าอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาอาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาาาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาประจำชาติและภาษาราชการคุ่กับภาษาอักฤษในประเทศฟิลิปปินส ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
ภาษาตากการล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ16 เสียง เสียงสระ 5 เสียงก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตาการล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ /a/,/i/,/u/ มีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่มสระอีก 2 เสียง คือ /e/ และ /o/ นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 เสียงคือ /aI/,/oI/,/aU/ และ/iU/ พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
ไวยากรณ์ ภาษาตากการล็อกเรียงประดยคแบบกริยาภ-ประธาน-กรรม มีระบบการผันคำกรยาที่ซับซ้อนกว่าคำนาม คำขยายเรียงก่อนหรือหลังคำที่ถูกขยายก็ได้ ซึ่งทั้ง 2 แบบ จะใช้คำเชื่อมต่างกัน
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ินของและ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้งหมายถึงผู้อาศัยอยุ่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่างการเขียนของภาษาตาการล็อำ ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตงวรรษที่ 21 เหลืออยุ่เลย ประวัติศาสตร์ของภาษาจึงเหลืออยุ่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลาุงจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หลังสือเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากกาล็อกคือ Doctina Cristina ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขึยนด้วยภาษาสเปน และภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยุ่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสถาบันแห่งชาติโดยใช้ภาาาตากาล็อกเป็ฯพื้ฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดดยประธานาธิบดี มานูแอล เอเล, เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยชื่อเป็นภาษาปิลิปีโนใน พ.ศ. 2520 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ไ้รับการยอมรับจากผุ้ที่ไม่ได้พูดภาษาตากาล็อกโดยเฉพาะผุ้พุดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาาาประจำชาติจากภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ปสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนียงลูซอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
การจัดจำแนก ภาษาตากกาล็อกเป็นภาษาในกลุ่มฟิลิปปินส์กลาง ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ีความใกล้เคียงกับภาษาในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียอื่นๆ เช่น ภาาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และภาษาไปวัน มีความสัมพันธ์กับภาาาที่พุดในบิกอล และวิซายา เช่น ภาษาบิโกล ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาวาไร-วาไร และภาษาเซบัวโน ภาษาที่มีอิทธิพบต่อาษาตากาล็อกที่สำคัญได้แก่ ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษาสันสกฤต ภาษามลายูโลราณ และภาษาทมิฆ
การแพร่กระจายทางภูมิศาสสตร์ ส่วนที่เป็นบ้านเกิดของภาษาตากาล็อกหรือ katagalugan ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ของเกาะลูซอน โดยเฉพาะในอาโรรา บาตายัน บาตังกัส บูลาจัน ลามารียเหนือ กาบิเต ลากูนา เมโทรมะนิลา นูเอบาเอซิฮา เกซอน และริซัล ภษาตากการล็อกใช้พูดเป็นภาษาแม่โดยผุ้ที่อยู่ในเกาะลูบัว มารินดูเก ทางเหนือแบะทางตะวันตกของมินโดโร มีผุ้พูดประมาณ 64.3 ล้านคน ผู้พูดาษาตากาล็อกยังแพร่กระจายไปยงบริเวณอืนๆ ทั่วโลก แตามีการใช้น้อยในการสื่อสารระหว่างชนกลุ่มน้อยในฟิลิปปินส์ มีผู้พูดภาษานี้ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ระบบการเขียน ภษาตากาล็อกเคยเขียนด้วยอักษรบายบายิน ก่อนการเข้ามาของสเปน ในศตวรรษที่ 16 อักษรนี้ประกอบด้วยสระ 3 ตัวและพยัญชนะ 14 ตัวเมื่อเที่ยบกับตระกูลอักษรพราหมี อักษรนี้มีความคล้ายคลึงกับอักษรกวิโบราณของชวา ซึ่งเชื่อว่า สืบทอดมาจากอักษรบูกิส ในซูลาเวซี ต่อมาอักษรนี้ได้เลิกใช้ไปเพราะนิยมใช้อักษรละติน ที่เข้ามาในช่วงที่เป็นอาณานิคมของเปน อักษรบายบายินถูกกำหนดด้วยยูนิโคด รุ่น 3.2 ในช่วง 1700-1701F ด้วยชื่อ "Tagalog"
ในช่วงศตวรรษที่ 20 ภาษาตากาล็อกเขียนด้วยอักษรละติน โดยใช้ระบบการออกเสียงของภาษาสเปน เมื่อระบบภาษาประจำชาติได้พัฒนาขึ้นโดยใช้พื้นฐานจากภาษาตากกาล็อก โลป เค. ซานโตส ได้พัฒนาตัวอักษรใหม่ประกอบด้วยอักษร 20 ตัว.. เครื่องหมายng และรูปพหูพจน์ mng เป็นตัวย่อ ออกเสียวว่า นัง และมางา ตามลำดับหมายถึง ของ เมื่อ
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภษาปิลิปิโนเป้นภาาาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาาาประจำชาติขึ้นใหม่ซึ่งเป็ฯที่รู้จักในชื่อภาษาฟิลิปิโน
ความแตกต่างระหว่างภาษาฟิลิปีโนกับภาษาตากาล็อก คำว่าฟิลิปิโนและตากาล็อกเป็นชื่อของภาษาที่ใหกล้เคยงกัน อาจจะหมายถึงภาษาเดียวกันหรือคนละภาษาก็ได้ภษาฟิลิปีโนเป็นภาษาประจภชาติของฟิลิปปินส์ มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่ราว 30% ของประชากร 84 ล้านคน และเป็ฯภาษาที่สองของประชกรอีกราว 80% ส่วนภาษาตากกาล็อกมีสถานะเป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตากาล็อกโดยผู้พุดเป็นภาษาแม่น้อยกว่าภาษาฟิลิปิโน เพราะผุ้ที่ไม่ใช่ชาวตากาล็อกซึ่งอยุ่ห่างออกไปจากเขตของชาวตาการล็อกคือภาคกลางและภาคใต้ของเกาะลูซอน ใช้ภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาแม่แต่เรียกตัวเองว่าเป็นชาวตากาล็อกด้วย โดยทั่วไปผุ้ที่พุดภาษาฟิลิปีโนเป็นภาาาแม่จะไม่มีใครพูดว่าใช้ภาษาตาการล็อกเป็นภาษามี่สอง แต่มักถือว่าเป็นผุ้พุดของทั้งสองภาษา ความแตกต่างที่สำคัญอยู่ที่การเขียนและการแปรผันของคำศัพท์มากกว่า
ภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาราชการในโรงเรียนและใช้ในสื่อต่างๆ แต่มีความสำคัญนอยกว่าภาษาอังกษ รวมทั้งในการเรยนการสอนด้านวิทยาศสาตร์แต่ถือว่าคู่คีกับภาษาอังกฤษในด้านการต้าขายและการติดต่อราชการ ภาษาฟิลิปิโนใช้เป็นภาษากลางทั่วประเทศฟิลิปปินส์โดยเฉพาะการบริการสาธารณะในเขตที่ไม่ใช้ภาษาตาการล็อก
ภาษาตากาล็อกเป็นภาษาที่เก่ากว่า มีศุนย์กลางอยุ่ในเขตของชาวตากาล็อกในเกาะลูซอน ภาษาฟิลิปิโนมีประวัติย้อนหลัง ความแตกต่างเร่ิมชัดเจนเมื่อ พ.ศ. 2515 ก่อนจะเป็นภาาาราชการเมือ พ.ศ. 2530 ภาษาฟิลิปิโนมีอักษร 28 ตัว (รวม "ng" ที่ถือเป็นอักษรเดี่ยวและอักษรมี่มาจากภาษาสเปน n ) และมีระบบของเสียงและคำยืมที่เปิดหว้างสำหรับคำยืมจากภาาาต่างชติและภาษาพื้นเมืองอื่นๆ ภาษาตากาล็อกมีอักษร 20 ตัว และระบบของหน่วยสียงที่ไม่เปิดกว้างสำหรับภาษาอื่นนอกจากภาาาละตินของวาติกัน
เนื่องจากตากาล็อกเป็นชื่อของกลุ่มชนด้วย จึงมีความอ่อนไหวทางการเมืองหากจะกล่าวว่าภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาเดียวกับภาษาตากาล็อกคำว่าฟิลิปีโนเป็นคำที่เป็นกลางโดยมาจากชื่อของประเทศไม่ได้มาจากขื่อชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ภาษาฟิลิปิโนมีบทบาทเป็นภาษากลางในบริเวณที่เคยใช้ภาษาอื่นๆ มาก่อน เช่น ในเกาะมินดาเนาที่เคยใช้ภษาเซบัวโนเป้ฯภาาากลางแฃละเมืองบากุยโอที่เขยใช้ภาษาอีโลกาโนเป็นภาษากลาง เนื่องจากภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาในโรงเรียน การศึกษรจะทำให้ช่องว่างระหว่างภาษาตากาล็อกกับภาษาฟิลิปิโน ห่างไกลกันยิ่งขึ้น...th.wikipedia.org/wiki/ภาษาตากาล็อก