ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด- ยูโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้
กล่มภาษาหมู่เกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพุดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษาที่เหลืออีก 4-5 ภาาาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีค
วามสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนีเซีย ราว 1,200 ภาษาที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรัีบรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาาาจันกลางหลัีงจากที่รัฐบาลชองสาธารณรัฐจีนเร่ิมจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทัวไปทำได้ยาก และมัีกมีข้อโต้แย้งเสมอ ซึ่้งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน โดยทั่วไปมีการจัดแบงดังนี้
ภาษาที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ กลุ่มภาษาอตายัล ( ภาษาอตายัล, ภาษาซีติกหรือภาษาตรูกู, ภาษาบูนัน) กลุ่มภาษาอามิส( ภาษาอามิส, ภาษาอามิสสนาเตารัน, ภาษากาวาลัน, ภาษาไปวัน, ภาษาปาเซะห์, ภาษาไซซิยัต, ภาษาปูยูมา, ภาษารูไก, ภาษาเตา, ภาษาเทา) กลุ่มภาษาเซา (ภาษาเซา, ภาษาซาอารัว, ภาษากานากานาบู)
กลุ่มภาษาเซา (ภาษาบาบูซะห์, ภาษาบาซาย, ภาษาเกอตางาลัน, ภาษาเกอตางาลัน, มากาเตา, ภาษามากัตเตา, ปาโปรา, ภาษาโปโปรา, ภาษาซีรายา, ภาษาตริวัน, ภาษาเตากัส)
กลุ่มภาษาจาม เป็นกลุ่มภาษาจำนวน 10 ภาษาซึ่งใช้พุดในกัมพุชา เวียดนามและเกาไหหลำ อยุ่ในกลุ่มภาษามาเลย์อิก ตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน ภาษาจารายและภาษาจาม (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) เป็นภาษาที่มีผุ้พูดมากที่สุด ภาษาทซัตเป็นภาษาที่มีผุ้พูดน้อยที่สุด การแบ่งย่อยในกลุ่มนี้ได้แก่ กลุ่มจามเหนือ ภาษาทซัต กลุ่มจามใต้ แบ่งเป็นกลุ่มจามชายฝั่ง ( ภาษาจาม, ภาษาจรู, ภาษารอกลาย, ภาษาจักเกีย) กลุ่มจามที่ราบสูง(ภาษาฮาโรย, ภาษาจาราย, ภาษาราเด)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเวา โดยทั่วไป กลุ่มาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก(บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภุมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้อลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษา รวมทั้งภาษาในเหาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาาฮาซัน และกลุ่มภาาาโมนโคนโคว-โคโรนตาดล) ไม่ไดอยุ่ในกลุ่มซุนดา- ซูลาเวซีแต่อยู่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ ภาษที่จัดอยู่ในกลุ่มได้แก่ กลุ่มภาษาโตมีนี, กลุ่มภาษาซาลวน, กลุ่มภาษาไกลี, กลุ่มภาษาซูลาเวซี, กลุ่มภาษาบังกู-โตกาลี,กลุ่มภาษาโวตู-โวลิโอ, กลุ่มภาษามุนา-บูโตน, ภาษากาโย, กลุ่มภาษาสุมาตรา, กลุ่มภาษามาเลย์อิก, กลุ่มภาษาลัมปูติก, ภาษาซุนดา(ในชวาตะวันตก), ภาษาชวา, ภาษามาดูรา, กลุ่มภาษาลาหลี-ซาซัก, ซุมบาวา, ภาษาปาเลาและภาาาชามอร์โรในหมู่กาะมาเรียนรวมทั้งเกาะกวม
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนมีรวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทงเหนือของเกาะซูลาเวซีและเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก(บอร์เนียว-ฟิลปปินส์)และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภุมิศาสตร์
ภาษาในกลุ่มนี้มีจำนวนมาก แบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ มากมาย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกันยังไม่แน่นอน
กลุ่มฟิลิปปินส์เหนือ
กลุ่มภาษาบาชิอิก มี 4 ภาษาระหวางเกาะลูซอนกับเกาะฟอร์โมซา รวมทั้งภาษาอีวาตันในฟิลิปปินส์ และภาษายามิในไต้หวัน, กลุ่มภาษาลูซอนเหนือ ได้แก่ ภาษาอีโลกาโน, กลุ่มภาษาอร์ดิลเยราเหนือ มี15 ภาษาในกอร์ดิลเยราและชายฝั่งตะวันออกขอวลูซอน รวมภาษาอีบานักและภาษาอักตา, กลุ่มภาาากอร์ดิลเยรากลาง-ใต้ มี 25 ภาษาในเขตภูเขาของลูซอนเหนือ รวมทั้งภาษาปางาซินันและภาษาอีโกโรต, ภาษาอาร์ตาในบริเวณปางาซินัน,ฅ กลุ่มภาษาลูซอนกลาง มี 5 ภาษาใกล้ภูเขาไฟปีนาตูโล รวมทั้งภาษาปัมปางัน, กลุ่มภาษาซัมบาลัิก รวมภาาาซัมบัลและภาษาโบลิเนา, กลุ่มภาษามินโดโรเหนือ หรือมังยันเหนือมี 3 ภาษา
กลุ่มภาษาวิซายัสและลูซอนใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามังยันใต้ มี 3 ภาษาในเขตมินโดโร รวมทั้งภาษาบูฮิดและภาษาฮานูโนโอ, กลุ่มภาษากาลาเมียน มี 2 ภาษาระหว่างมินโดโรกับปาลาวัน รวมทั้งภาษาตักบันวา, กลุ่มภาษาปลาลาวาโน มี 5 ภาษาในเกาะปาลาวาโนส, กลุ่มภาาาฟิลิปปินส์กลาง ได้แก่ ภาษาตากาล็อกหรือภาษาฟิลิปิโน,กลุ่มภาาาบิกอล มี 3 ภาษาในลูซอนใต้ เรียกรวมกันว่าบิกอล,กลุ่มภาษาวิชายัน มี 20 ภาษาในและรอบๆ ทะเลวิซายันรวมทั้งมินดาเนาเหนือ ภาษาหลักได้แก่ ภาาาเซบัวโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษาวาราย-วาราย ภาษากินารายอา ภาษาเตาซุก ภาษามามันวา ทางเหนือของมินดาเนา กลุ่มภาษามันซากัน มี 8 ภาษาในบริเวณดาเวารวมมั้งภาษาดาวาเวนโย
กลุ่มมินดาเนา กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์ใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษาดาเนามี 3 ภาษาในมินดาเนาตะวันออก รวมทั้งภาาามากินดาเนา และภาษามาราเนา, กลุ่มภาษาซูบานุน มี 5 ภาษาในคาบสมุทรทงตะวันตกของมินดาเนา, กลุ่มภาษามินดาเนาใต้ มี 5 ภาษาทางชายฝั่งตอนใต้รวมทังภาษาตโบลี, กลุ่มภาษาซามา-บาเจา มี 10 ภาษาในเกาะซุลูและบีลีรัน
กลุ่มบอร์เนียว กลุ่มภาาบารีดต มี 12 ภาษาในบอร์เนียวใต้ และมาดากัสการ์รวมทั้งภาษารายู ดยัค และภาษามาลากาซี, กลุ่มภาษากายัน มี 18 ภาษาในบอรเ์เกนียวกล่าง รวมทั้งภาษากายัน, ภาษาเปนันฅ กลุ่มภาษากายัน, ภาษาเปนัน, กลุ่มภาษดยัคบก มี 12 ภาษาในบอร์เนียวตะวันตก เช่น ภาษาลารา, กลุ่มภาษาเมลาเนา-กาจัง แบ่งเป็นภาษาเมลาเนา กับภาษากาจัง, กลุ่มภาาาเบอราวัน-บารัมดต, กลุ่มนันตุลูล กลุ่มภาษาไดยัก เป็นภาาาในบริเวณชายแดนของรัฐซาบะฮ์กับกาลิมัตัน แบ่งเป็น กลุ่มภาษาเกลาบิติก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาเกลาบิต, กลุ่มภาษามูรุติก มี 12 ภาษารวมทั้งภาษาโตโกล มูรุต, กลุ่มภาาาเกนยะห์ มี 11 ภาษาในบอร์เนียวกลาง เรียกเกนยะห์, กลุ่มภาษารีจัง - เวเจา, กลุ่มภาาาซาบะฮ์ แบ่งเป็น กลุ่มภาษาดูซูนิก มี 19 ภาษา รวมทังภาษากาดาซัน-ดูซุน, ภาษาอีดาอัน, กลุ่มภาษาไปตานิก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาตัมบาเนา
กลุ่มภาษาซูลาเวซีเหนือ กลุ่มภาษาซัมกีริกมี 4 ภาษา ในทางเหนือสุด รวมทั้งกลุ่มภาษาบนติก, กลุ่มภาษามีนามาซัน มี 5 ภาษาเรียกภาษามีนาอาซาฅ กฃุ่มภาาาดมนโกนโดว-โกรอนตาโล มี 9 ภาษา ในโก-รนตาโรและจังหวัดซูลาเวซีเหนือ รวมภาษาโบลาอัง โมโกนโดว
กลุ่มภาษาบาตานิก เป็นกลุ่มของภาาาในกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มี 3 กลุ่มคือ ภาษาอีวาตัน ภาษาบาบูยัน และภาษาอิตบายัต ใช้พุดในบาตานและหมุ่เกาะบลาตาเนส ซึ่งเป็นหมุ่เกาะทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ อยุ่ระหว่งไต้หวันกับเกาะลูซอน อีกกลุ่มหนึ่งคือ ภาษายามิ ใช้พูดบนเกาะกล้วยไม้ใกล้กับไต้หวัน
กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง เป็นภาาาที่ใช้พุดในฟิลิปปินส์ กระจายทั่วไปในเกาลูซอนตอนใต้ หมุ่เกาะลูซอนตอนใต้ หมู่เกาะวิซายัส เกาะมินดาเนา และหมุ่เกาะซูลู ดัวอยางภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ ภาาาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาบิโกล ภาษาวาไร-วาไร ภาษากินาโรอา ภาษาเตาซุกและอื่นๆ
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาาาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมุ่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชย ภาาามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อยส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียถูแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออกการแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบงดดยใช้ลักษระทงภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง กลุ่มในเรียกวา กลุ่มภาาาอบร์เนียว - ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่ากลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง เป็นสาขาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผุ้พุดในหู่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลยันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกุ ประเทสอินโดนีเซีย และประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาาาบีมาที่แรพ่กระจายในจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวา และกลุ่มภาษาซูลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลักๆ ของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวา เกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ ภาาามัวฆาไร ของเกาะฟลอเรสตะวันตกและภาาาเตตุมที่เป็นภาษาประจำชาติของติมอร์-เลสเตร
การจำแนกแบ่งกลุ่มภาาานีมีหลักฐานอ่อน โดยเแพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษระร่วมของภาษาในเขตภูมิศาตร์เดียวกัน นักภาาาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก ที่ต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีนีเซียตะวันออก ภาษาจำนวนมากางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคยงโดยเฉพาะเกาซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกูลออสโตรนีเซียนมา และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น