ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมุ่เกาะในเอชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ในระดับมาตรฐานเดียวกับ ตระกูลภาาาอินโด-ยุโรเปียนและตระกุลภาษายูราลักคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้
คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา
ประวัติศาสรเร่ิมต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาออสโตรนีเซียนย้อนกลับไปเมื่อครั้งยังเป็นภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม จุดเร่ิมต้นของภาษานี้อยู่ในไต้หวัน เพราะบนเกาะนี้มีความแตกต่่างของภาาาตระกุลนี้มา ดยมีถึง 9 จากทั้งหมด 10 สาขา ทั้งนี้นักภาษาศาสตร์ถือว่า จุดกำเนิดของภาษาจะอยุ่ในที่ๆ มีความแตกต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มาก
การศึกษาจุดเริ่มต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบวา่จุดกำเนิดนั้นน่าจะอยู่ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่า ผุ้พูดภาษานี้อพยพไปจากจีนตอนใต้ ไปสู่ไต้หวันเมื่อราว 8,000 ปีมาแล้ว จากนั้นจึงอพยพออกทางเรือไปยังหมุ่เกาะต่างๆ เมื่อราว 6,000 ปีมาแล้ว กระนั้นก็ตาม ยังมีช่องว่างในช่วงเวลาดังกล่าวอยุ่เพราะนักภาาาศาสตร์พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับภาษาออสโตรนีเซียนดังเดิมยุติแค่ชายฝั่งตะวันตกของไต้หวัน แต่ไม่มีความเช ่อมโยงกบภาาบนแผ่นดินใหญ่ยกเว้นภาษากลุ่มจาม แต่มีหลักฐานว่าเป็นภาษาของผุ้อพยพเข้าไปใหม่
ได้มีการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนเข้ากับภาษาตระกุลอืนๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ สมมติดฐานที่ดุสอดคล้องที่สุดคือ สมมติฐานออสโตร-ไท ซึ่งเชื่อมโยงตระกูลภาษาไท-กะไดอาจเป็นสาขาของภาษากลุ่มบอร์เนียวฟิลิปปินส์ แต่ยังไม่ได้รับการสนับสนุจากนักภาษาศาสตร์มากนัก
นอกจากนนียังมีข้อเสนอว่าภาษาญี่ปุ่นอาจมีความเกี่ยวพันกับภาษาตระกูลออโตรนีเซียน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาตระกูลนี้ ดดยผุ้ที่เสนอทฤษฎีนี้เกล่าวว่าภาษาตระกูลออสโตรนีเซยนเคยครอบคลุมทางเหนือของเกาฟิร์โมซา (ทางตะวันตำของญี่ปุ่น เช่นหมู่เกาะริวกิว และคิวชู) เช่นเดี่ยวกับทางใต้ ไม่มีหลักฐานทางพันธุศาสตร์แสดงถึงความเกี่ยวพันระหว่างผุ้พูดภาษาญี่ป่นุโบราณกับผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม ซึ่งน่่าจะเป็นการติดต่อสัมพันธ์กันธรรมดาที่ไม่มีผลต่อการหลอมรวมทางวัฒนธรร การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ของชาวริวกิว เทียบกับชาวญี่ปุ่และชาวพื้นเมืองของไต้หวัน พบว่าใกล้เคียงกับชาวญี่ป่นุมากว่า ดังนั้น หากจะมีการเาี่ยวข้องกันจริง จะต้องเกิดในจีนแผ่นดินใหญ่ก่อนที่ผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนจะอพยพไปได้หวัน และผู้พูดภาษาญี่ปุ่่นจะอพยพไปญี่ปุ่น
การกำหนดลักษณะทั่วไปของตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลทื่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุมย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประโยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้ของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลัีงอินโดนีเซีย
ภาษาตระกูลนี้มีแนวโ้น้มจะใช้การซ้ำคำ เป็นภาษารูปคำติดต่อ พยางค์เป็นแบบพยัญชนะ-สระ
ภาษาหลัก ในตระกุลนี้มีผุ้พูดมากว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวดน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีดฃลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาาามินังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก(หรือภาษาฟิลิปิโน ประเทศฟิลิปปินส์) ภาษามลายู (มาเลเซย สิงคโปร์ บรูไน) ภาษามาลากาซี (มาดากัสการ์) ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต) ภาษาฟิจิ (ฟิจิ) ภาษาซามัว (ซามัว) ภาษาตาฮีตี (เฟรนช์โปลินีเซียน) ภาษาตองกา (ตองกา) ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส) ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์) ภาษาชอมอร์โร (กวมและหมู่เกาะนอร์เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน) ภาษามาร์แชลล์ (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น