วัตถุประสงค์ของปฏิญญานี้ คือ
1) การส่งเสริมท่าทีร่วมของอาเซียนต่อประเด็นระหว่างประเทศที่เป็ฯเอกภาพแลเข้มแข็ง เพื่อส่งเสริมเสียงของอาเวียนในเวทีระหว่างปะรเทศที่เกี่ยวข้อง
2) ส่งเสริมศักยภาพของอาเซียนในการร่วมมือและรับมือกับประเด็นระหว่างประเทศ ที่จะเป็นประโยชน์และมีผลกระทบต่อประเทศและประชกรของอาเซียน
3) เสริมสร้างประชาคมอาเซียนให้เป็นองค์กรนิติธรรม โยมีกฎบัตรอาเวียนเป้ฯพื้นฐานและบรรทัดฐานของอาเวียน
4) ส่งเสริมศักยภาพของสำนักเลขาธิการอาเวียนในการสนับสนุนวิสัยทัศน์ และพัฒนาประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก...(www.mga.go.th/...อาเซียนไฮไลท์ส ๒๕๕๔)
แผนปฏิบัติการบาหลี 3 มีระยะเวลาตั้งแต่ปี 2013-2017 เกิดขึ้นจากการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเวียนครั้งที่ 19 ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิการยน 2011 โดยรัฐภาคีอาเซยนค่อนข้อางให้ความสำคัญกับลความเป็นไปในเวทีโลกมากขึ้น เห็นได้จาปฏิญญาครั้งนี้ มีเหนือหาที่ระบุชัดเจนและให้ความสำคัญกับความท้าทายบนเวทีโลกที่อาเซียนต้องเผชิญหลากหลายมิติมากขึ้น
ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะอาเซียนพยายามผลักดันความเป็นประชาคมอาเซียนให้โดดเด่นมากขึ้น ตามชื่อของปฏิญญา "Bali Declaration on ASEAN Community in a Global Community of Nation" หรือ Bali Concord III ในปฏิญญาดังกล่าวเราจะเห็นความชัดเจนในความร่วมมือภายใต้ประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาที่ชัดเจนขึ้น แลบ่อยครั้งที่ปฏิญญาดังกล่าวเราจะเห้ฯความชัดเจนขึ้น และบ่อยครั้งทีปฏิญญาดังกลาวเน้นย้ำถึงผลประดยชน์ร่วมกันในเวทีโลก
ความร่วมมือด้านการเมือง-ความมั่นคง (Politicaj-Securrity Cooperation)
1) สันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพ ในส่วนนี้สิ่งที่เปลี่ยนแปลงและอาเซียนให้ความสำคัญมากขึ้น คือ เร่ิมเน้นว่าจะสนับสนุวัฒนธรมของการรักษาสันติภาพ ที่รมวมถึงการเคาพรซึ่งความแตกต่าง สนับสนุนให้มีความอดทนอดกลั้นระหว่างกันและให้ทำความเข้าใจต่อความเชื่อ ความศรัทธาของแต่ละศาสนาและวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันตลอดจนให้เคารพต่อกฎหมายภายในประเทศนั้นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
นอกจากนี้ ยังพยายามเน้นบทบาทประชาคมอาเซียนด้วยการพูดถึงผลปรโยชน์ร่วมกันบนเวทีโลกอยุ่บ่อยครั้งและเน้นให้การสนับสนุนข้อริเริ่มต่างๆ ที่เป็นการเคลื่อนไหวบนเวทีโลกในลักษณะที่เป็นกลาง ดดยให้อาเซียนมีบทบาทเชิงบวกที่จะเป็นฝ่ายสนับสนุนให้เกิดความมั่นคงและสเรีภาพในระดับโลกด้วย
ตลอดจนให้รัฐภาคีอาเซียนมีบทบาทเชิงรุกในการมีส่วนร่วมในบทบาทที่จะรักดาาสันติภาพ และพยายามสร้างสันติภาพหลังเกิดเหุตขัดแย้ง รวมถึงเพิ่มความรวมมือภายใต้กรอบกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายในระดับประทเศที่เกี่ยวพันกัน เพื่อที่จะต่อสู้ำับการคอรับชันด้วย
2) การพัฒนาการเมือง ให้ปฏิบัติตามหลักการและวัตถุประสงค์ของอาเซียน ให้รัฐภาคีดำรงอยุ่ด้วยสันตุภาพ เป็นธรรม มีบรรยากาศที่สร้างความเป้ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน และให้ปฏิบัติตามหลักนิติตธรรม หลักธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตย และเป็นไปตมธรรมนูญของรัฐบาล ตลอดจนสนับสนุนและปกป้องหลักสิทธิมนุษยชน และหลักเสรีภาพ รวมทั้งพยายามทำให้เกิดความยุติธรรมในสังคม
ความร่วมมือด้านเสณาฐกิจ EconomicCooperation
1) การรวกลุ่มทางเศรษฐกิจ ในมิตินี้ อาเวียนให้ความสำคัญที่จะขยายความร่วมมือเพื่อมีส่วนร่วมกับข้อริเริ่มต่างๆทางเศรษบกิจทั้งใรระดับภูมิภาคและระดับโลกมากขึ้น ซึ่งความแข็งแกร่งที่อาเว๊ยนมีนั้น ทำให้อาเซียนกลายเป็ฯภาคส่วนที่สำคัญนการเป็นห่วงโซ่อุปทานระดับโลก
2) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในด้านนี้ คือการเน้นให้รัฐภาคีอาเซียนให้ความสำคัญกับนโยบายทางการเงินด้วย ตลอดจนขยายความร่วมมือในการร่วใปฏิรูปสถาบันทางการเงินระหว่างปะเทศต่างๆ ด้วย
3) การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในด้านนี้ ให้มีการเข้าถึงเทคโนโลยี ตลาด และโดยเฉพาะอย่งย่ิด้านการเงิน เช่น กองทุนการเงินระหว่างประเทศ แลธครงการต่างๆ ผ่านกรอบความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมด้วยนอกจานี้ ยังรวมถึงการพยายามเพ่ิมความแข็งแกร่งในการให้ความร่วมมือเพื่อสรับสนุนให้เกิดความมั่นคงทางอาหารและพลังงานทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก
ความร่วมมือด้านสังคม-วัฒนธรรม Socio-Coltural Coopertion
1) การจัดการด้านภัยพิบัติ จากปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นตั้งใหญ่ในอาเซียนเมื่อปี 2011 ทีผ่านมา จนเป้ฯเหตุให้หลายๆ ประเทศในอาเซียนต้องประสบกับภาวะภัยพิบัติกันถ้วนหน้า ประเด็นน่าจะเรียกได้ว่า เป็นการพยายามหาวิธีแก้ไข ป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤตภัยพิบัติซ้ำอีก เห็นได้จากการสนับสนุนให้หุ้นส่วนที่มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกันก่อตั้งกลไกในอาเซียน ซึ่งรวมถึงหน่วยย่อยในระัดับท้องถ่ินองค์กรอิสระ NGOs องค์กรภาคประชาสังคม และองค์กรธุรกิจให้ความร่วมมืออย่างแข.ขันกับองค์กรสหประชาชุาติและตัวแทนระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความตระหนักรูแลสนับสนุในการมีส่วใร่วมฝยนโครงการต่างอๆ ที่เกี่ยวพันกับการลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติในรูปแบบการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม รวมทั้งเพ่ิมความร่วมมอืระหว่างศุนย์ประสานงานแห่งอาเซียนเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมว่าด้วยการจัดการภัยพิพบัติ รวมทั้งองค์การระหว่างประเทศ และตัวแทนอื่นๆ ให้ความร่วมมือผ่านกลไกดังกล่าวสามารถอำนวยความสะดวกได้อย่างรอบรื่น
2) การพัฒนาอย่างยั่งยืนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ให้พัฒนาสภาพสังคมและเศรษฐกิจเป็นไปอย่างสมดุลและยั่งบืน โดยต้องพยายามลดหรือไม่ทำให้เกิดผลกระทบเชิงลบด้วย รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาและการถ่ายโอนเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การทำให้เป็นสังคมคารบอนต่ำ และสนับสนุนวัตกรรมทางการเงินเพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนการวิจัยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสภาพอากาศ
3) สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ทรัพยากรมนุาย์ วัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตระดับสูง สนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงการให้บริการทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ และขยายความร่วมมือในการถ่ายโอนด้านเทคโนโลยีและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศในระดับที่หลากหลายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในระดับสูง ขยายการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานและเพิ่มคุณภาพให้มากขึ้น ตลอดจนสนับสนุนให้มีการดูแลการจ้างวานในระดับที่เหมาะสมทั้งรายได้ สภาพความเป็นอยู่ของแรงงานอพยพผู้ที่อาจจะเป็นเหยื่อจากเหตุอาชญากรรม หลีกเลี่ยนงการสั่งสมความรุนแรงและให้มีการเข้าถึงกฎหมายและระบบการพจารณาทางตุลาการที่เป็ฯธรรม เราจะเห้นว่าจากปกิญญาบาหลี 1 ถึงปฏิญญาบาหลี 3 นั้น อาเซียนค่อย ๆ ให้ความสำคัญกับความี่วมมือแต่ละระดับที่เปลี่ยนแปลงไปมากขึ้น จากเดิม ที่หวั่นเกรงภัยรอบตัว และให้ความร่วมมือเฉพาะรัฐภาคีที่อยู่ในอาเวียน เมื่อโลกเปลี่ยนจากโลก 2 ขั้วที่นำโดยโลกสเรีนิยมกับโลกสังคมนิยม มาเป็นโลกหลายขั้ว เมื่อสิ้นทศวรรษที่ 1990 ก็ทำให้ความร่วมมือของอาเซียนผลักดเข้าสู่ระดับโลกมากขึ้นท่ามกลางพลวัตรความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว...(www'siamintelligence.com/..จากอาเซียนสุ่ประชาคมอาเซียน ปฏิญญาบาหลี 1 ถึง 3 ความท้าทายใหม่และความเปลี่ยนแปลง)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น