วันอังคารที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Austronesian languages : Basa Jawa

            การกำหนดลักษรณะทั่วไปของตะกุลภาาาออสโตนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลที่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุ่มย่อยคือ
            - ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประดยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้นของกริยา
            - ภาษาแบบอินโดนีเซีย
            - ภาษาแบบหลังดินโดนีเซีย
           ภาษาในตระกูลนี้มีผุ้พูดมากกว่า 4 ล้านคน ได้แก่
           ภาษาชวา คือภาษาพูดของผุ้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75 ล้านคน ภาษาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนจึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียนและภาษามลายู ผุ้พูดภาษาชวาพุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์ และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาำม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลยูได้
       
ภาษาชวาอยุ่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก มีลักษระทางภาษาศาสตร์กล้เคียงกับภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษามาดูรา ภาษาบาหลี และภาษากลุ่มุมาตราและบอร์เนียวอื่ๆน รวมทั้งภาษามาลากาซีและภาษาฟิลิปิโน ภาาาชวาใช้พุดในบริเวณชวากลางและชวาตะวันออกและชายฝั่งทางเหนือขปงชวาตะวันตก ภาษาชวาได้ใช้เป็นภาษาเขียนควบคู่ไปด้วย เป้นภาษาในศาลที่ปาเล็มบัง สุมาตราใต้จนกระทั่งถูกดัตช์ยึดครองเมื่อพุทธศตวรรษที่ 23
            ภาษาชวาจัดว่าเป้นภาษาคลาสสิกภาษาหนึ่งของโลก มีวรรณคดีมานานถึง 12 ศตวรรษ นักวิชาการแบ่งภาษาชวาออกเป็นสี่ยุคด้วยกันคือภาษาชวาโบราณ เร่ิมจากพุทธศตวรรษที่ 14 ภาษาชวายุคกลางเริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 18 ภาษาชวายุคใหม่เริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 21 และภาษาชวาปัจจุบันเริ่มในพุทธศตวรรษที่ 25 ภาษาชวาเขียนด้วยออักษรชวาที่พัฒนามาจากอักษรพราหม่ อักษรอาหรับ-ชวาที่เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับภาษาชวา และอักษรละติน
          แม้ว่าจะไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ ภาาาชวาถือวาเป็นภาาาในตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนที่มีผุ้พุดเป็นภาาาแม่มาอกประมาณ 80 ล้านคนอย่างน้อย 45% ของประชากรทั้งหมดในอินโดนีเซียเป็นผุ้พุดภาษาชวาหรืออยุ่ในบริเวณที่ใช้ภาษาชวาเป็นภาษาหลัก และมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษาอินโดนีเซียที่เป้ฯสำเรียงหนึ่งของภาษามลายู ภาษาชวามีสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ ชวากลาง ชวาตะวันออก และชวาตะวันตก
            Ngoko เป็นการพูดอย่างไม่เป็นทางการระหวางเพื่อปละฐาติสนิทและใช้ดดยคนที่ีฐานะสุงกว่าเมื่อพุดกับคนที่มีฐานะต่ำกว่า เช่นผุ้ใหญ่ใช้กับเด็
            Madya  เป็นรูปแบบกลางๆ ระหว่าง Ngoko กับ Krama สำหรับในสถานะที่ไม่ต้องการทั้งความเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
            Krama เป็นแบบที่สภาพและเป็นทางการ ใช้กับคนที่อยุ่ในถานะเดียวกัน เป็นรูปแบบที่ใช้พุดในที่สาธารณะ การประกาสต่างๆ ใช้ดดยคนที่มีฐานะต่ำกว่าเมือพูดกับคนที่มีฐานะสูงกว่า เช่น เด็พูดกับผู้ใหญ่
           สภานะในสังคมที่มีผลต่อรูปแบบของภาษาชวากำหนดดดยอายุหรือตำแหน่งในสังคม การเลือกใช้ภาษาระดับใดนั้นต้องอาศัยความรอบรู้ในวัฒนะรรมชวาและเป้นสิ่งท่ยากสำหรับการเรียนภาษาชวาของชาวต่างชาติ
           สำเนียงของภาษาชวาแบ่งได้เป็นามกลุ่มตามบริวเณย่อยที่มีผุ้พุดภาษาเหล่านี้อาเศัยอยุ่ คือ ภาษาชวากลาง ภาษาชวาตะวนออก และภาษาชวาตะวันตก ความแตกต่างระหว่างสำเนียงอยุ่ที่การออกเสียงและคำศัพท์
           ภาษาชวากลางเปนสำเนียงที่ใช้พุดในสุกรการ์ตา และยอร์กยาการ์ตา ถือเป็นเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษานี้ มีผุ้พุดกระจายตั้งแต่เหนือถึงใต้ของจังหวัดชวากลาง
           ภาษาชวาตะวันตกใช้พูดทางตะวันตกอขงจังหวัดชวากลางและตลอดทั้งจังหงังาตะวันตก โดดยเฉพาะชายฝั่งทางตอนเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษาซุนดา และยังมีศัพท์เก่าๆ อยู่มาก
           ภาษาชวาตะวันออกเริ่มใช้พุจาฝั่งตะวันออกของกาลี บรันตัส เกอร์โตโซโนไปจนถึงบาญังกี ครอบคลุมบริเวณส่วนใหญ่ของ จ. ชวาตะวันออก รวมเกาะมาดูราด้ว สำเรียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษามาดูรา สำเนียงตะวันออกสุดได้รับอิทธิพลจากภาษาบาหลี
           
 การออกเสียง ชาวชวาส่วนใหญ่ยกเว้นในชวาตะวันตก ยอมรับการออกเสียง a เป็น/ออ/เช่น apa ในภาษาชวาตะวันตกออกเสียงเป็นอาปา ส่วนภาษาชวากลางและภาษาชวาตะวันออก ออกเสียงเป็นออปอ เมื่อมีหน่วยเสียงที่มีดครงสร้างเป็นสระ-พยัญชนะ-สระ โดยสระทั้งสองเสียงเป็นเสียงเดียวกัน ภาษาชวากลางลดเสียงสระตัวท้าย i เป็น e และ u เป็น o ภาษาชวาตะวันออกลดทั้งสองเสียงส่วนภาษาชวาตะวันตกคงเสียงเดิมไว้ เช่น cilik ภาษาชวากลางเป็น จิเละ ภาษาชวาตะวันออกเป็น เจะเละ ภาษาชวาตะวันตกเป็น จิลิก
            ภาษาชวาโบราณ หลักฐานการเขียนในเกาะชวาย้อหลังไปได้ถึงยุคของจารึกภาษาสันสกฤต จารึกตรุมเนคระ ใน พ.ศ. 993 ส่วนการเขียนด้วยภาษาชวาที่เก่าที่สุดคือจารึกสุกภูมิซึ่งระบุวันที่ 25 มินคม พ.ศ. 1346 จารึกนี้พบที่เกอดีรีในชวาตะวันออกและเป็นสำเนาของจารึกต้นฉบับที่น่าจะมีอายุ 120 ปีก่อนหน้านั้น แต่หลักฐานเหลือเพียงจารึกที่เป้นสำเนาเท่านั้น เนื้อหากล่างถึงการสร้างเขื่อนใกล้กับแม่น้ำสรินยังในปัจจุบัน จารึกนี้เปนจารึกรุ่นสุดท้ายที่ใช้อักษรปลลงะ จารึกรุ่นต่อมาเริ่มใช้อักษรชวา
           ในพุทธศตวรรษที่ 13-14 เป็นยุคที่เร่ิมมีวรรณคดีพื้นบ้านในภาษาชวา เช่น สัง ฮยัง กะมาฮะยานีกัน ที่ได้รับมาจากพุทธศาสนา และกากาวัน รามายานา ที่มาจากรามายณะฉบับภาษาสันสกฤต แม้วาภาษาชวาจะใช้เป็นภาาาเขียนที่หลังภาาามลายุ แต่วรรณคดีภาษาชวายังได้รับการสืบทอดจนถึงปัจจุบัน เช่นวรรณคดีที่ได้รับมาจากรามายณะและมหาภารตะยังได้รับการศึกษาจนถึงทุกวันนี้
           การแพร่กระจายของวัฒนธรรมชวารวมทั้งอักษรชวาและภาาาชวาเร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1836 ซึ่งเกิดขากการขยายตัวไปทางตะวันออกของราชอาณาจักรมัชปาหิตซึ่งเป็นอาณาจักรที่นับถือศาสนาพราหมณ์และศสนาพุทธ ไปสู่เกาะมาดูรและเกาบาหลี ภาษาชวาแพร่ไปถึงเกาะบลาหลีเมื่อ พ.ศ. 1906 และมีอิทธิพลอย่างชึกซึ้ง ดดยภาาชวาเข้ามาแทนที่ภาษาบาหลีในฐานะภาาาทางการปกครองและวรรณคดี ชาวบาหลีรักษาวรรณคดีเก่าที่เป็นภาาาชวาไว้มา และไม่มีกรใช้ภาษาบาหลีเป็นภาษาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24
           ในยุคของราชอาณาจักรมัชปาหิจ ได้เกิดภาษาใหม่ขึ้นคือภาษาชวายุคกลางที่อยุ่ระหว่งภาษาชวาโบราณและภาาาชวาสมัยใหม่ จริงๆ แล้ว ภาษาชวายุคกลางมีความคล้ายคลึงกับภาาาชวาสมัยใหม่จนผุ้พูดภาาชวาสมัยใหม่ที่ศึกษาวรรณคดี สามารถเข้าใจได้ ราชอาณาจักรมัชปาหิจเสื่อมลงเนื่องจากการรุกรานของต่างชาติและอิทธิพลของศาสนาอิสลาม และการคุกคามของสุลต่านแห่งเดมัที่อยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของเกาะชวา ราชอาณาจักรมัชปาหิติ้นอำนาจลงเมื่อ พ.ศ. 2021
            ภาษาชวาใหม่ ภาษาชวาสมัยใหม่เร่ิมปรากฎเมื่อพุทธศตวรรษที่ 21 พร้อมๆ กับการเข้ามามีอิทฑิพลของศาสนาอิสลาม และการเดิกรัฐสุลต่านมะตะรัม รัฐนี้เป็นรัฐอิสลามที่สืบทอดวัฒนธรรมดั้งเดมจากยุคราชอาณาจักรมัชปาหิตวัฒนธรรมชวาแพร่หลายไปทางตะวันตก เมื่อรัฐมะตะรัมพยายามแพร่อิทธิพลไปยังบริเวณของผุ้พูดภาษาซุนดาทางตะวันตกของเกาะชวาทำให้ภาษาชวากลายเป็นภาษาหลักในบริเวณนั้น เช่นเดียวกับภาษาบาหลี ไม่มีกรใช้ภาษาซุนดาเป็นภาาาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 และได้รับอิทธิพลจากภาษาชวามาก คำศัพท์ 40 % ในภาษาซุนดาได้มาจากภาษาชวา
       
แม้จะเป็นจักรวรรดิอิสลาม และราชอาณาจักรมะตะรัมก็ยังรักษาหน่วยเดิมที่มาจากวัฒนธรรมเก่าไว้และพยายามรวมเข้ากับศาสนาใหม่ จึงเป็นเหตุผลที่ยังคงมีการใช้อักษรชวาอยุ่ ในขณะที่อักษรดั้งเดิมของภาษามลายูเลิกใช้ไปตั้งแต่เล่ยนมานับถือศาสนอิสลาม โดยหันไปใช้อักษรที่มาจากอัษรอาหรับแทน ในยุคที่ศาสนาอิสลามกลังรุ่งเรืองราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เกิดภาชวาใหม่ขึ้น ทีเอกสารทางศาสนาอิสลามฉบับแรกๆ ที่เขียนด้วยภาษาชวาใหม่ ซึ่งทีคำศัพท์และสำนวนที่ยืมมาจากภาษาอาหรับมาก ต่อมาเมือได้รับอิทธิพลจากภาษาดัตซ์และภาษาอินโดนีเซีย ทำให้ภาษาชวาพยายามปรับรูปแบบให้ง่ายขึ้น และมีคำยืมจากต่างชาติมากขึ้น
          ภาษาชวาสมัยใหม่ นักวิชาการบางคนแยกภาษาชวาที่ใช้พูด ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 ว่าเป็นภาษาชวาสมัยใหม่ แต่ก็ยังคงถือว่เป็นภาษาเดียวกับภาษาชวาใหม่
          อักษรชวาแต่เดิมภาษาชวาเขียนด้วยอักษรพืนเมืองคือกอักษรชวา ต่อมาจึงเชียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรโรมัน อักษร f q v x และ z ใช้เฉพาะคำยืมมาจากภาาาอาหรับและภาษาในยุโรปเท่านั้น
          ภาษาชวาเป็นภาาาที่ใช้พูดทั่วอินโดนีเซีย ประเทศเพื่อบ้านในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เนเธอร์แลนด์ สุริมาเน นิวคาเลโดเนีย และประเทสอื่นๆ ชุมชนที่ใหญ่ที่สุดของผู้พูดภาาานี้อยู่ในชวา 6 จังหวัดและจัหวัดลัมปุง บนเกาะสุมารตรา จากข้อมุลพ.ศ. 2523 ชาวอินโดนีเซียน 43% ใช้ภาษาชวาในชีิวตประจำวัน โดยมีผุ้พูดภาษาชวาได้ดีมากว่า 60 ล้นคน ในแต่ละจังหวัดของอินโดนีเซียนมีผุ้พุดภาาาชวาได้ดีอย่างย้อน 1 %
          ในชวาตะวันออก มีผู้พูดภาษาชวาในชัิวิตประจำวัน ๅ74.5% ภาษามาดูรา 23% และภาษาอนโดนีเซีย 2.2% ในจังหวัดลัมปุง มีผุ้พดูภาษาชวาในชีวิตประจำวัน 62.4% ภาษาลัมปุง 16.4% ภาษาซุนดา 10.5% และภาษาอินโดนีเซีย 9.4% ส่วนในจาการ์ตา มีจำนวนผุ้พูดภาษาชวาเพ่ิมสูงขึ้นถึง 10 เท่า ในเวลา 25 ปี แต่ในอาเจะห์กฃลับลดจำนวนลง ในบันเต็น ชวาตะวันตก ผุ้สืบทอดมาจากรัฐสุลต่านมะตะรัมในชวากลาง ยังใช้รูปแบบโบราณของภาษาชวา มผุ้พุดภาษาซุนดาและภาษาอินโดนีเซียตามแนวชายแดนติดกับจาการ์ตา
         
จังหวัดชวาตะวันออกยังเป็นบ้านเกิดของผุ้พุดภาษามาดุรา แต่ชาวมาดูรา แต่ชาวมาดุร่าส่วนใหญพูดภาาาชวาได้ด้วย ตั้งแต่พุทะศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมามีการเขียนภาษามาดุราด้วยอักษรชวา ในลัมปุง มีชนพื้นเมืองที่พูดภาษาลัมปุงเพียง 15% ที่เหลือเป็นผู้อพยพมาจากส่วนอื่นๆ ของอินโดนีเซย ซึ่งผู้อพยพเข้ามาส่วนใหญ่เป็นผุ้พูดภาษาชวา ในสุรินาเมซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของดัตช์ ในอเมริการใจ้ มีผุ้ที่เป็นลูกหลายของชาวชวาและยังพุดภาษาอยุ่ราว เ้จ็ดหมืนห้าพันคน
            ภาษาชวาในปัจจุบัน ไม่ใช่ภาษาประจำชาติ โดยมีสถานะเป็นแค่ภาาาประจำถิ่นในจังหวัดที่มีชาวชวาอยุ่เป็นจำนวนมาก มีการสอนภาษาชวาในโรงเรียน และมีการใช้ในสื่อต่างๆ ไม่มีหนังสือพิมพ์รายวันเป็นภาษาชวาแต่มีนิตยสารภาษาชวา ตั้งแร่ พ.ศ. 2546 สถานีโทรทัศน์ท้องถ่ินของชวาตะวันออกออกอากาศเป็นภาษาชวาด้วยสำเรียงชวากลางและภาษามาดุรด้วย ในพ.ศ. 2548 มีการออกนิตยสารภาษาชวา ในจาการ์ตาth.wikipedia.org/wiki/ภาษาชวา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...