กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก เป็นสาขาของกลุ่มภาษาย่อยมาลาโย-โพลิเนเซียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่ม 700 ภาษา ประกอบด้วย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลิเนเซยกลาง ซึ่งจำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาบีมา-ซุมบา, กลุ่มภาษาติมอร์-ฟลอเรส, กลุ่มภาษาดามัรตะวันตก, ภาษาบาบัร, กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกเฉียงใต้, ภาษาเตอร์-กูร์, ภาษาอารู, ภาษาเคโกวีโอ, กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ, กลุ่มภาษามูลูกลาง.. กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออก จำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาฮัลมาเฮอราใต้-นิวกินีตะวันตก, ภลุ่มภาษามหาสมุทร
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือกลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแกล่งกำเนิดอยุ่ที่เกาะซุลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี หรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซุลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โรและภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-ฑพบีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็ฯภาษาที่ใช้พุดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมุ่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาาาที่จัดอยุ่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาขิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุทารตราตอนกลางรวมทังภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทยและภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ
กลุ่มภาษาอักลัน ประกอบด้วยสมาชิกสองภาษาคือภาษาอักลันและภาษาอีบาไฮซึ่งใช้พุดในจังหวัดอักลัน เกาะปาไน ประเทศฟิลิปปินส์ อยุ่นกลุ่มภาษาวิซายันตะวันตก เป็นภาาาหลักของจังหวัดอักลัน รวมทั้งสองภาษามีผุ้พุดเป็นภาษาแม่ 400,000 คน
กลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จาม เป็นกลุ่มของภาษาที่ใกล้เคียงกันซึ่งใช้พุดในบริเวณผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยภาษาอาเจะฮ์และกลุ่มภาษจาม การแยกจากกันระหว่างสองกลุ่มนี้เกิดขึ้นนามมากแล้ว จากฐานข้อมูลคำศัพท์พื้นฐานของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน พบความเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จามและภาษามอเกลนราว 70%
กลุ่มภาษาตองงิก เป็นกลุ่มภาษาย่อยในกลุ่มภาษามาลาโย-พอลินีเซียน ประกอบไปด้วย 2 ภาษา คือภาษานีวเวและภาษาตองงาและอาจจะมีภาษานีอูอาโฟโออูเป็นภาษาที่สามในกลุ่มนี้
ภาษาลาหลี เป็นภาษาท้องถ่ินของเกาะบาหลีรประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาบอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซัก และภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษา ระบบการเขียนสองแบบ คืออักษรบาหลีและอักษรละติน
กลุ่มภาษาวิชายัน เป็นกล่มภาษาในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาฟิลิปปินสกลาง กลุ่มภาษานี้ส่วนใหย๋ใช้พูดในบริเวณวิซายา แต่ก็มีผุ้ใช้ในบริเวณบิกอ(โดยเฉพาะซอร์ซอกอนและมัสบาเต) หมุ่เกาะทางใต้ของลูซอน ทงเหนือลแะทางตะวันตกของมินดาเนา และในจังหวัดซูลู ที่อยุ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมินดาเนา ผู้อยุ่ในเมโทรมะนิลาบางส่วนพูดภาษาในกลุ่มนี้ด้วย
สมาชิกของภาษาในกลุ่มนี้มีมากกว่า 30 ภาษา ภาาที่มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดคือภาษาเซบัวโนมี 20 ล้านคน ในบริเวณวิซายากลาง ทางตะวันตกและทางเหนือของมินดาเนา อีก 2 ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รุ้จักกันดีคือภาษาฮิลิไกนอน มีผู้พูด 7 ล้านคนในวิซายาตะวันตก และภาษาวาไร-วาไร มีผุ้พูด 3 ล้านคนในวิชายาตะวันออก
ระบบการเรียกชื่อ ผุ้พุกลุ่มภาษาวิซายันเป็นภาษาทั้งภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน และภาษาวาไร-วาไรจะเรยกภาาาของตนว่าบีซายา แม้ว่าภาษาที่ต่างกันเหล่านี้จะฟังกันไม่เข้าใจก็ตาม สำหรับผู้พูดกลุ่มภาษานี้นอกวิซายาจะไม่ใบ้คำว่าบีซายาอ้างถึงภาษาเซบัวโน ในขณะที่ชาวเตาซุกที่เป็นมุสลิม คำว่าวิซายาหมายถึงชาวฟิลิปปินส์ที่นับถือศาสนาคริสต์th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาวิซายัน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น