forum) ในเดือนมกราคม 2560 ณ ประเทศสิงคโปร์
          - จัดกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร แนะนำเส้นทางการเดินทางท่องเที่ยวอาเซียนให้แก่สื่อมวลชน
          - นำเสนอแพคเกจทัวร์และข้อเสนอพิเศษต่างๆ ในการซื้อสินค้าท่องเที่ยวสำหรับการเดินทางในปี 2560
          - ร่วมแสดงสินค้าด้านการท่องเที่ยวนานาชาติในตลาดที่สำคัญ เพื่อส่งเสริมแคมเปญ
          - จัดโปรแกรมความร่วมมือด้านการตลาดร่วมกับตัวแทนการท่องเที่ยว สื่อแลสายการบิน
          - ส่งเสริมการรับรุ้แคมเปญผ่านสื่อโทรทัศน์ สิ่งพิม์และทางสื่ออิเลคโทรนิค
          - จัดแคมเปญสื่อสังคมเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผุ้บริโภค
          - โปรแกรมการส่งเสริมโดยสำนกงานการท่องเที่ยวแห่งชาติของอาเวียน เน้นเป้าหมายด้านการต้าผุ้บริโภคและตลาดไมซ์ตลอดปี 2560
           แคมเปญการท่องเที่ยวอาเซียนครบรอบ 50 ปี ในปี 2560 เป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์การท่องเที่ยวอาเซียน ปี 2559-2568 ซึ่งได้รับการอนุมัติโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวของสิบประเทศอาเวียนในการประชุมท่องเที่ยวอาเซียน ณ กรุงมะนิลาเมื่อเดือนมกราคม 2559 ที่ผ่านมา...(www.prachachat.net/..อาเซียนเปิดตัวโลโก้ใหม่ Visit ASEAN @ 50 และแคมเปญรณรงค์บูมท่องเที่ยวอาเซียน)
          ประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ได้เร่ิมต้นจัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลองโอกาสสำคัญแห่ง 50 ปีของการก่อตั้งอาเซียนขึ้น โดยได้เชิญบุคคลต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาเซียนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อาทิ อดีตอธิบดีกรมอาเซียน อดีตเอกอัครราชทูตผุ้แทนถาวรไทยประจำอาเซียน เอกอัครราชทูตอาเวียนประจำำประเทศไทย ตลอดจนคณะทูตานุทูตต่างประเทศในไทย มาร่วมงานปาฐกถาพิเศษ "ASEAN@50 : for now and Posterity" โดย นายสุรินทณ่ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นงานแรกของกิจกรรมที่จะมีการจัดขึ้นต่อเนื่องตลอดทั้งปี
         นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวระหว่างเปิดงาานว่า ความร่วมมือของอาเซียนในอดีตอยู่บนหลักการ 3 ซี คือ Consensus หรือฉันทามติ Consultation หรือการปรึกษาหารือ และ Cooperation หรือความร่วมมือระหว่างกัน ขณะที่ในยุคใหม่นี้อาเวียนก็ยังคงยคดมั่นในหลักการ 3 ซี เช่นเดิม แต่ได้กลายเป็น Connectivity หรือความเชื่อมโยง Community หรือประชาคม และ Centrality หรือเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในการผลักดันคามร่วมมือต่างๆ มี่มีอยุ่ ปัจจุบันอาเซียนซึ่งเป็นประชาคมที่มีคน 620 ล้านคน เป็นประชาคมที่มีความหมายมาก และมีบทบทสุงทั้งยังเป้นประชาคมที่มีวิสัยทัศน์และมีพลังงานที่จะร่วมมือกับกลุ่มประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอื่นๆ
         ทั้งนี้ สิ่งที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศมองว่าเป้นความท้าทายของอาเซียนที่ก้าวเข้าสู่ปีที่ 50 คือ กายึดมั่นในข้อตกลงต่างๆ ที่มีและพันธกรณีระหว่างกันเพื่อทำให้พันธกรณีระหว่างกันเพื่อทำให้ประชาคมอาเซียนก้าวหน้าต่อไปสมกับเจตนารมณ์ หลายคนอาจมองว่าเมื่อก้าวเข้าสู่การรวมตัวเป้นปรชาคมอาเวียนแต่ดูเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ในความจริงแล้วการเป็นประชาคมต่างๆ จะต้องเดินหน้าต่อไป ประชาชนจะต้องรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียนมากขึ้นเรื่อยๆ
       ..(www.matichon.co.th/..รายงาน : ปาฐกถาพิเศษ "50 ปีอาเซียน")

วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560

AEC Blueprint 2025 (2015)

          ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอเซียน ครั้งที่ 27 (ASEAN Summit 27th) ณ กรุงกัะวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียระหว่างวันที่ 19-22rพฤศจิกายน 2558 นัดส่งท้ายก่อนที่ประเทศมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่างสมบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นความหวังที่ทำให้ "ตลาดอาเซียน" ซึ่งเป็นตลาดส่งออกเบอร์ 1 ของไทยกลับมาคึกคักอีกครั้ง
         ในการประชุมครั้งนี้ฝ่ายไทย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยนางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นำคณะเข้าร่วมให้การรับรองแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีก 10 ปีข้างหน้า ( 2559-2568) หรือ AEC Blueprint 2025 ร่วมกับสมาชิกอีก 9 ประเทศ ถือเป็นการดำเนินงสนต่อยอดจากมาตรการเดิม เพิ่มประสิทธิภาพ และขยายความร่วมมือทางเศราฐกิจทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึกยิ่งขึ้น ส่งเสริมความร่วมมือรายสาขา ให้ความสำคัญกับวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนดึงดูดการค้าและากรลงทุนจากต่างประเศ พร้อมกนนี้ยังมการจัดประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษบกิจอาเซียนครั้งที่ 14 ซึ่งเป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่ดูแลภาพรวมเรื่อง AEC โดยจะมีการหารือถึงการดำเนินการตามแผนงาน โดยเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป้าหมาย AEC Blueprint 2025 จะทำให้อเซียนก้าวสู่มิติใหม่ 5 ด้านคื
           - เศรษฐกิจที่มีการรวมตัว และเชื่อมโยงในระดับสูง
           - มีความสามารถในการ แข่งขัน มีนวัตกรรม และมีพลวัต
           - ส่งเสริมการเชื่อมโยงด้านเศรษฐฏิจ และการรวมตัวรายสาขา
           - ความสามารถในการปรับตัวครอบคลุมทุกภาคส่วน และมีประชาชนเป็นศุนย์กลาง และ
           - การเป็นส่วนสำคัญของประชาคมโลก
            การเตรียมพร้อมเพื่อให้เป้นไปตามแผนงานอี 10 ปีนั้น ไทยต้องดำเนินการ
            - ให้ความสำคัญกับภาคบริการเพ่ิมขึ้นเช่น แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อเปิดเสรีภาคบริการการพัฒนาบุคลากร การอำนวยความสะดวกในกาเข้ามาทำงานของต่างชาติในสาขาที่ไทยต้องการพัฒนา เช่น โลจิสติกส์ การศึกษา การเงิน โทรคมนาคม ก่อสร้าง และคอมพิวเตอร์
            - ความเชื่อมโยงภายในประเทศและภูมิภาค เนื่องจากไทยมียุทธศาสตร์เป็นศูนย์กลางของอาเซียนกลางของอาเซียน และมีศักยภาพด้านการขชนส่ง ดังนั้น ไทยควรเร่งพัฒนาระดบบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ด่านชายแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจแปละเร่งจัดทำระบบ Single Window ให้มีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติโดยเร็ว เพื่อสร้างความเชื่อมโยง
            - พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษบกิจ ตามภาวะโลกในปัจจุบันที่หันเหไปสู่การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งไทยควรขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ ส่งเสริมการลงทุนด้าน Data Center และช่วยลดต้นทุนผุ้ประกอบการ
           - ปรับปรุงกฎระเบียบในประเทศ เพื่อำนวยความสะดวกและลดปัญหาอุปสรรคในการต้าและการลงทุน และ
           - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างเศรษกบิจสร้างสรรค์ พัฒนาสินค้าและบริการให้แข่งขันได้ในตลาดโลก
            นางอภิรดีกล่าว่า ขณะนี้อาเซียนลดภาษีสวนใหญ่เป็น 0% แล้ว ยกเว้นรายการสินค้าอ่อนไหว แต่จะต้องเร่งแก้ไขมาตรการกีดกันทางการต้า ให้หมดไป เพื่อทำให้การค้าสินค้ามีความคล่องตัว นอกจากนี้ เห็นว่าควรมีการผลักดันการสร้างความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้า ร่วมกันภายในอาเซียน ที่สำคัญอาเวียนมีเป้าหมายจะเร่งเปิดเสรีภาคบริการให้มากกว่าปัจจะบันที่เปิดเสีรภาคบริการชุดที่ 10 และเตรียมหารือประเด็นสำคัญในการเปิดเสรีภาคบริการเร่งด่วนด้านโทรคมนาคมโดยเแพาะในเรื่องการคิดอัตราค่าดทรศัพท์ทางไกลข้ามประเทศในกลุ่มอาเซียน(โรมมิ่ง) ซึ่งในปัจจุบันแต่ละประเทศมีอัตราแตกต่างกัน บางประเทศมีค่าโรมมิ่งสุง
           ดังนั้น สมาชิกจึงเห็นพ้องกันว่าควรปรับลดลงให้เป็นอัตราเดียวกันทั้งอาเซียน ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการขยายตัวทางการค้า โดยจะเริ่มหารือกันตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป...(www.aseanthai.net/..ประชุม ASEAN Summit' 27 ผู้นำ 10 ประเทศผ่านร่างพิมพ์เขียน 2025)
            โดยภาพรวมแล้ว แผนงานของอาเซียนใน 10 ข้างหน้า เน้นการสานต่อทำให้ประชาคมอาเซียนมีความสมบูรณ์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม บลุพริ้นต์ 2025 ค่อนข้างน่าผิดหวัง เมื่อเทียบกับ บรูพริ้นต์ 2015 เนื่องจากขาดความริเริ่มและมาตรการใหม่ๆ...
            เรื่องใหม่ๆ ที่ปรากฎอยู่ใน Blueprint 2025 มีดังนี้
            - การส่งสเริมประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึงเป็นเรื่องใหม่ที่แทบไม่ได้กล่าวถึง ในบลูพริ้นต์ 2015 โดยจะเนิ้นการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้ประชาชน โดยการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจัดสมัมนา การจัดพิมพ์ สิ่งพิมพ์เผยแพร่ การจัดให้มีหลักสูตรอาเซียนศึกษาในสถาบันการศึกษา
นอกจากนี้ จะมีการจัดทำ ASEAN Lane ของประเทศสมาชิกอาเซียน การจัดทำ ASEAN business travel card และ ASEAN common visa
           รวมทั้งการส่งเสริมการผลิตผุ้เชี่ยวชาญด้านอาเซียน ผ่านการจัดตั้งศุนย์อาเซียนศ฿กษา หรือASEAN Studie Center และส่งเสริมให้สถาบันการศึกษา และคลังสมองอาเวียน ทำการศึกษาและวิจัย และตีพิมพ์ ประเด็นปัญหาของภุมิภาคและของโลก
             - อาเซียนกับการเป็นแกนกลางของสถาปัตยกรรมในภูมิภาค อีกเรื่องที่ดุโดเด่นใน บลูพริ้นต์ 2025 คือ การให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้อาเวีนเป็นแกนกลางของระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาค โดยเน้นส่งเสริมความเป็นเอกภาพ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียน ซึ่งมาตรการสำคัญมีดังนี้
              - เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ASEAN SOM ต้องมีการหารือและกำหนดยุทธศาสตร์ของอาเซียนต่อประเด็นปัญหาต่างๆ
              - จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันสำหรับสถาปัตยกรรมในภูมิภาค
              - จะต้องทำให้กลไกความร่วมมือด้านต่างๆ ของอาเซียน ทราบถึงยุทธศาสตร์ร่วมกันของอาเซียน เพื่อจะได้มีท่าทีและทิศทางเดียวกนกับประเทศนอกภูมิภาคในทุกเรื่อง
               - ต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนต่อประเทศคู่เจรจา
               - สงเสริมการมีท่าทีร่วมกันและพูดเป็นเสียงเดียวกัน ในลัษณะ ASEAN voice ในเวทีพหุพาคีต่างๆ
               - มีการออกแถลงการณ์ร่วมกันของอาเซียน ต่อประเด็นปัญหาต่างๆ อย่างทันท่วงที
               - ประสานความร่วมมือเพื่อเสนอชื่อตัวแทนอาเวียนในตำแหน่งสำคัญๆ ในเวทีพหุภาคี
               - การพัฒนาสถาบันและกลไกของอาเซียน
                การปรับปรุงกลไกและสถาบันต่างๆ ของอาเซียน ดังนี้
               - ส่งเสิรมให้มีการจัดตั้งหน่วย หรือกองอาเซียนขึ้น ในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
               - ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันอาเซียนเฉพาะด้านในประเทศสมาชิกอาเวียน
               - ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา และหลักสูตรอาเซียนศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งการสนับสนุนการสร้างเครือข่ายระหว่างศุนย์เหล่านี้
              ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC 2025
              สำหรับแผนงานของ AEC ในอีก 10 ปีข้างหน้า ส่วนใหญ่เป็นการสานต่อจากปี 2015 ซึ่งเน้นการทำอาเซียนให้เป็นตลาดดียวและฐานการผลิตเดียว โดยการเปิเสรี 5 ด้านด้วยกันคือ การค้าสินค้า การต้าภาคบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ
              การต้าสินค้า เน้นการดำเนินมาตรการต่างๆ ที่จะทำให้ AEC มีการเปิดเสรีการต้าสินค้าที่สมบูรณ์มากขึ้นโดยเฉพาะการเน้นจัดการกับปัญหามาตรการทางการต้าที่มิใช่ภาษี
              การต้าภาคบริการ เน้นการเจรจาในการ implement ข้อตกลง ASEAN Trade in Services Agreement ให้เป็นเครื่องมือทางกฎหมาย เพื่อก่อให้เกิดบูรณาการของภาคบริการในภูมิภาคให้มากขึ้น
              การลงทุน เน้นการเปิดเสรีด้านการลงทุน การจัทำระบบการลงทุนในภุมิภาค ที่เปิดกว้าง โปร่งใส และเน้นการปรับปรุงสภาวะแวดล้อมด้านการลงทุนของอาซียน
              การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ โดยตั้งเป้าหมายว่า จะส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในอาเซียน
              โครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงอาเซียน ในอาเซียน บลูพริ้นต์ 2025 กล่าวถึงเรื่องนี้ไว้น้อยมาก
               ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ASCC 2025 มาตรการส่วนใหญ่เป็นการสารต่อจากแผนงานที่แล้ว เน้นความร่วมมือ 5 ด้านด้วยกันคือ ความร่วมมือในการพัฒนามนุษย์ โดยเฉพาะความร่วมมือด้านการศึกษา สวัสดิการสังคม เรื่องสิทธิผู้ด้อยโอกาส ความร่วมมือการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม และการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
             โดยมาตรการที่โดดเด่นคือการเน้นการเข้าถึงบริการต่างๆ ของภาครัฐ โดยทุกภาคส่วนซึ่งเป็นไปตามหลักการสากล ที่ปรากฎเน้นการส่งเสริมการเข้าถึงทั้งโอกาส ทรัพยากร และการบริการของรัฐสำหรับประชาชนทุกคน ..(www.drprapat.com/อาเซียน-2025)


         

วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Human Rights Declaration : AHRD (2012)

             ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน จัดทำขึ้นโดยคณะกรรมกาธิการระหว่างรัฐบาลอาเวียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งได้รับมอบหมายจากที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 42 เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552 (2009) โดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนประสงค์ให้ปฏิญญาฉบับนี้ เป็นพื้นฐานในการพัฒนาไปสุ่การเป็ฯกรอบความร่วมมืออาเซียนด้านสิทะิมนุษยชนเช่น อนุสัญญาสนธิสัญญา รวมทั้งตราสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนในอนาคต
          ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเป็นเอกสารทางการเมืองที่ไม่มีข้อผูกพันตามกฎหมาย ซึ่งแสดงเจตนารมณ์ของอาเซียนในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทะิมนุษยชน และสะท้อนถึงลักษณะเฉพาะของอาเซียนที่มีความแตกต่างในด้านการเมือง สังคมและวัฒนธรรม นอกจากนี้ ปฏิญญาฯจะต้องรักษามาตรฐานสิทธิมนุษยชนตามหลักสากล รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มเติมจาปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาและแผนปฏิบํติการเวียนนา และตราสารระหว่างประเทศว่าดวยสิททะิมนุษยชนที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเป้ฯภาคีปฏิญญาฯ ฉบับนี้เป็นจุดเร่ิมต้นที่สำคัญของอาเซียนที่ให้ความสำคัญกับการ่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพื่อประโยชน์ในระยะยาวของประชาชนและภูมิภาคอาเซียน..
           แถลงการณ์พนมเปญว่าด้วยการรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุายชน
           เรา ประมุขแห่งรัฐ/ หัวหน้าราัฐบาลของรัฐสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ในโอกาสการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 ณ กรุงพนมเปญราชอาณาจักรกัมพุชา
           ยืนยัน ความมุ่งมั่นของอาเซียนในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป้าประสงค์และหลักการตามที่บัญญัติฟๆว้ในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งรวมถึงหลักการประชาธิปไตย หัลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล
           ย้ำถึง ความมุ่งมั่นของอาเซียนและรัฐสมาชิกต่อกฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาด้านสิทธิมนุษยชนที่รัฐสมาชิกอาเวียนเป็นภาคี รวมถึงปฏิญญาของอาเซียนที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
         ยอมรับ ความสำคัญของบทบาทของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐอาเซียนว่าด้วยสิทะิมนุษยชน ในฐานะเป็นสถาบันที่รับผิดชอบการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในอาเซียนในทุกด้านอันจะนำไปสู่การสร้างประชาคมอาเวียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และเป็นกลไกสำหรับการพัฒนาทางสังคมและความยุติธรรมที่ก้าวหน้า และการบรรลุศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นของประชาชนอาเซียน
        ชื่นชม คณะกรรมาธิการที่ได้พัฒนาปฏิญญาสิทธิมนุษยชนที่มีความครอบคลุม โดยผ่านการหารือกับองค์กรรายสาขาของอาเวียนและผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
         ยอมรับ การมีส่วนร่วมที่มีนัยยะขององค์กรรายสาขาของอาเซียนและผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ในการส่งเสริมและคุ้มทครองสิทธิมนุษยชนในอาเวียน และสนับสนุนให้องค์กรและผุ้มีส่วนได้เสียดังกล่าวมีส่วนร่วมและหารือกับคณะกรรมธิการอย่างต่อเนื่อง
         ในที่นี้ จึง
         1 รับรอง ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
         2 ยืนยัน ความมุ่งมั่นของเราในการปฏิบัติตามปฏิญญาอเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนอย่างเต็มที่ เพื่อให้การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภุมิภาคมีความก้าวหน้า และ
         3 ยืนยันอีกครั้ง ถึงความมุ่งมั่นของเราในการปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนโดยให้สอดคล้องกับคำมั่นที่เรามีต่อกฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาและแผนปฏิบัติการเวียนนา และตราสารระหว่างประเทศอื่นๆ ด้านสิทะิมนุษยชนที่รัฐสมาชิกอาเซียนเป็นภาคี รวมถึงปฏิญญาและตราสารอื่นๆ ของอาเซียนที่เกี่ยวกับสิทะิมนุษยชน..(ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน, มิถุนายน 2556)
       
บทบาทของคณะกรรมาธิการฯ ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่การก่อตั้งองค์กรคณะกรรมาธิการฯ ได้มีการดำเนินงานตามแผนงาน 5 ปี โดยแผนงานดังกล่าวได้กำหนดภาระงานและกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมาธิการ ภายในระยะเวลา 5 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2553-3558 ความสำเร็จหลักของคณะกรรมาธิการฯ ในการดำเนินงานในช่วงแรก คือ การจัดทำปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และแถลงการณ์พนมเปญว่าด้วยการับรองปฏิญญาอาเซียน ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2555(2012) ตราสารทางการเมืองทั้งสองถุกใช้เป็นแนวทางในกานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนอาเซียน ภายในปฏิญญาอเาซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้รวมเอาประเด็นด้านสิทะิมนุษยชนบางด้านที่ไม่ค่อยถูกล่วถึงในปฏิญญาหรืออนุสัญญาอื่นๆ เช่น สิทะิในการพัฒนา สิทธิในสันติภาพ สิทะิในการหาที่ลี้ภัย และประเด็นเรื่องเอดส์และเอชไอวี เป้ฯต้น แม้ปฏิญญาอาเซียน ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนจะไม่ใช่ตัวบทกฎหมายท่สามารถควบคุมและลงโทษผุ้กรทำความผิดด้านการละเมิดสิทะิมนุษชนได้ แต่ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนับเป็นจุดเริ่มต้นของความก้าวหน้าของอาเซียนที่ได้มีเอกสารพื้นฐานร่วมกันเพื่อพัฒนามาตรฐานการุคุ้มครองและส่งเสริมด้านสิทธิมนุษยชนในภุมิภาค
          ในช่วงดำเนินงานระยะที่ 2 คณะกรรมาธิการฯ ยังคงดำเนินตามแผนงาน 5 ปี ที่ได้วางไว้ โดยมีภารกิจที่ำสคัญ เช่น
           การเผยแพร่ปฏิญยาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ในสิทธิขึ้นพื้นฐานของประชาชนอาเซียน โดยคณะกรรมาธิการณ ได้มีการแปลปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเป็นภาษาประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนและจัดทำเป็นหนังสือ เพื่อการเผยแพร่ต่อไป
            การจัดสัมนาและฝึกอบรมต่างๆ ด้านสิทธิมนุษยชน ในส่วนของประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมาธิการอย่างต่อเนื่อง เช่น ในปี 2556 งานอบรมเชิงปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย การประชุมปรึกษาหารือระดับภุมิภาค งานสัมนาเชิงปฏิบัติการของคณะกรรมาธิการฯ เรื่องการแลกเปลี่ยนแประบการณืประเทศอาเซียนในการจัดทำรายงานรายงานทบลทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน และงานสัมนาเชิงปฏิบัติการของคณะกรรมาธิการฯ เรื่องกลไกด้านสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาค
             การจัดทำ Thematic study เกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ด้านสิทะิมนุษยชน
              การแก้ไขเอกสารขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ ตามมาตรา 9.6 ระบุว่าคณะกรรมาธิการฯ ควรทบทวนเอกสารขอบเขตอำนาจห้น้าที่ได้ ระบุไว้ คณะกรรมาธิการณ จึงต้องมีการดำเนินการทบทวนเอกสารและจัดทำข้อเสอนแนะเกี่ยวกับการแก้ไขเพื่อส่งให้รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนซึ่งมีอำนาจในการแก้ไขเอกสารขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาะิการฯ การอนุญาตให้เอกสารขอบเขตอำนาจหน้าที่สามารถแก้ไขได้ทำให้คณะกรรมธิการ ฯ สามารถทบทวนภาระหน้าที่แะลกลไกขององค์กรที่ยังเป้นอุปสรรครอการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุยชนในภูมิภาค รวมถึงรับฟังความคิดเห็นขององค์กรภาคประชาสังคมเพื่อปรับปรุงและพัฒนาประสิทะิภาพการดำเนินงานขององค์กรต่อไป..
             การจัดทำตารางทางกฎหมายด้านสิทธิมนุษชยชนของอาเวียน ที่ผ่านมาอาเซียนยังไม่มีเครื่องมือทางกฎหมายในลักาณะดังกล่าว หสึ่งในภาระกิจอขงคระกรรมาธิการฯ คือการจัดทำอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีผลผุกพันทางกำหมายต่อประเทศสมาชิก โดยอนุสัญญาดังกล่าวจะเป้ฯเรื่องการขจัดความรุนแรงในสตรี ในด้านกระบวนการจัดทำจะแตกต่างจากการจัดทำปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยคณะกรรมธิการฯ มีแนวคิดที่จะให้องค์กรภาคประชาสังคมเข้ามามีบทบาทในการจัดทำร่างอนุสัญญาแทนการแต่งตั้งคณะผุ้จัดทำร่าง เพื่อสร้างความเป็นเจ้าขอ ปละกระบวนการที่โปร่งใส.... (www.aichr.or.th/.., พัฒนาการและความสำเร็จของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเวียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน)
     
         

       

Bali Concord III(2011)

             การประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 19 ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาบาหบลีว่าด้วยเรื่องประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก หรือ Bali Concord III เมื่อวันที่ 17 พฤศจิการยน 2011(พ.ศ.2554) ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซียน ซึ่งเป็นเอกสารที่สะท้อนความพร้อมของอาเซียนในการสร้างวิสันทัศน์หลังการสร้างประชาคมอาเซียน ซึ่งจะดำเนินการควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชคมอาเซียน รวมทั้งส่งเสริ และคงไว้ซึ่งความเป็นศุนย์กลางของอาเซียน และบทบาทในการส่งเสริมสถาปัตยกรรมของภูมิภาค
             วัตถุประสงค์ของปฏิญญานี้ คือ
             1) การส่งเสริมท่าทีร่วมของอาเซียนต่อประเด็นระหว่างประเทศที่เป็ฯเอกภาพแลเข้มแข็ง เพื่อส่งเสริมเสียงของอาเวียนในเวทีระหว่างปะรเทศที่เกี่ยวข้อง
             2) ส่งเสริมศักยภาพของอาเซียนในการร่วมมือและรับมือกับประเด็นระหว่างประเทศ ที่จะเป็นประโยชน์และมีผลกระทบต่อประเทศและประชกรของอาเซียน
             3) เสริมสร้างประชาคมอาเซียนให้เป็นองค์กรนิติธรรม โยมีกฎบัตรอาเวียนเป้ฯพื้นฐานและบรรทัดฐานของอาเวียน
              4) ส่งเสริมศักยภาพของสำนักเลขาธิการอาเวียนในการสนับสนุนวิสัยทัศน์ และพัฒนาประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก...(www.mga.go.th/...อาเซียนไฮไลท์ส ๒๕๕๔)
             แผนปฏิบัติการบาหลี 3 มีระยะเวลาตั้งแต่ปี 2013-2017 เกิดขึ้นจากการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเวียนครั้งที่ 19 ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิการยน 2011 โดยรัฐภาคีอาเซยนค่อนข้อางให้ความสำคัญกับลความเป็นไปในเวทีโลกมากขึ้น เห็นได้จาปฏิญญาครั้งนี้ มีเหนือหาที่ระบุชัดเจนและให้ความสำคัญกับความท้าทายบนเวทีโลกที่อาเซียนต้องเผชิญหลากหลายมิติมากขึ้น
             ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะอาเซียนพยายามผลักดันความเป็นประชาคมอาเซียนให้โดดเด่นมากขึ้น ตามชื่อของปฏิญญา "Bali Declaration on ASEAN Community in a Global Community of Nation" หรือ Bali Concord III ในปฏิญญาดังกล่าวเราจะเห็นความชัดเจนในความร่วมมือภายใต้ประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาที่ชัดเจนขึ้น แลบ่อยครั้งที่ปฏิญญาดังกล่าวเราจะเห้ฯความชัดเจนขึ้น และบ่อยครั้งทีปฏิญญาดังกลาวเน้นย้ำถึงผลประดยชน์ร่วมกันในเวทีโลก
           
ความร่วมมือด้านการเมือง-ความมั่นคง (Politicaj-Securrity Cooperation)
            1) สันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพ ในส่วนนี้สิ่งที่เปลี่ยนแปลงและอาเซียนให้ความสำคัญมากขึ้น คือ เร่ิมเน้นว่าจะสนับสนุวัฒนธรมของการรักษาสันติภาพ ที่รมวมถึงการเคาพรซึ่งความแตกต่าง สนับสนุนให้มีความอดทนอดกลั้นระหว่างกันและให้ทำความเข้าใจต่อความเชื่อ ความศรัทธาของแต่ละศาสนาและวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันตลอดจนให้เคารพต่อกฎหมายภายในประเทศนั้นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
             นอกจากนี้ ยังพยายามเน้นบทบาทประชาคมอาเซียนด้วยการพูดถึงผลปรโยชน์ร่วมกันบนเวทีโลกอยุ่บ่อยครั้งและเน้นให้การสนับสนุนข้อริเริ่มต่างๆ ที่เป็นการเคลื่อนไหวบนเวทีโลกในลักษณะที่เป็นกลาง ดดยให้อาเซียนมีบทบาทเชิงบวกที่จะเป็นฝ่ายสนับสนุนให้เกิดความมั่นคงและสเรีภาพในระดับโลกด้วย
            ตลอดจนให้รัฐภาคีอาเซียนมีบทบาทเชิงรุกในการมีส่วนร่วมในบทบาทที่จะรักดาาสันติภาพ และพยายามสร้างสันติภาพหลังเกิดเหุตขัดแย้ง รวมถึงเพิ่มความรวมมือภายใต้กรอบกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายในระดับประทเศที่เกี่ยวพันกัน เพื่อที่จะต่อสู้ำับการคอรับชันด้วย
             2) การพัฒนาการเมือง ให้ปฏิบัติตามหลักการและวัตถุประสงค์ของอาเซียน ให้รัฐภาคีดำรงอยุ่ด้วยสันตุภาพ เป็นธรรม มีบรรยากาศที่สร้างความเป้ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน และให้ปฏิบัติตามหลักนิติตธรรม หลักธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตย และเป็นไปตมธรรมนูญของรัฐบาล ตลอดจนสนับสนุนและปกป้องหลักสิทธิมนุษยชน และหลักเสรีภาพ รวมทั้งพยายามทำให้เกิดความยุติธรรมในสังคม
           ความร่วมมือด้านเสณาฐกิจ EconomicCooperation
           1) การรวกลุ่มทางเศรษฐกิจ ในมิตินี้ อาเวียนให้ความสำคัญที่จะขยายความร่วมมือเพื่อมีส่วนร่วมกับข้อริเริ่มต่างๆทางเศรษบกิจทั้งใรระดับภูมิภาคและระดับโลกมากขึ้น ซึ่งความแข็งแกร่งที่อาเว๊ยนมีนั้น ทำให้อาเซียนกลายเป็ฯภาคส่วนที่สำคัญนการเป็นห่วงโซ่อุปทานระดับโลก
            2) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในด้านนี้ คือการเน้นให้รัฐภาคีอาเซียนให้ความสำคัญกับนโยบายทางการเงินด้วย ตลอดจนขยายความร่วมมือในการร่วใปฏิรูปสถาบันทางการเงินระหว่างปะเทศต่างๆ ด้วย
             3) การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในด้านนี้ ให้มีการเข้าถึงเทคโนโลยี ตลาด และโดยเฉพาะอย่งย่ิด้านการเงิน เช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศ แลธครงการต่างๆ ผ่านกรอบความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมด้วยนอกจานี้ ยังรวมถึงการพยายามเพ่ิมความแข็งแกร่งในการให้ความร่วมมือเพื่อสรับสนุนให้เกิดความมั่นคงทางอาหารและพลังงานทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก
              ความร่วมมือด้านสังคม-วัฒนธรรม Socio-Coltural Coopertion
              1) การจัดการด้านภัยพิบัติ จากปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นตั้งใหญ่ในอาเซียนเมื่อปี 2011 ทีผ่านมา จนเป้ฯเหตุให้หลายๆ ประเทศในอาเซียนต้องประสบกับภาวะภัยพิบัติกันถ้วนหน้า ประเด็นน่าจะเรียกได้ว่า เป็นการพยายามหาวิธีแก้ไข ป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤตภัยพิบัติซ้ำอีก เห็นได้จากการสนับสนุนให้หุ้นส่วนที่มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกันก่อตั้งกลไกในอาเซียน ซึ่งรวมถึงหน่วยย่อยในระัดับท้องถ่ินองค์กรอิสระ NGOs องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรธุรกิจให้ความร่วมมืออย่างแข.ขันกับองค์กรสหประชาชุาติและตัวแทนระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความตระหนักรูแลสนับสนุในการมีส่วใร่วมฝยนโครงการต่างอๆ ที่เกี่ยวพันกับการลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติในรูปแบบการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม รวมทั้งเพ่ิมความร่วมมอืระหว่างศุนย์ประสานงานแห่งอาเซียนเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมว่าด้วยการจัดการภัยพิพบัติ รวมทั้งองค์การระหว่างประเทศ และตัวแทนอื่นๆ ให้ความร่วมมือผ่านกลไกดังกล่าวสามารถอำนวยความสะดวกได้อย่างรอบรื่น
            2) การพัฒนาอย่างยั่งยืนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ให้พัฒนาสภาพสังคมและเศรษฐกิจเป็นไปอย่างสมดุลและยั่งบืน โดยต้องพยายามลดหรือไม่ทำให้เกิดผลกระทบเชิงลบด้วย รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาและการถ่ายโอนเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การทำให้เป็นสังคมคารบอนต่ำ และสนับสนุนวัตกรรมทางการเงินเพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนการวิจัยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสภาพอากาศ
             3) สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ทรัพยากรมนุาย์ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตระดับสูง สนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงการให้บริการทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ และขยายความร่วมมือในการถ่ายโอนด้านเทคโนโลยีและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศในระดับที่หลากหลายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในระดับสูง ขยายการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานและเพิ่มคุณภาพให้มากขึ้น ตลอดจนสนับสนุนให้มีการดูแลการจ้างวานในระดับที่เหมาะสมทั้งรายได้ สภาพความเป็นอยู่ของแรงงานอพยพผู้ที่อาจจะเป็นเหยื่อจากเหตุอาชญากรรม หลีกเลี่ยนงการสั่งสมความรุนแรงและให้มีการเข้าถึงกฎหมายและระบบการพจารณาทางตุลาการที่เป็ฯธรรม เราจะเห้นว่าจากปกิญญาบาหลี 1 ถึงปฏิญญาบาหลี 3 นั้น อาเซียนค่อย ๆ ให้ความสำคัญกับความี่วมมือแต่ละระดับที่เปลี่ยนแปลงไปมากขึ้น จากเดิม ที่หวั่นเกรงภัยรอบตัว และให้ความร่วมมือเฉพาะรัฐภาคีที่อยู่ในอาเวียน เมื่อโลกเปลี่ยนจากโลก 2 ขั้วที่นำโดยโลกสเรีนิยมกับโลกสังคมนิยม มาเป็นโลกหลายขั้ว เมื่อสิ้นทศวรรษที่ 1990 ก็ทำให้ความร่วมมือของอาเซียนผลักดเข้าสู่ระดับโลกมากขึ้นท่ามกลางพลวัตรความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว...(www'siamintelligence.com/..จากอาเซียนสุ่ประชาคมอาเซียน ปฏิญญาบาหลี 1 ถึง 3 ความท้าทายใหม่และความเปลี่ยนแปลง)

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...