ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอัดดัสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปี้ยน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
ภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลบภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วยใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเหนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านนี้เที่ยได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาาากลุ่มโรมานซืเราอาจแบงภาษาพูดของจีนได้ 6-12 กลุ่ม ขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป้นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด เสียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกล่าง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวันเป้นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤณษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทงการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกศ)
นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาแต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่การเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพุดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษณจีนตัวย่อ
ภาษาจีนกลาง หรือที่เรียกในประเทศจีนว่า "ภาษาฮั่น" เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็นใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผุ้ใช้มากว่า 800 ล้านคนทั่วโลก
ขื่อภาษาจีนกลางเป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ซึ่งในประเทศจีนจะเรียกภาษนี้ว่า ฮ่นอวี่ แปลว่า ภาษาฮั่น อันเป็นภาษาของชาวฮั่น ที่เป้นคนส่วนใหญ่ของประเทศจีน ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า "Mandarin" ซึ่งมีรากจากคำในภาษาโปรตุเกส อันหมายถึง "ภาษาราชการ" ของเจ้าหน้าที่รคัฐของจีน
ในวงแคบ คำว่า ภาษาจีนกลาง ใช้เรียก ผู่ทงฮั่ว และกั่วอวี่ ซึ่งเป้นภาษาพูดมาตฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึงมีพื้นฐานมาจากภาษาพูดมาตรฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาูดทีทช้กว้างขวาง คือ เปยฟางฮั่ว ซึ่งความหมายในวงแคบลนี้ คือความหมยที่ใช้ในบริบทนอกวิชาการ
ในวงกว้าง คำว่า ภาษาจีน ใช้เรียก เปยฟางฮั่ว ("ภาษาพูดทางเหนือ") ซึ่งเป้นประเภทที่ประกอบด้วยภาษาย่อยต่างๆ ของภาษาจีนที่ใช้ในทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของจีนซึ่งความหมายนี้มักจะพบในบริบททางวิชาการ และจะใช้ความหมายนี้ในบทความนี้ โดยที่ผู้ตงฮั่วและกั้วอวี่ จะใช้ชื่อจีนเรียกรวมถึงใช้ "ภาษาจีนกลางมาตรฐาน" และ "ภาษาจีนมาตรฐาน" เรียก
ภาษาประเภทเป่ยฟางฮั่วมีคนพูดมากกว่าภาษาอื่นๆ และเป่ยฟางฮั่วก็เป็นพื้นฐ,านของผู่ตงฮั่วและกั๋วอวี่ด้วย อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า เปยฟางฮั่วครอบคลุมภาษาย่อยจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ นอกจากนี้ แนวคิดเป่ยฟางฮั่วส่วนใหญ่ ไม่ใช้นอกวงการวิชาการเป็นคำที่ใช้อธิบยตัวเอง เมื่อให้อธิบายชนิดของภาษาพูดท่ใช้ คนจีนที่พุดชนิดของเปยฟางฮั่วจะอธิบายตามชนิดของภาษาจีนกลางที่พุด เป้นสวนหนึ่งของการระบุมณฑลที่อาศัยอยู่ อย่งไรก็ดี แทบจะไม่มีอะไรที่สามารถระบุได้โดยทั่วไป เกี่ยวกับแนวคิดของภาษาพูดทางเหนือ
เหมือนกับภาษาอื่นๆ การจัดภาษาจีนกลางเป็นภาษาเดียวหรือเป็นภาษาย่อย ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่
ภาษาอู๋ เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผุ้พูดสวนใหญอยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซียงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนใน อันฮุย เจียงสีและฝูเจี้ยนมีผุ้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประดยคเช่นนี้มากว่า ภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกลางตุ้ง ภาาอู๋มีหลายสำเนียง ดดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้ หรือ ภาษาเซี่ยงไฺฮ้
จำนวนผู้พูดโดยเฉลี่ยของสำเนียงอู๋จะอ้างถึงสำเนียงของตนและเพ่ิมชื่อถิ่นที่อยู่ของตนเข้าไป คำท่ใช้เรียกภาาาอู่มีหลายคำ อาทิ ภาษาอู๋ ภาษาเซียงไฮ้ ภาษาอู่เยว่, ภาษาเจียงหนาน, ภาษาเจียงเจ๋อ
ภาษาอู๋ สมัยหม่เป้นภาษาที่ใช้ดดยชาวอู๋และชาวเยว๋ที่มีศูนย์กลางอยู่ทางใต้ของเจียงซูและทางเหนือของเจ๋อเจียง คำในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงภาษาจีน การออกเสียงตัวคันจินี้มาจากบริเวณที่พุดภาษาอู๋ในปัจจุบัน
ภาษาอู่สืบทอดมาจากภาษาจีนยุคกลาง ภาษาอู๋จัดเป็นสำเนียงที่แยกตัวออกในช่วงต้นๆ และยังคงมีลัษณะของภาาาในยุคโบราอยู่มาก แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากภาาาจีนเหนือหือแมนดารินระหว่างพัฒนาการ ซึ่งเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับภาคเหนือ และในบริเวณนี้เป้ฯพื้นที่ที่ได้รับการศึกษาสูง ระหว่างการลุกฮือของ อู๋ ฮู และหยนภัยของหยงเจี้ย ทำให้มีชาวจีนทางเหนือเข้ามตั้งหลักแหล่งมาก สวนใหญ่มาจากเจียงซู และซานตง มีส่วนน้อยมาจากที่ราบภาคกลาง ทไใ้เกดภาษาอู๋สมัยใหม่ขึ้น ในช่วงเวลาระหว่างราชวงศ์หมิง และยุคสาะารณรับตอนต้นเป็นช่วงลักษณะของภาาอู๋สมัยใหม่ได้ก่อตัวขึ้นมา สำเนียงซูโจวเป้นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลมากที่สุดและมัใช้อ้างอิงเป็นตัวอย่างของภาษาอู๋
ในช่วงหลังจากกบฎไท่ผิง จนส้ินสุดราชวงศ์ชิง บริเวณที่พุดภาษาอู๋ถูกทำลายด้วยสงคราม เซี่ยงไฮ้เป็นบริเวณที่มีผู้อพยพจากส่วนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอู๋เข้ามามาก ทำให้มีผลต่อสำเนียงเซี่ยงไฮ้ เช่นมีการนำอิทธิพลของสำเนียงนิงโปเข้ามา และจากการเพ่ิมประชากรอย่างรวดเร็วทำให้กลายเป็นบริเวณที่เป็นศูนย์กลาง สำเนียงเซี่ยงไฮ้จึงมีความสำคัญมากว่าสำเนียงซูโจว
หลังจากก่อตั้งสาธารณรับประชาชนจีน มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างมากในบริเวณที่ใช้ภาษาอู๋ ภาษาอู๋ไม่มีการใช้ในสื่อต่างๆ และโรงเรียร หน่วยงานทางราชกาต้องใช้ภาษจีนกลางด้วยอิทธิพลของผุ้อพยพเข้าที่ไม่ได้ใช้ภาาอู๋ การที่สื่อต่างๆ ใช้ภาษาจีนกลาง ทำให้เด็กที่เติบโตขึ้นมาคุ้นเคยกับภาษาจีนกลางมากกว่าภาษาอู๋ มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการอนุรัษ์ภาษานี้ มีรายการโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาอู๋อีกคร้้งแต่ก็ยังมีขอบเขตจำกัด...
ภาษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า เยฺว่) เปนหนึ่งในภาษาของตระกูลภาาจีน ผู้พูดสวนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวฒมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลหวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลกวางตุ้ง เขชตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของขาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโบกที่อพยพไปจากมณฑลกว่าตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พุดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเทศ
ในยุคโบราณ เขตมณฑลหวางตุ้งปัจจุบันมีชาวฮั่นอาศัยอยุ่น้อย การอพยพเข้ามาของชาวฮั่นเริ่มขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่น ภษาจีนของชาวฮั่นได้ผสมผสานเข้ากับภษาของชาวพื้นเมือง สมัยราชวงศ์สุ่ยภาคกลางของจีนเกิดสงครามบ่อย ชาวจีนฮั่นจำนวนมากจึงอพยพลงใต้ คาดว่าช่วงนี้เป็นช่วงที่ภาษาจีนกวางตุ้งเริ่มพัฒนาขึ้นมา ในสมัยราชวงศ์ถัง การอพยพของชาวจีนเข้าสู่กวางตุ้งยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีบางส่วนกระจายไปยังพื้นที่ใกล้เคียงคือมณฑลกวางสี ในยุคนี้ ภาษาจีนกวางตุ้งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนในภาคกลาง เริ่มมีการจัดมาตรฐาน แต่ในเวลาเดียวกันก็มีการพัฒนาคำศัพท์ และลักษณะเฉพาะของตนขึ้นมา
ในสมัยราชวงศ์ซ้อง หงวนและหมิง ภาษาจัีนกวางตุ้งเริ่มมีเอกลักษณ์ของตนที่ต่างจากภษาจนอื่นๆ ชัดเจนมากขึ้น ช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิง เมืองกวางโจว เป้ฯเมืองท่าที่ติดต่อกับต่างชาติ มีชาวต่างชาติ มีชาวต่างชาติเรียนภาษาจีนกวางตุ้ง และใช้ภาษาจีนกวางตุ้งในการค้าขาย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2492 เป็นต้นมาผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งส่วนใหญ่พูดภาษาจีนกลางด้วย โดยใช้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาราชการและใช้ภาษาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในชีวิตประจำวัน ในฮ่องกงใช้ภาาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในภาพยนตร์และใช้ในการติดต่อธุรกิจกับชาวจีนโพ้นทะเล ปัจจุบันภาษานี้บังใช้ในการศึกษาและใช้กันในฮ่องกงและในหมุ่ชาวจีนโพ้นทะเล การแพร่หลายของส่อที่ใช้ภาษาจีนกวางตุ้งจากฮ่องกง ทำให้มีคำยืมจากภาษาจีนกวางตุ้งแพร่ไปสู่ภาาาจีนสำนเียงอื่นๆ ด้วย
สำเนียงที่สำคัญมี 4 สำเนียงคือ สำเนียง Yuehai ใช้พุดในกวางโจว ฮ่องกง และมาเก๊า สำเนีงไถ่ซอน ใช้พุดในไชน่าทาวน์ในสหัฐก่อน พ.ศ. 2513 สำเนียง Gaoyan ใช้พุดใน Yanjiang และสำเนียง Guinan ใช้พุดในกวางสี โดยทั่วไป สำเนียงที่สำคัญที่สุดคื อสำเนียง Yuehai
แม้ว่าภษาจีนกลางจะเป็นภาษามาตรฐานและเป็นภาษากลางในจีนและไต้หวัน ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงเป็นภาษาหลักของชาวจีนโพ้นทะเลรวมทั้งในฮ่องกง ซึ่งเป็ฯเพราะว่าผุ้อพยพเหล่านี้ออกจากกวางตุ้งไปก่อนที่ภาษาจีนกลางจะเข้ามามีอิทธิพลหรือมิฉะนั้นก็เป็นเพราะในฮ่องกงมิได้ใช้ภาาจีนกลางอยางสมบูรณ์
ภาษาจีนกวางตุ้งเป้นภาษาที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาจีนกลาง เช่นมีเสียงตัวสะกดมากกว่า แต่ภาษาจีนกวางตุ้งก็ไม่มีวรรณยุกต์บางเสียง และรวมบางเสียงเข้าด้วยกัน
สำเนียงไถ่ซานที่ใช้พูดในสหรัฐปัจจุบันถือเป็นสำเนียวที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากว่าสำเนียงที่ใช้พุดในกวางโจวและฮ่องกง โดยยังคงรักษาคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /n-/ ซึ่งผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งที่เกิดในฮ่องกงหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 เปลี่ยนเป็นเสียง /l-/ และไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /ŋ-/ ตัวอย่างเช่น ngàuh nām เป็น àuh lām
ระบบเสียงของภาษาจีนกวางตุ้งต่างจากภาษาจีนกลางที่ใช้พยางค์ต่างกันเป็นส่วนใหญ่ ชุดของเสียงวรรณยุกต์ก็ต่างกัน ภาาาจีนกวางตุ้งีวรรณยุกต์ 6-7 เสียง มีความต่างของเสียงวรรณยุกต์ระหว่างคำเป็นและคำตาย ในขณะที่ภาษาจีนกลางมีวรรณยุกต์ 5 เสียง ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงมีเสียงตัวสะกดหลายเสียง เช่น เดียวกับ ภาษา ฮากกา และภาษาจีนฮกเกี้ยน คือ /-m/, /-n/, /-ŋ/, /-p/, /-t/, /-k/ ส่วนภาษาจีนกลางมีเพียงเสียง /-n/, /-ŋ/ อย่างไรก็ตามระบบเสียงสระของภาษาจีนกลางมีลักณะอนุรักานิยมมากว่าดดยยังคงมีเสียงสระประสมบางเสียงที่หายไปแล้วในภาาาจีกวางตุ้ง..th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
วันศุกร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Shino-Tibet Languese
ตระกุลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกุลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มี
สมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกตองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
การจำแนกของ เจมส์ มอทิซอฟฟ์ กลุ่มภาษาจีน ประกอบด้วย ภาษาจีนกลาง ภาษาหวู่ ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาผิง ภาษาหมิ่น ภาษาไต้หวัน ภาษาเซียง ภาษาฮากกา ภาษากั้น
กลุ่มทิเบต-พม่า กลุ่มภามารูปัน ได้แก่ กลุ่มกูกี-ฉิ่น-นาดา กลุ่มอเบอร์-มิรี-ดาปลา กลุ่มโบโร-กาโร, กลุ่มหิมาลัย ได้แก่ กลุ่มมหา-กิรันตรี (รวมภาษาเนวารี ภาษามาคัร และภาษาไร) กลุ่มทิเบต-กิเนารี (รวมภาษาทิเบต ภาษาเลปชาป, กลุ่มเกวียง, กลุ่มจิงโป-นุง-ลุย ได้แก่ภาาาจิงโป ภาษานุง ภาษาลัย, กลุ่มพม่า-โลโล-นาซี,ฅ กลุ่มภาษากะเหรี่ยง, กลุ่มบาอีก และยังมีการจำแนกในแบบอื่นอีก..
สมมติฐานจีน-ทิเบต เหตุผลที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของตระกุลภาาายอยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์กันระหว่างภาษาจีนกบภาษาทิเบต เช่น ลักษณะคุ่ขนานระหว่างภาษาจีนโดบราณกับภาษาทิเชตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันอย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มีข้อโต้แย้งคือ ความชัดเจนของรากศัพท์คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอ และจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมูลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาาาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
กลุ่มภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียวโดยทั่วไปแล้วภาาาพุดในกลุ่มภาษาจีนเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่อง เสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เที่ยบได้กับ ควมแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 -12 กลุ่มขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป้ฯที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพุดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพุดเป็นภาาาแม่มากที่สุดสำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาาาฮั่น ซึ่งยุ่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดารินเป็นภาาาทางการของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางกาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วกับ ภาาา อังกฤษ ภาษามาลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วกั ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนหลางตุ้งเป้ฯภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)
นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ข้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษรจีนตัวย่อ
ภาษาพูดของจีน ทั้งภาษาและสำเนียงภาษจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพิ้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้
จีนกลาง หรือภาษาฮั่น หรือแมนดาริน หรือสำเนียงทางเหนือ, ง่อ ในมณฑลเจียงซู, กว้างตุ้ง, ฮกเกี่ยน ในมณฑลผูเจี้ยน หรือฮกเกี่้ยน, เชียง, แคะ หรือ ฮักกา, กั้น นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาาาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้าบนอีก 3 ประเภท ได้แก่ จิ้น แยกมาจาก แมนดาริน, ฮุยแยกมาจาก อู๋ และผิง แยกมาจาก กวางตุ้ง
กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกบเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสุงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียวในบัลติสถาน ลาตัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยฌแพาะศาสนาพุทธ
ด้วยเหตุผลทางกรเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษา ภาษาเศรปา และภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาามีผุ้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พุดโยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่า ศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช้กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ภาษาทิเบตคลาสสิก ไม่ใช้ภาษาที่ีมีวรรณยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาลบัลติไ่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปดำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
การแบ่งตามวิธีของ Bradly ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเชตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์, กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกต์, ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง, ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล, ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่, ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน, ภาษาอัมโด ไมมีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน..
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดีย และปากีสถาน
ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาษาทิเบตทุกสำเสียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง... th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
สมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกตองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
การจำแนกของ เจมส์ มอทิซอฟฟ์ กลุ่มภาษาจีน ประกอบด้วย ภาษาจีนกลาง ภาษาหวู่ ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาผิง ภาษาหมิ่น ภาษาไต้หวัน ภาษาเซียง ภาษาฮากกา ภาษากั้น
กลุ่มทิเบต-พม่า กลุ่มภามารูปัน ได้แก่ กลุ่มกูกี-ฉิ่น-นาดา กลุ่มอเบอร์-มิรี-ดาปลา กลุ่มโบโร-กาโร, กลุ่มหิมาลัย ได้แก่ กลุ่มมหา-กิรันตรี (รวมภาษาเนวารี ภาษามาคัร และภาษาไร) กลุ่มทิเบต-กิเนารี (รวมภาษาทิเบต ภาษาเลปชาป, กลุ่มเกวียง, กลุ่มจิงโป-นุง-ลุย ได้แก่ภาาาจิงโป ภาษานุง ภาษาลัย, กลุ่มพม่า-โลโล-นาซี,ฅ กลุ่มภาษากะเหรี่ยง, กลุ่มบาอีก และยังมีการจำแนกในแบบอื่นอีก..
สมมติฐานจีน-ทิเบต เหตุผลที่จัดภาษาจีนเข้าเป็นกลุ่มย่อยของตระกุลภาาายอยทิเบต-พม่า เพราะมีความสัมพันธ์กันระหว่างภาษาจีนกบภาษาทิเบต เช่น ลักษณะคุ่ขนานระหว่างภาษาจีนโดบราณกับภาษาทิเชตสมัยใหม่ และมีรากศัพท์ที่คล้ายคลึงกันอย่างไรก็ตามสมมติฐานนี้มีข้อโต้แย้งคือ ความชัดเจนของรากศัพท์คล้ายคลึงกันระหว่างภาษาจีนกับภาษากลุ่มทิเบตยังไม่ชัดเจนพอ และจากการสร้างภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมโดยใช้ข้อมูลจากวรรณคดีภาษาทิเบตและพม่า และข้อมูลจากภาษาจิ่งโปและภาษาไมโซ พบว่าภาาาจีนมีลักษณะที่จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษาทิเบต-พม่าดั้งเดิมน้อย สมมติฐานนี้จึงยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย
กลุ่มภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียวโดยทั่วไปแล้วภาาาพุดในกลุ่มภาษาจีนเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่อง เสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เที่ยบได้กับ ควมแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 -12 กลุ่มขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป้ฯที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพุดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพุดเป็นภาาาแม่มากที่สุดสำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาาาฮั่น ซึ่งยุ่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดารินเป็นภาาาทางการของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางกาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วกับ ภาาา อังกฤษ ภาษามาลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วกั ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนหลางตุ้งเป้ฯภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)
นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ข้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษรจีนตัวย่อ
ภาษาพูดของจีน ทั้งภาษาและสำเนียงภาษจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพิ้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้
จีนกลาง หรือภาษาฮั่น หรือแมนดาริน หรือสำเนียงทางเหนือ, ง่อ ในมณฑลเจียงซู, กว้างตุ้ง, ฮกเกี่ยน ในมณฑลผูเจี้ยน หรือฮกเกี่้ยน, เชียง, แคะ หรือ ฮักกา, กั้น นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาาาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้าบนอีก 3 ประเภท ได้แก่ จิ้น แยกมาจาก แมนดาริน, ฮุยแยกมาจาก อู๋ และผิง แยกมาจาก กวางตุ้ง
กลุ่มภาษาทิเบต เป็นกลุ่มของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกบเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสุงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียวในบัลติสถาน ลาตัก เนปาล สิกขิม และภูฎาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยฌแพาะศาสนาพุทธ
ด้วยเหตุผลทางกรเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษา ภาษาเศรปา และภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป้นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาามีผุ้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พุดโยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากกว่า ศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีนจัดให้เป็นชาวทิเบตแต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช้กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ภาษาทิเบตคลาสสิก ไม่ใช้ภาษาที่ีมีวรรณยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาลบัลติไ่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปดำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
การแบ่งตามวิธีของ Bradly ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเชตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์, กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกต์, ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง, ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล, ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่, ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน, ภาษาอัมโด ไมมีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน..
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดีย และปากีสถาน
ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาษาทิเบตทุกสำเสียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง... th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Languages and Cultures
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์อย่างยากที่จะแยกออกจากกัน ทั้งภาษาและวัฒนธรรมต่างก็มีทั้งลักษณะที่เป็นสากลและลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ นักวิชาการมีความเห็นตรงกันว่าลักษณะที่เป็นสากลของภาษาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย ส่วนลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์จะเป็นเรื่องของทางวัฒนธรรม ปัญฐหาของสภาวะต่างภาษาในการเข้าใจข้ามภาษาที่มักพบนั้น จะมีมากเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการมีสากลลักษณ์และเอกลักษณ์มากหรือน้อยเท่านั้น และสิ่งที่เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งในการเข้าใจข้ามภาษาก็คือการปราศจากความรู้ในเรื่องประบททางวัฒนธรรม
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างยากที่จะกล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่พาดพิงเกี่ยวข้องกับอีกอย่างหนึค่งได้ หลายท่านถึงกับมีความเชื่อว่า ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลัการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยัถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลักการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรมในศาสตร์จำนวนหนึ่ง อาทิ ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ ซึ้งมีความเช่อว่าภาษาเป้นสิ่งที่สะท้อนความนึกคิดและการมองโลกของเจ้าของภาษา หากมีการพิจารณาควรามหมายของศัพท์หวมดต่างๆ ในภาษาหนึ่งๆ แล้ว จะทำให้เรารู้และเข้าใจความนึกคิดและการมองโลกของชนที่พูดภาษานั้นได้ อาทิ คำเรียกญาติในภาษาต่างๆ จะทำให้เราเห็นค่านิยมหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน... อีกทั้งในแวดวงมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ก็มีความเชื่อว่ากิจกรรมต่างๆ ทางวัฒนธรรมจะสะท้อนออกมาทางภาษา และภาษาก็สามารถแสดงให้เห็นถึงคามคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของภาาาและวัฒนธรรมนักวิชาการเหล่านี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกทัศน์และลักษณะไวยากรณ์วัฒนธรรมและอรรถศสตร์การเปลี่นแปลงของภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
จากความเชื่อว่าภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาและได้มีการศึกษาและพยายามแสดงให้เห็นถึงปรากฎการณ์ในด้านต่างๆ มีภาษาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป้นการแสดงออกทางด้านไวยากรณ์ ความหาย หรือการใช้ภาาาก็ตามดังที่ได้กล่าวไปกล้วนั้น ยังมีอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมที่เป้นที่สนใจของนักภาษาศาสตร์ และนักมานุษยวิทยาคือ ประเด็นที่ว่าลักษณะที่ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมในด้านโครงสร้างต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นเช่นเดียวกันในทุกภาษาหรือไม่และอย่างไร และหากมีความแตกต่างกันก็เชื่อได้ว่าประเด็นที่แตกต่างกันเอาจจะทำให้ป็นปัญหาในการติดต่อสื่อสารข้ามภาษาและวัฒนธรรม เนื่องจากการที่ภาาาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิดนั้น ทำให้การที่จะเข้าใจภาษาอื่นๆ จะพิจารณาเอาแต่ตัวภาษาอย่างเดียวไม่ได้จำต้องอาศัยความรู้ความมเข้าใจในวัฒนธรรมของผุ้ที่พุดภาษานั้นๆ ด้วย ดังจะได้กล่าวถึงภายใต้หัวข้อความเป็นสากลและเอกลัษณ์ของภาษาและวัฒนธรรม และการสัมผัสภาษาตามลำดับต่อไป
ภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นมีความเป็นสัมพันธภาพ ต่อกัน และเมื่อกฃ่วถึงสัมพันธภาพของภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นนักภาษาศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักวัฒนธรรมศึกษามีประเด็นปัญหาที่เป้นความสนใจร่วมกันอยู่สองประเด็นหลักคือ "อะไรคือสากลลักษณ์หรือประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ไม่ว่าจะพุดภาษาใดหรืออยู่ในชุมชนวัฒนธรรมใดก็ตามไ และ "อะไรคือความเป็นเอกลักษณ์หรือประสบการณ์เฉพาะของมนุษย์แต่ละภาษาแต่ละวัฒนธรรม"...
ธรรมชาติทางชีวภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของถ่ินที่อยุ่อาศัยที่คลายคลคึงกันดังที่ได้กล่าวานั้นเป็นสาเหตุของปรากฎการณืหนึ่งที่นักวิชการทางด้านวัฒนธรมศึกษาเรียกว่าการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ซึ่งเกิดขึ้นไม่มากก็นอย อีกรณีหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเหลือมซ้อนทางวัฒนธรรมคือการแพร่กระจายทางวัฒนะรรม ซึ่งจะไปทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมที่รับการแพร่กระจายเข้าไปจากภาษาและวัฒนธรรมอื่นลดลง เช่น การที่ภาาาและวัฒนธรรมของคนที่พุดภาษาอังกฤษได้แพร่กระจายเข้าแทรกวัฒนธรรมของชนชาติอื่นๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่สมัยอาณานิบคมนั้น ทำให้เอกลักษณ์ของความเป็นชนชาตินั้นๆ ลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมที่มีต่อชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษมีมากขึ้นเรื่อยๆ ดังน้นความสามารถในการเข้าใจข้ามภาษาจึงอาศัยปัจจัยทางสากลลัษณ์และความเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ส่วนปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาก็จะเป็นเรื่องของความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้นๆ ดังจะได้กล่วต่อไป
ปัญหาของสภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมเกิดจาการสัมผัสภาษา หมายถึงการที่ภาษาหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเจ้าของภาษารับเอาลักษณะบางอย่างในระบบขชองภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งก็ย่อมต้องกรับเอาวัมนธรรมบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ด้วยเช่นกันการศึกษาเรื่องการสัมผัสภาษาอาจครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับ การแพร่กระจายภาษา, การแปลภาษา, การยืมภาษา, การพูดภาาาต่างประเทศ,การพูดสองภาษา, การแทรกแซงภาษา, การสับเปลี่ยนสัญญาณหรือภาษา, ตลอดจนการปลูกฝังภาษาใหม่
ปัญหาจการสัมผัสภาษาที่เรามักประสบอยู่บ่อยๆ ในการใช้ภาษาในสภานการ์ต่างๆ คือ การแปลและการเข้าใชข้ามภาษา การยืมภาษาและการพูดหรือใช้ภาษาต่าง ประเทศโดยทั่วไป ซึ่งปัญหาเหล่นนี้จะมีความสำคัญหรือเป็นปัญหาใหญ่ หรือไม่ขึ้นอยุ่กับความมากน้อยในการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางด้านความหายของสองภาษา ดังนี้
- การแปลและการเข้าใจข้ามภาษา นำมาซึ่งความจำเป็นในการที่จะต้องเข้าใจข้ามภาษาและการแปล หล่าวคือ เมื่อภาษาตั้งแต่สองภาษามีการติดต่อและรับเอาลัาระบางอย่างของอีกระบบภาษาหนึ่งเข้ามา จะมีการเปลี่ยนแปลงในภาษานั้นๆ เกิดขึ้น ในบางครั้งการรับเอาระบบบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเนื่องจากมีวัฒนธรรมต่างกัน การรับคำหรือไวยากรณ์ของภาษาอื่นมาใช้ไม่สามารถทำได้โดยการแปลจากความหายของคำและความสัมพันะ์ของคำในประโยคเท่านั้น ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของปริบทเชิงวัมนธรรมอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว...
กรอบความคิดที่องวัฒนธรรม ในเรื่องของการแปลในระดับคำนั้น ความคิดหรือคำศัพท์ท่จัดว่าเป็นสากลหรืออยู่ในสวนที่เหลื่อมซ้อนกันทางวัฒนธรรมและเป็นรูปธรรม เช่น ในภาษาไทยคำว่า พ่อ แม่ ต้นไม่ ฯลฯ จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแปลมากนักหรือไม่เป็นปัญหาต่อการแปลเลยในขณะที่คำที่บ่งวัฒนธรรม เช่น รำวง เกรงใจ ขันหมาก ฯลฯ ที่ไม่มีคำใช้ในวัฒนะรรมภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ ก็จะเป็นต้องแปลเป็นข้อความที่ยาวจึงจะได้ความหมายที่ใกล้เคียงกับความหมายเดิม..
ยิ่งไปกว่านั้นคำที่เป็นปัญหาในการแปลบางคำยังเป็นคำที่ยากสไรับเจ้าของภาษาที่จะอธิบาย และกำหนดความหมายที่แน่นอนได้ด้วยภาษาเพียงอย่างเดียว จะต้องอาศยมโนทัศน์และการลงมือปฏิบัติด้วย เช่นในการอธิบายคำว่า นิพพาน จะต้องมีความเข้าใจความหมายของพทุชธศาสนาดดยตลอด ซึ่งก็ได้มีการตีควมของคำว่า นิพพาน ต่างๆ กันไปในแต่ละพุทธนิกายและนักปราชญ์ทางศาสนาพุทธแต่ละท่านและมีข้อถกเถียงที่มไม่สามารถยุติได้ ซึ่งได้มีผู้กล่าวถึงปัญหาในการตีความของคำว่า นิพพาน ว่าเป็ฯปัญหาเรื่องความสับสนระหว่างมดนทัศน์กับการให้คึำนิยามด้วยภาษา ซึ่งมดนทัศน์ไม่สามารถสื่อได้ด้วยคำอธิบายหรือนิยามทางภาษาอันจะเป็นการจำกัดความหมายของคำว่า นิพพานความหมายจะรวมถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือโลกแห่งประสบการณ์ของมนุษย์ "ถ้าเราพยายามจะใช้ถอ้ยคำเพื่ออธิบายสิ่งใดก็ตามที่อยู่นอกปรสบการณ์ เราก็จำต้องดัดแปลงสิ่งนั้ั้นให้เขามาอยู่ในขอบเขตที่มนุษย์จะเข้าใจได้เสียก่อน โดยไม่คำนึงถึงความที่แท้จริงของมัน"...
บทความนี้ได้เน้นให้เห็นว่าภาษาต่างๆ มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของผุ้พุดาษานั้นๆ อย่าง ใกล้ชิด ในลักาณของการอ้างอิงซึ่งกันและกัน ภาาาเป็นเสมือกุยแจไขสู่วัฒนธรรมและในขณะเดียวกันภาษาจะเป็นที่เข้าใจอย่างแท้จริงลึกซึ้งมิได้ถ้าปราศจากความรุ้ในเรื่องปริบททางวัฒนธรรมดังนั้นภาษาและวัฒนธรรมควรมีการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน การสอนภาษาต่างประเทศในดรงเรียนจึงเป็นการสอนวันธรรมของภาษาต่างประเทศนั้นๆ ไปในตัวในรูปของการเป็น "ภาษาแห่งวัฒนธรรม" มากกว่าที่จะเป็นภาษาโดยเอกเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำกล่าวที่ว่าภาษาเป็นตัวบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของผุ้พูด ังที่ วิลเฮม วอน ฮัมโบลดท์ กล่าวไว้ว่า "A language veils the world for the its speakers" ในกรณีที่มีการสัมผัสภาษาเกิดขึ้นนั้น สภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมจะก่อให้เิดปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษา ซึ่งไม่ได้เกิดจากความรู้ในตัวของภาษาแต่เพียงอย่างเดียวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้พุดภาษานั้นๆ ด้วย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะมีมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยุ่กับสากลลักษณ์แฃละเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้น ซึ่งหากภาษาและวัฒนธรรมมีความเป็นสากลลักษณ์มากหรือมีความเป็นเอกลักษณ์น้อยเพียงใด ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาและวัฒนธรรมก็มีมากน้อยเพียงนั้น..( บางส่วนจากบทความ "สากลลักษณ์และเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนธรรมสิ่งอำนวยและอุปสรรคในการสัมผัสภาษา". อัญชลี สิงห์น้อย)
หากคนทั้งโลกพูดภาษาเดียวกันสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลก มีวัฒนธรรมเดียวกันเหมือนกันทุกประเทศ โลกนี้คงไม่มีสีสัน เพราะไม่มีคึวามแปลกแตกต่างอันใดที่น่าค้นหา แต่เพราะคนในโลกพูดกันคนละภาษา มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน จึงทำให้โลกนี้น่าศึกษาน่าค้นหา ความแปลกแตกต่างกันนี้เองคือเสน่ห์อย่างหนึ่งของโลก หากคนพูดภาษาเดียวกัน ภาษานั้นควรจะเป็นภาษาอะไรหากทุกประเทศจะมีวัฒนธรรมร่วมกันวัฒนธรรมนั้นควรจะเป็นวัฒนธรรมอะไร
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ได้จัดโครงการ "ส่งเสริมการอยุ่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด" โดยเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มาร่วมสมัมนา เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคคลากรให้สามารถดำรงอยู่ได้ในเวทีอาเซียนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ยอ่งเหมาะสม สถานที่จัดงานอยู่ที่อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
...การรวมตัวของประเทศที่มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันนั้น จะหาความเป็นเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งนั้นมิใช่เรื่องง่าย มีเพียงวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างเท่านั้นที่เหมือนกันเช่นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ซึ่งเปลี่ยนพร้อมกันทั่วโลก พอจะยึดถือวันขึ้นปีใหม่เป็นประเพณีประจำปีของอาเซียนได้ แต่บางประเพณีมีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ยังถือปฏิบัติเช่นในเดือนเมษายน ประเทศไทยและลาวมีประเพณีวันสงกรานต์ แต่ชาติอื่นในอาเซียนอาจจะไม่เน้นในประเพณีนี้ จะหลอมรวมความเป้นหนึ่งได้อย่างไร
ภาษาและวัฒนธรรม ในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียนมีวัฒนธรรมหลายกลุ่ม วิทยากรท่านหนึ่งได้จำแนกออกเป็นหกกกลุ่มคือ วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู, วัฒนธรรมพุทธ, วัฒนธรรมอิสลาม, วัฒนธรรมคริสต์, วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัฒนธรรมที่เป้นสากลในอาเซียนส่วนหนึ่งมาจากศาสนา แต่ละศาสนาต่างก็มีอัตลักษณของตนเอง การที่จะให้คนทั้งสิบประเทศเหลี่ยนมนับถือศาสนาเดียวกันหมดคงเป็นไปได้ยาก เรื่องของความเชื่อนั้นบังคับกันไม่ได้ ... ทางออกที่ดีที่สุดคือต้องยอมรับในวัฒนธรรมของแต่ละประเทส ยอมรับในความแตกต่าง ใครมีความเชื่ออย่างไรก็ปฏิบัติตามหลักการที่ตนเคยปฏิบัติ เหมือนป่าไม้ใหญ่ ไม่ได้มีต้นไม้ชนิดเดียว แต่มีต้นไม้ หลายพันธุ์อยู่ด้วยกัน จึงเรียกว่าป่า หากใครคิดที่จะนำต้นไม้มาผูกรวมกันให้เป็นไม้ต้นเดียวกัน ไม่นานต้นไม้ก็จะงอกงามตามธรรมชาติไม่ได้.. ปรียบดังภาษาและวัฒนธรรม อาเซียนก็มีหลายภาษาหลายวัฒนธรรม แต่ละประเทสไม่รุกล้ำล่วงเกินวัฒฯธรรมของแต่ละชาติพันธุ์ ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ มีวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่เป้นวัฒนธรรมร่วมกันได้คือวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่งเท่าเียมกัน เป็นวัฒนธรรมร่วมของคนทั้งโลก
ด้านภาาาในประชาคมอาเซียนก็มีภาษาหลายตระกูลเช่นภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก ภาษาตระกูลไท-กะได ภาษาตระกูลจีน-ทิเบตรวมถึง พม่า ภาษาตระกูลม้งเย้า ภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปี้น เป้ฯต้นแต่ละประเทศก็มีภาษาของตนเอง บางประเทศยังมีภาษาท้องถ่ินแยกย่อยออกไปอีกหลายสิบภาษา ดังนั้น ในการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมอาเซียนจึงกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แต่ปัญหาก็เกิดขึ้นอีกว่าแล้วคนประเภทไหนที่จะใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกันได้บ้าง
ในส่วนของนักธุรกิจตอ้องสือสารกันได้อยู่แล้ว นักวิชากการพอจะอนุมานได้ว่าคงพอคุยกันรู้เรื่อง แต่สำหรับชาวบ้านจะติดต่อสื่อสารกันอย่างไร คในชนบทจะสื่อสารกับคนในประเทศอื่นรู้เรีองหรือไม่ ปัญหาด้านภาษาคงพอจะปรับเปลี่ยนแก้ไขกันได้เพียงบางส่วน แต่จะให้คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องเหมือนกับคนในประเทศฟิลิปปินส์และสิงคโปร์คงต้องใช้เวลาอีกหลายปี
แต่ทว่าภาษามิใช่สิ่งที่ปิดกั้นพรมแดนแห่งการติดต่อ เพราะภาษาเป็ฯส่วนหนึ่งของการสื่อสาร ผุ้ที่เรียนรู้ภาษาของอีกคนกลุ่มได้อาจจะได้เปรียบบ้าง แต่คงไม่มากนัก หากจะเรียนทุกภาษาในอาเซียนคงยาก ดังนั้นเรียนภาษาอังกฤษไว้บ้าง พอติดต่อสื่อสารกันได้บ้างก็น่าจะเพียงพอ
เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจุบัแม้ว่าประชาคมอาเซียนจะไม่เปิดอย่างเป็นทางการ แต่ในทางปฏิบัติบางพื้นที่ในประเทศไทย มีประชาคมอาเซียนอยางไม่เป้ฯทางการมานานแล้ว มีการอยุ่ร่วมกัน ทำงานร่วมกันมานานหลายปีแล้วเช่นที่มหาชัย สถานที่บางแห่งถึงกับต้องมีภาษาของหลายประเทศไว้เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
หากใครผ่านไปที่มหาชัยเห้นภาษาเมียนมาร์ ภาษาลาว ภาษากัมพุชาติดประกาศตามสถานที่บางแห่งก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะที่เมืองนี้มีคนจากประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานจำนวนมาก ดูเหมือนว่าเศราฐกิจของเมืองนี้ส่วนหนึ่งอยู่ที่คนงานจากต่างประเทศ หากคนงานเหล่านี้ประกาศอยุดงานพร้อมกัน เมื่องนี้ก็จะกลายเป้ฯอัมพาตไปทันที่ มหาชัยจึงน่าจะเป็นเมืองต้นแบบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้...
วันแรกของการสัมนาได้ฟังวิทยากรบรรยายสามเรื่องว่าด้วยภาษาและวัฒนธรมอาเซียน พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซียนกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 11 การสัมมนายังมีอีกหลายวัน วันนี้เป็นเหมือนการเตรียมความพร้อมในการเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษไปพลางก่อน
cybervanaram.net/2009-12-17-14-44-23-14/1230-2015-12-17-14-13-57
วัฒนธรรมและภาษาในอาเซียนเพียงสองเรื่องก็น่าจะทำงานวิจัยได้หลายเล่ม เพียงแค่ภาษาในตระกูฃไท-กะไดอย่างเดียวก็ยากที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจได้หมด แ้ชนเผ่าไทอย่งอเดียวก็มีไทหลายเผ่าเช่น ไทดำ ไทขาว ไทแดง เป็นต้นกระจายกันอยู่ในแต่ภูมิภาคของโลกบางกลุ่มพอคุยกันรู้เรื่องบ้างเช่นไทยในสิบสองปันนา จีน ไทในอัสสัม อินเดียว ไทในรัฐฉาน เมียนมาร์ เป็นต้น หากจะเรียนรู้ทุกภาษาแลุวัฒนธรรมในอาเว๊ยนอย่างจริงจัง คงต้องใช้เวลาอีกนาน ถึงแม้จะไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นก็ไม่เป็นไรนัก แต่หากไม่เข้าใจวัฒนธรรมของชาติตนแล้วก็ยากจะอยุ่ร่วมกับคนในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด...
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งในยุคสมัยต่างๆ ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ขึ้นในภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนตามกรอบแนคิดของอัปปาดูไร ที่ว่า "ความสลับซับซ้อนของโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันจึงจำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐาน ี่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ในระหว่างเรื่องของเศราฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ในลัษณะของการไหลเวียน ใน 5 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและมีผลกระทบต่อโลกอันได้แก่
- การไหลเวียนในมิติของมนุษย์หรือชาติพันธุ์นรูปของนักท่องเที่ยว ผู้อพบพลี้ภัย คนพลัดถิ่นและแรงงานข้ามชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเทคโนโลยีที่ตัดข้ามเส้นแบ่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นเเบ่ง รัฐ-ชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเวินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้าในระดับโลก
- การไหลเวียนในมิติของสื่อซึ่งกลายเป็นรากฐานสำคัญของการจินตนาการเกี่ยวกับตัวตนของคนในโลกปัจจุบัน
- การไหลเวียนนมิติของอุดมการณื เช่น อุดมการณืประชาธิปไตย
กระแสโลกาภิวัตน์ทั้ง 5 มิตินี้ได้ไหลเวียนข้ามพรมแดนรัฐ-ชาติในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เป็นการไหลเคลื่อนย้ายต่างระดับความเร็ว ต่างแกน ต่างจุดเริ่มต้น และปลายทาง ดลกาภิวัตน์จึงไม่ใช่ดลกของความเป็นหนึ่งเดียวและกลมกลืน แต่ผนึกด้วยภาซะไม่เท่าเทียม สับสนวุนวายและสบลับซับซ้อนที่ทำให้เกตุการณ์ความร่วมมือ ความขัดแย้ง การสู้รบระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในประวัติศาสตร์ ส่งกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือทำให้เกดกระแสชาตินิยม ดดยเฉพาะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ขณะเดียวกันไ้นำไปสู่การไหลเวียนของผุ้คนที่เข้ามาพร้อมกับมิติอื่นๆ อีก 4 มิติ ที่อัปปาดูไรได้ให้คำนิยามไว้ ดดยในยุคแรกผุ้คนจากภุิภาคื่อนเคลื่อนย้าาย
เข้ามาสุ่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ หรือผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกันอพยยพพข้ามประเทศไปมา ไม่ว่าจะในฐานะนักท่องเที่ยว คนพลัดถิ่น ผุ้อพยพลี้ภัย หรือแรงงานชข้ามชาติก็ตามถือเป็นปรากฎการณืของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในภุมิภาคนี้ ดังกรณีตัวอย่่างต่อไปนี้
-แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยหลักการแรงงาน เกิดจากปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในบริบทของพื้นที่นั้นๆ ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทางมีสาเหตุจาก อัตราว่างงานสูง ระดับค่าจ้างที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับต่างงประเทศ ขาดสิ่งจูงใจสำหรับความก้าวหน้าใอาชีพ นโยบายการพัฒนากำลังคนที่ไม่เหมาะสมค่านิยมทางสังคม นดยบายทางเศราฐกิจของประเทศ ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ่วนปัจจัยดึงดูดสุ่ประเทศปลายทาง มีสาเหตุจากระดับค่าจ้างและเงนิเดือนที่สูงกว่ามาก การขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โอาสและความก้าวหน้าในอาชีพ การให้นักศึกษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอบรมได้ในประเทศปลายทาง และปัจจัยทางสังคมและการเมือง
ประเทศเมียนมาร์ ในฐานะประเทศหนึ่งในสมาชิกของประชาคมอาเซียเกิดปัจจัยผลักดันประการต่างๆ ขึ้นในประเทศ และประเทศไทยซึ่งเป้นหนึ่งในประเทศปลายทวที่มีปัจจัยดึงดูด เช่น มีความมั่นคงทางด้านเสณาฐิจสังคมมากกว่า มีอัตราค่าจ้างและเงินเดือนที่สูงกว่ามาก และการขาดแคลนแรงงานตามแนวคิดการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศตามเหตุปัจจัยที่ผลักดัน และดึงดูด ให้เกิดการอพบยยแรงงานข้ามชาติขึค้น ซึ่งนำไปสู่ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมที่หากปล่อยปละละเลยจะส่งผลกระทบด้านเสียหายต่อสังตสในประทเศจ้างงานเป็นอย่างยิ่งดังที่กำลัีงเกิดขึค้นในบางพื้นที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน
- คนพลัดถิ่นในประเทศไทย คนพลัดถืิ่นตามนิยามที่โรบิน โคเฮ็น ให้ไว้หมายถึงกลุ่มคนหรือชุมชนข้ามพรมแดรรัฐ -ชาติ ที่มีคุณลักษะร่วมที่สำคัญเก้าประการคือ เป็นกลุ่มคนที่กระจายอยู่นอกมาตุภูิมต้งแต่สองแห่งหรือสองประเทศขึ้นไป, สาเหตุการกระจายในข้อแรกอาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทำ การค้าหรือนโยบายของเจ้าอาณานิคม, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความทรงจำร่วมเกี่ยวกัีบถิ่นกำเนิด, กลุ่มคนเหล่านั้นมีอุดมคติและพันธร่วมในการรักษา ฟื้นฟูสร้างความปลอดภัย ความมั่นคงแก่มาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกร่วมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มข้น และสำนึกดังกล่าวได้รับการธำรงไว้ข้ามกาลเวลา, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ุไม่ราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยุ่ในปัจจุบัน, กลุ่มคนเหล่านั้นมีควาเห้ฯอกเห็นใจและมีความเป็นปึกแผ่นหรือความสมานฉันท์กับคนพลัดถิ่นชาติพันู์เดียวกันในอีกประเทศฅ กลุ่มคนเหล่านั้นอาจจะมีชีวิตที่เฉพาะสร้างสรรค์ และมั่งคั่งในประเทศพักพิงที่มีขันติธรรมต่อความแตกต่างทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
คุณลักษระร่วมตามนิยามดังกล่าวนี้โคเฮ็นเสนอว่าไม่จำเป้นต้องพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่นหนึ่งๆ คำว่า คนพลัพถิ่น จึงเป็นคำกลางๆ ที่ใช้เรียกกับคนที่อยุ่ข้ามพรมแดนประเทศแม่ของตน โดยนิยามดังกลาวนี้ทำให้เห็นกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทยที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
- ชุมชนคนพลัดถืิ่นที่เกดจกการบีบบังคับหรือตกเป็นเหบยื่อ เช่น ชาวเขมรลี้ภัยสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศ กลุ่มกะเหรี่ยง ที่อยู่ในค่ายตมแนวชายแดนไทย- พท่ามากกว่า 30 ปี เป็นต้น
ชุมชนพลัดถ่ินที่เกิดจากกิจกรรมการต้า เช่น ชาวอินเดีย ชาวจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่เดินทางมาหนีร้อนมาเพื่อแสวงหาดอกาสทางการต้าในดินแดนใหม่ๆ
- นักท่องเที่ยวในประเทศไทย สถิติสำนักงานตรวจคนเชข้าเมืองและกรมการท่องเทียวรายงานว่า ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในประทเศไทยมากว่า 22 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในไทย 10 อันดับแรกในต้นปี 2556 ได้แก่ จีน มาเลเซีย รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหบลี อินเดีย สหราชอาณาจักร อเมริกา ออสเตรเลียปละเยอรมนี ได้จำนวนนี้มีนัำท่องเที่ยวจาภูมิภาคอาเซียนมาเที่ยวประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 24 จัดเป็น 1 ใน 4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด โดยมีมาเลเซย ลาว และสิงคโปร์มาเที่ยวมากที่สุดตามลำดับ จะเห็นว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามาประเทศไทยมิใช้แต่ชาตอที่พูดภาษาอังกฤษอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่มีความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีผุ้ที่เกี่ยวข้องกับภาคบริการนักท่องเที่ยว เช่น ร้านขายของที่ระลึก ร้านตัดเสื้อ ร้านอาหาร ดรงแรม ที่พัก เป็นต้น ที่มีพนักงานต้อนรับเป็นชาวต่างชาติที่หน้าตาดูเหมือนมาจากเอเชียใต้ แต่เมื่อสอบถามไปจะได้คำตอบว่าส่วนใหญ่เป็นชาวพม่าเชื่อสายเนปาลีที่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง ซึ่งพบได้ทั่วไปตามสถานที่ท่องเทียวชายทะเลที่มีช่อเสียงของไทย จึงเกิดคำถามว่าแล้วคนไทยทำอะไรบ้างในภาคการท่องเที่ยว...
กระสแโลกาภิวัตน์ในภาษาและวัฒนธรรม กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยดังกล่าวข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนที่จำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ระหว่างเรื่องของเศรษบกิจ ภาษา วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในลักษณะของการไหลเวียน ในมิติชาติพันธุ์ในรูปของนักท่องเทียว ผุ้อพยพ คนพลัดถิ่น และแรงงานข้ามชาติ ในมิติของมนุษย์ ในมิติของเทคโนโลยี ในมิติของเงินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้า ในมิติตของสื่อ และในมิติตของอุดมการณ์ เช่น ประชาธิปไตย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทุกมิติ และมีผลกระทบต่ออาเซียนตามกรอบแนวคิดของอัปปาดูโร(1990) ดังกล่าว..(บทความ "ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ : ความท้าทายของประเทศไทย, โสภนา ศรีจำปา)
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างยากที่จะกล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่พาดพิงเกี่ยวข้องกับอีกอย่างหนึค่งได้ หลายท่านถึงกับมีความเชื่อว่า ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลัการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยัถึงความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เสมือนกับเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จนสามารถนิยามได้ด้วยหลักการเดียวกัน มีการศึกษาที่ยืนยันถึงความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรมในศาสตร์จำนวนหนึ่ง อาทิ ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ ซึ้งมีความเช่อว่าภาษาเป้นสิ่งที่สะท้อนความนึกคิดและการมองโลกของเจ้าของภาษา หากมีการพิจารณาควรามหมายของศัพท์หวมดต่างๆ ในภาษาหนึ่งๆ แล้ว จะทำให้เรารู้และเข้าใจความนึกคิดและการมองโลกของชนที่พูดภาษานั้นได้ อาทิ คำเรียกญาติในภาษาต่างๆ จะทำให้เราเห็นค่านิยมหรือแนวความคิดที่แตกต่างกัน... อีกทั้งในแวดวงมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ก็มีความเชื่อว่ากิจกรรมต่างๆ ทางวัฒนธรรมจะสะท้อนออกมาทางภาษา และภาษาก็สามารถแสดงให้เห็นถึงคามคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของภาาาและวัฒนธรรมนักวิชาการเหล่านี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโลกทัศน์และลักษณะไวยากรณ์วัฒนธรรมและอรรถศสตร์การเปลี่นแปลงของภาษาและวัฒนธรรม เป็นต้น
จากความเชื่อว่าภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาและได้มีการศึกษาและพยายามแสดงให้เห็นถึงปรากฎการณ์ในด้านต่างๆ มีภาษาสามารถสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ว่าจะเป้นการแสดงออกทางด้านไวยากรณ์ ความหาย หรือการใช้ภาาาก็ตามดังที่ได้กล่าวไปกล้วนั้น ยังมีอีกประเด็นหนึ่งในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมที่เป้นที่สนใจของนักภาษาศาสตร์ และนักมานุษยวิทยาคือ ประเด็นที่ว่าลักษณะที่ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมในด้านโครงสร้างต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นเช่นเดียวกันในทุกภาษาหรือไม่และอย่างไร และหากมีความแตกต่างกันก็เชื่อได้ว่าประเด็นที่แตกต่างกันเอาจจะทำให้ป็นปัญหาในการติดต่อสื่อสารข้ามภาษาและวัฒนธรรม เนื่องจากการที่ภาาาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิดนั้น ทำให้การที่จะเข้าใจภาษาอื่นๆ จะพิจารณาเอาแต่ตัวภาษาอย่างเดียวไม่ได้จำต้องอาศัยความรู้ความมเข้าใจในวัฒนธรรมของผุ้ที่พุดภาษานั้นๆ ด้วย ดังจะได้กล่าวถึงภายใต้หัวข้อความเป็นสากลและเอกลัษณ์ของภาษาและวัฒนธรรม และการสัมผัสภาษาตามลำดับต่อไป
ภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นมีความเป็นสัมพันธภาพ ต่อกัน และเมื่อกฃ่วถึงสัมพันธภาพของภาษาและวัฒนธรรมต่างๆ ในโลกนั้นนักภาษาศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักวัฒนธรรมศึกษามีประเด็นปัญหาที่เป้นความสนใจร่วมกันอยู่สองประเด็นหลักคือ "อะไรคือสากลลักษณ์หรือประสบการณ์ร่วมของมนุษย์ไม่ว่าจะพุดภาษาใดหรืออยู่ในชุมชนวัฒนธรรมใดก็ตามไ และ "อะไรคือความเป็นเอกลักษณ์หรือประสบการณ์เฉพาะของมนุษย์แต่ละภาษาแต่ละวัฒนธรรม"...
ธรรมชาติทางชีวภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมของถ่ินที่อยุ่อาศัยที่คลายคลคึงกันดังที่ได้กล่าวานั้นเป็นสาเหตุของปรากฎการณืหนึ่งที่นักวิชการทางด้านวัฒนธรมศึกษาเรียกว่าการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ซึ่งเกิดขึ้นไม่มากก็นอย อีกรณีหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเหลือมซ้อนทางวัฒนธรรมคือการแพร่กระจายทางวัฒนะรรม ซึ่งจะไปทำให้ความเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมที่รับการแพร่กระจายเข้าไปจากภาษาและวัฒนธรรมอื่นลดลง เช่น การที่ภาาาและวัฒนธรรมของคนที่พุดภาษาอังกฤษได้แพร่กระจายเข้าแทรกวัฒนธรรมของชนชาติอื่นๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดตั้งแต่สมัยอาณานิบคมนั้น ทำให้เอกลักษณ์ของความเป็นชนชาตินั้นๆ ลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมที่มีต่อชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษมีมากขึ้นเรื่อยๆ ดังน้นความสามารถในการเข้าใจข้ามภาษาจึงอาศัยปัจจัยทางสากลลัษณ์และความเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรม ส่วนปัญหาหรืออุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาก็จะเป็นเรื่องของความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้นๆ ดังจะได้กล่วต่อไป
ปัญหาของสภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมเกิดจาการสัมผัสภาษา หมายถึงการที่ภาษาหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากเจ้าของภาษารับเอาลักษณะบางอย่างในระบบขชองภาษาอื่นมาใช้ ซึ่งก็ย่อมต้องกรับเอาวัมนธรรมบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ด้วยเช่นกันการศึกษาเรื่องการสัมผัสภาษาอาจครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับ การแพร่กระจายภาษา, การแปลภาษา, การยืมภาษา, การพูดภาาาต่างประเทศ,การพูดสองภาษา, การแทรกแซงภาษา, การสับเปลี่ยนสัญญาณหรือภาษา, ตลอดจนการปลูกฝังภาษาใหม่
ปัญหาจการสัมผัสภาษาที่เรามักประสบอยู่บ่อยๆ ในการใช้ภาษาในสภานการ์ต่างๆ คือ การแปลและการเข้าใชข้ามภาษา การยืมภาษาและการพูดหรือใช้ภาษาต่าง ประเทศโดยทั่วไป ซึ่งปัญหาเหล่นนี้จะมีความสำคัญหรือเป็นปัญหาใหญ่ หรือไม่ขึ้นอยุ่กับความมากน้อยในการเหลื่อมซ้อนทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางด้านความหายของสองภาษา ดังนี้
- การแปลและการเข้าใจข้ามภาษา นำมาซึ่งความจำเป็นในการที่จะต้องเข้าใจข้ามภาษาและการแปล หล่าวคือ เมื่อภาษาตั้งแต่สองภาษามีการติดต่อและรับเอาลัาระบางอย่างของอีกระบบภาษาหนึ่งเข้ามา จะมีการเปลี่ยนแปลงในภาษานั้นๆ เกิดขึ้น ในบางครั้งการรับเอาระบบบางอย่างของภาษาอื่นมาใช้ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเนื่องจากมีวัฒนธรรมต่างกัน การรับคำหรือไวยากรณ์ของภาษาอื่นมาใช้ไม่สามารถทำได้โดยการแปลจากความหายของคำและความสัมพันะ์ของคำในประโยคเท่านั้น ยังต้องมีความรู้ในเรื่องของปริบทเชิงวัมนธรรมอีกด้วย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว...
กรอบความคิดที่องวัฒนธรรม ในเรื่องของการแปลในระดับคำนั้น ความคิดหรือคำศัพท์ท่จัดว่าเป็นสากลหรืออยู่ในสวนที่เหลื่อมซ้อนกันทางวัฒนธรรมและเป็นรูปธรรม เช่น ในภาษาไทยคำว่า พ่อ แม่ ต้นไม่ ฯลฯ จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแปลมากนักหรือไม่เป็นปัญหาต่อการแปลเลยในขณะที่คำที่บ่งวัฒนธรรม เช่น รำวง เกรงใจ ขันหมาก ฯลฯ ที่ไม่มีคำใช้ในวัฒนะรรมภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ ก็จะเป็นต้องแปลเป็นข้อความที่ยาวจึงจะได้ความหมายที่ใกล้เคียงกับความหมายเดิม..
ยิ่งไปกว่านั้นคำที่เป็นปัญหาในการแปลบางคำยังเป็นคำที่ยากสไรับเจ้าของภาษาที่จะอธิบาย และกำหนดความหมายที่แน่นอนได้ด้วยภาษาเพียงอย่างเดียว จะต้องอาศยมโนทัศน์และการลงมือปฏิบัติด้วย เช่นในการอธิบายคำว่า นิพพาน จะต้องมีความเข้าใจความหมายของพทุชธศาสนาดดยตลอด ซึ่งก็ได้มีการตีควมของคำว่า นิพพาน ต่างๆ กันไปในแต่ละพุทธนิกายและนักปราชญ์ทางศาสนาพุทธแต่ละท่านและมีข้อถกเถียงที่มไม่สามารถยุติได้ ซึ่งได้มีผู้กล่าวถึงปัญหาในการตีความของคำว่า นิพพาน ว่าเป็ฯปัญหาเรื่องความสับสนระหว่างมดนทัศน์กับการให้คึำนิยามด้วยภาษา ซึ่งมดนทัศน์ไม่สามารถสื่อได้ด้วยคำอธิบายหรือนิยามทางภาษาอันจะเป็นการจำกัดความหมายของคำว่า นิพพานความหมายจะรวมถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือโลกแห่งประสบการณ์ของมนุษย์ "ถ้าเราพยายามจะใช้ถอ้ยคำเพื่ออธิบายสิ่งใดก็ตามที่อยู่นอกปรสบการณ์ เราก็จำต้องดัดแปลงสิ่งนั้ั้นให้เขามาอยู่ในขอบเขตที่มนุษย์จะเข้าใจได้เสียก่อน โดยไม่คำนึงถึงความที่แท้จริงของมัน"...
บทความนี้ได้เน้นให้เห็นว่าภาษาต่างๆ มีความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของผุ้พุดาษานั้นๆ อย่าง ใกล้ชิด ในลักาณของการอ้างอิงซึ่งกันและกัน ภาาาเป็นเสมือกุยแจไขสู่วัฒนธรรมและในขณะเดียวกันภาษาจะเป็นที่เข้าใจอย่างแท้จริงลึกซึ้งมิได้ถ้าปราศจากความรุ้ในเรื่องปริบททางวัฒนธรรมดังนั้นภาษาและวัฒนธรรมควรมีการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน การสอนภาษาต่างประเทศในดรงเรียนจึงเป็นการสอนวันธรรมของภาษาต่างประเทศนั้นๆ ไปในตัวในรูปของการเป็น "ภาษาแห่งวัฒนธรรม" มากกว่าที่จะเป็นภาษาโดยเอกเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีคำกล่าวที่ว่าภาษาเป็นตัวบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของผุ้พูด ังที่ วิลเฮม วอน ฮัมโบลดท์ กล่าวไว้ว่า "A language veils the world for the its speakers" ในกรณีที่มีการสัมผัสภาษาเกิดขึ้นนั้น สภาวะต่างภาษาต่างวัฒนธรรมจะก่อให้เิดปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษา ซึ่งไม่ได้เกิดจากความรู้ในตัวของภาษาแต่เพียงอย่างเดียวต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้พุดภาษานั้นๆ ด้วย ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะมีมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยุ่กับสากลลักษณ์แฃละเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนะรรมนั้น ซึ่งหากภาษาและวัฒนธรรมมีความเป็นสากลลักษณ์มากหรือมีความเป็นเอกลักษณ์น้อยเพียงใด ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใจข้ามภาษาและวัฒนธรรมก็มีมากน้อยเพียงนั้น..( บางส่วนจากบทความ "สากลลักษณ์และเอกลักษณ์ของภาษาและวัฒนธรรมสิ่งอำนวยและอุปสรรคในการสัมผัสภาษา". อัญชลี สิงห์น้อย)
หากคนทั้งโลกพูดภาษาเดียวกันสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลก มีวัฒนธรรมเดียวกันเหมือนกันทุกประเทศ โลกนี้คงไม่มีสีสัน เพราะไม่มีคึวามแปลกแตกต่างอันใดที่น่าค้นหา แต่เพราะคนในโลกพูดกันคนละภาษา มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน จึงทำให้โลกนี้น่าศึกษาน่าค้นหา ความแปลกแตกต่างกันนี้เองคือเสน่ห์อย่างหนึ่งของโลก หากคนพูดภาษาเดียวกัน ภาษานั้นควรจะเป็นภาษาอะไรหากทุกประเทศจะมีวัฒนธรรมร่วมกันวัฒนธรรมนั้นควรจะเป็นวัฒนธรรมอะไร
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ได้จัดโครงการ "ส่งเสริมการอยุ่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด" โดยเชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต มาร่วมสมัมนา เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของบุคคลากรให้สามารถดำรงอยู่ได้ในเวทีอาเซียนอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ยอ่งเหมาะสม สถานที่จัดงานอยู่ที่อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
...การรวมตัวของประเทศที่มีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกันนั้น จะหาความเป็นเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งนั้นมิใช่เรื่องง่าย มีเพียงวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างเท่านั้นที่เหมือนกันเช่นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ซึ่งเปลี่ยนพร้อมกันทั่วโลก พอจะยึดถือวันขึ้นปีใหม่เป็นประเพณีประจำปีของอาเซียนได้ แต่บางประเพณีมีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ยังถือปฏิบัติเช่นในเดือนเมษายน ประเทศไทยและลาวมีประเพณีวันสงกรานต์ แต่ชาติอื่นในอาเซียนอาจจะไม่เน้นในประเพณีนี้ จะหลอมรวมความเป้นหนึ่งได้อย่างไร
ภาษาและวัฒนธรรม ในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียนมีวัฒนธรรมหลายกลุ่ม วิทยากรท่านหนึ่งได้จำแนกออกเป็นหกกกลุ่มคือ วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู, วัฒนธรรมพุทธ, วัฒนธรรมอิสลาม, วัฒนธรรมคริสต์, วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วัฒนธรรมที่เป้นสากลในอาเซียนส่วนหนึ่งมาจากศาสนา แต่ละศาสนาต่างก็มีอัตลักษณของตนเอง การที่จะให้คนทั้งสิบประเทศเหลี่ยนมนับถือศาสนาเดียวกันหมดคงเป็นไปได้ยาก เรื่องของความเชื่อนั้นบังคับกันไม่ได้ ... ทางออกที่ดีที่สุดคือต้องยอมรับในวัฒนธรรมของแต่ละประเทส ยอมรับในความแตกต่าง ใครมีความเชื่ออย่างไรก็ปฏิบัติตามหลักการที่ตนเคยปฏิบัติ เหมือนป่าไม้ใหญ่ ไม่ได้มีต้นไม้ชนิดเดียว แต่มีต้นไม้ หลายพันธุ์อยู่ด้วยกัน จึงเรียกว่าป่า หากใครคิดที่จะนำต้นไม้มาผูกรวมกันให้เป็นไม้ต้นเดียวกัน ไม่นานต้นไม้ก็จะงอกงามตามธรรมชาติไม่ได้.. ปรียบดังภาษาและวัฒนธรรม อาเซียนก็มีหลายภาษาหลายวัฒนธรรม แต่ละประเทสไม่รุกล้ำล่วงเกินวัฒฯธรรมของแต่ละชาติพันธุ์ ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ มีวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่เป้นวัฒนธรรมร่วมกันได้คือวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่งเท่าเียมกัน เป็นวัฒนธรรมร่วมของคนทั้งโลก
ด้านภาาาในประชาคมอาเซียนก็มีภาษาหลายตระกูลเช่นภาษาตระกูลออสโตรเอเซียติก ภาษาตระกูลไท-กะได ภาษาตระกูลจีน-ทิเบตรวมถึง พม่า ภาษาตระกูลม้งเย้า ภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปี้น เป้ฯต้นแต่ละประเทศก็มีภาษาของตนเอง บางประเทศยังมีภาษาท้องถ่ินแยกย่อยออกไปอีกหลายสิบภาษา ดังนั้น ในการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมอาเซียนจึงกำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แต่ปัญหาก็เกิดขึ้นอีกว่าแล้วคนประเภทไหนที่จะใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกันได้บ้าง
ในส่วนของนักธุรกิจตอ้องสือสารกันได้อยู่แล้ว นักวิชากการพอจะอนุมานได้ว่าคงพอคุยกันรู้เรื่อง แต่สำหรับชาวบ้านจะติดต่อสื่อสารกันอย่างไร คในชนบทจะสื่อสารกับคนในประเทศอื่นรู้เรีองหรือไม่ ปัญหาด้านภาษาคงพอจะปรับเปลี่ยนแก้ไขกันได้เพียงบางส่วน แต่จะให้คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้คล่องเหมือนกับคนในประเทศฟิลิปปินส์และสิงคโปร์คงต้องใช้เวลาอีกหลายปี
แต่ทว่าภาษามิใช่สิ่งที่ปิดกั้นพรมแดนแห่งการติดต่อ เพราะภาษาเป็ฯส่วนหนึ่งของการสื่อสาร ผุ้ที่เรียนรู้ภาษาของอีกคนกลุ่มได้อาจจะได้เปรียบบ้าง แต่คงไม่มากนัก หากจะเรียนทุกภาษาในอาเซียนคงยาก ดังนั้นเรียนภาษาอังกฤษไว้บ้าง พอติดต่อสื่อสารกันได้บ้างก็น่าจะเพียงพอ
เป็นที่น่าสังเกตว่าปัจุบัแม้ว่าประชาคมอาเซียนจะไม่เปิดอย่างเป็นทางการ แต่ในทางปฏิบัติบางพื้นที่ในประเทศไทย มีประชาคมอาเซียนอยางไม่เป้ฯทางการมานานแล้ว มีการอยุ่ร่วมกัน ทำงานร่วมกันมานานหลายปีแล้วเช่นที่มหาชัย สถานที่บางแห่งถึงกับต้องมีภาษาของหลายประเทศไว้เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
หากใครผ่านไปที่มหาชัยเห้นภาษาเมียนมาร์ ภาษาลาว ภาษากัมพุชาติดประกาศตามสถานที่บางแห่งก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะที่เมืองนี้มีคนจากประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานจำนวนมาก ดูเหมือนว่าเศราฐกิจของเมืองนี้ส่วนหนึ่งอยู่ที่คนงานจากต่างประเทศ หากคนงานเหล่านี้ประกาศอยุดงานพร้อมกัน เมื่องนี้ก็จะกลายเป้ฯอัมพาตไปทันที่ มหาชัยจึงน่าจะเป็นเมืองต้นแบบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้...
วันแรกของการสัมนาได้ฟังวิทยากรบรรยายสามเรื่องว่าด้วยภาษาและวัฒนธรมอาเซียน พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซียนกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 11 การสัมมนายังมีอีกหลายวัน วันนี้เป็นเหมือนการเตรียมความพร้อมในการเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษไปพลางก่อน
cybervanaram.net/2009-12-17-14-44-23-14/1230-2015-12-17-14-13-57
วัฒนธรรมและภาษาในอาเซียนเพียงสองเรื่องก็น่าจะทำงานวิจัยได้หลายเล่ม เพียงแค่ภาษาในตระกูฃไท-กะไดอย่างเดียวก็ยากที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจได้หมด แ้ชนเผ่าไทอย่งอเดียวก็มีไทหลายเผ่าเช่น ไทดำ ไทขาว ไทแดง เป็นต้นกระจายกันอยู่ในแต่ภูมิภาคของโลกบางกลุ่มพอคุยกันรู้เรื่องบ้างเช่นไทยในสิบสองปันนา จีน ไทในอัสสัม อินเดียว ไทในรัฐฉาน เมียนมาร์ เป็นต้น หากจะเรียนรู้ทุกภาษาแลุวัฒนธรรมในอาเว๊ยนอย่างจริงจัง คงต้องใช้เวลาอีกนาน ถึงแม้จะไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นก็ไม่เป็นไรนัก แต่หากไม่เข้าใจวัฒนธรรมของชาติตนแล้วก็ยากจะอยุ่ร่วมกับคนในประชาคมอาเซียนอย่างชาญฉลาด...
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งในยุคสมัยต่างๆ ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ขึ้นในภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนตามกรอบแนคิดของอัปปาดูไร ที่ว่า "ความสลับซับซ้อนของโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันจึงจำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐาน ี่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ในระหว่างเรื่องของเศราฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ในลัษณะของการไหลเวียน ใน 5 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและมีผลกระทบต่อโลกอันได้แก่
- การไหลเวียนในมิติของมนุษย์หรือชาติพันธุ์นรูปของนักท่องเที่ยว ผู้อพบพลี้ภัย คนพลัดถิ่นและแรงงานข้ามชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเทคโนโลยีที่ตัดข้ามเส้นแบ่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นเเบ่ง รัฐ-ชาติ
- การไหลเวียนในมิติของเวินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้าในระดับโลก
- การไหลเวียนในมิติของสื่อซึ่งกลายเป็นรากฐานสำคัญของการจินตนาการเกี่ยวกับตัวตนของคนในโลกปัจจุบัน
- การไหลเวียนนมิติของอุดมการณื เช่น อุดมการณืประชาธิปไตย
กระแสโลกาภิวัตน์ทั้ง 5 มิตินี้ได้ไหลเวียนข้ามพรมแดนรัฐ-ชาติในระดับต่างๆ อย่างทั่วถึง เป็นการไหลเคลื่อนย้ายต่างระดับความเร็ว ต่างแกน ต่างจุดเริ่มต้น และปลายทาง ดลกาภิวัตน์จึงไม่ใช่ดลกของความเป็นหนึ่งเดียวและกลมกลืน แต่ผนึกด้วยภาซะไม่เท่าเทียม สับสนวุนวายและสบลับซับซ้อนที่ทำให้เกตุการณ์ความร่วมมือ ความขัดแย้ง การสู้รบระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ระหว่างประเทศต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วในประวัติศาสตร์ ส่งกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือทำให้เกดกระแสชาตินิยม ดดยเฉพาะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ขณะเดียวกันไ้นำไปสู่การไหลเวียนของผุ้คนที่เข้ามาพร้อมกับมิติอื่นๆ อีก 4 มิติ ที่อัปปาดูไรได้ให้คำนิยามไว้ ดดยในยุคแรกผุ้คนจากภุิภาคื่อนเคลื่อนย้าาย
เข้ามาสุ่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ หรือผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกันอพยยพพข้ามประเทศไปมา ไม่ว่าจะในฐานะนักท่องเที่ยว คนพลัดถิ่น ผุ้อพยพลี้ภัย หรือแรงงานชข้ามชาติก็ตามถือเป็นปรากฎการณืของกระแสโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในภุมิภาคนี้ ดังกรณีตัวอย่่างต่อไปนี้
-แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยหลักการแรงงาน เกิดจากปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในบริบทของพื้นที่นั้นๆ ปัจจัยผลักดันจากประเทศต้นทางมีสาเหตุจาก อัตราว่างงานสูง ระดับค่าจ้างที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับต่างงประเทศ ขาดสิ่งจูงใจสำหรับความก้าวหน้าใอาชีพ นโยบายการพัฒนากำลังคนที่ไม่เหมาะสมค่านิยมทางสังคม นดยบายทางเศราฐกิจของประเทศ ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ่วนปัจจัยดึงดูดสุ่ประเทศปลายทาง มีสาเหตุจากระดับค่าจ้างและเงนิเดือนที่สูงกว่ามาก การขาดแคลนแรงงานในบางสาขา โอาสและความก้าวหน้าในอาชีพ การให้นักศึกษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอบรมได้ในประเทศปลายทาง และปัจจัยทางสังคมและการเมือง
ประเทศเมียนมาร์ ในฐานะประเทศหนึ่งในสมาชิกของประชาคมอาเซียเกิดปัจจัยผลักดันประการต่างๆ ขึ้นในประเทศ และประเทศไทยซึ่งเป้นหนึ่งในประเทศปลายทวที่มีปัจจัยดึงดูด เช่น มีความมั่นคงทางด้านเสณาฐิจสังคมมากกว่า มีอัตราค่าจ้างและเงินเดือนที่สูงกว่ามาก และการขาดแคลนแรงงานตามแนวคิดการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศตามเหตุปัจจัยที่ผลักดัน และดึงดูด ให้เกิดการอพบยยแรงงานข้ามชาติขึค้น ซึ่งนำไปสู่ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมที่หากปล่อยปละละเลยจะส่งผลกระทบด้านเสียหายต่อสังตสในประทเศจ้างงานเป็นอย่างยิ่งดังที่กำลัีงเกิดขึค้นในบางพื้นที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน
- คนพลัดถิ่นในประเทศไทย คนพลัดถืิ่นตามนิยามที่โรบิน โคเฮ็น ให้ไว้หมายถึงกลุ่มคนหรือชุมชนข้ามพรมแดรรัฐ -ชาติ ที่มีคุณลักษะร่วมที่สำคัญเก้าประการคือ เป็นกลุ่มคนที่กระจายอยู่นอกมาตุภูิมต้งแต่สองแห่งหรือสองประเทศขึ้นไป, สาเหตุการกระจายในข้อแรกอาจมาจากการบังคับ การแสวงหางานทำ การค้าหรือนโยบายของเจ้าอาณานิคม, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความทรงจำร่วมเกี่ยวกัีบถิ่นกำเนิด, กลุ่มคนเหล่านั้นมีอุดมคติและพันธร่วมในการรักษา ฟื้นฟูสร้างความปลอดภัย ความมั่นคงแก่มาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกร่วมและกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อกลับมาตุภูมิ, กลุ่มคนเหล่านั้นมีสำนึกความเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มข้น และสำนึกดังกล่าวได้รับการธำรงไว้ข้ามกาลเวลา, กลุ่มคนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ุไม่ราบรื่นกับสังคมของประเทศที่ตนอาศัยอยุ่ในปัจจุบัน, กลุ่มคนเหล่านั้นมีควาเห้ฯอกเห็นใจและมีความเป็นปึกแผ่นหรือความสมานฉันท์กับคนพลัดถิ่นชาติพันู์เดียวกันในอีกประเทศฅ กลุ่มคนเหล่านั้นอาจจะมีชีวิตที่เฉพาะสร้างสรรค์ และมั่งคั่งในประเทศพักพิงที่มีขันติธรรมต่อความแตกต่างทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
คุณลักษระร่วมตามนิยามดังกล่าวนี้โคเฮ็นเสนอว่าไม่จำเป้นต้องพบครบทุกประการในชุมชนคนพลัดถิ่นหนึ่งๆ คำว่า คนพลัพถิ่น จึงเป็นคำกลางๆ ที่ใช้เรียกกับคนที่อยุ่ข้ามพรมแดนประเทศแม่ของตน โดยนิยามดังกลาวนี้ทำให้เห็นกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทยที่สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
- ชุมชนคนพลัดถืิ่นที่เกดจกการบีบบังคับหรือตกเป็นเหบยื่อ เช่น ชาวเขมรลี้ภัยสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในประเทศ กลุ่มกะเหรี่ยง ที่อยู่ในค่ายตมแนวชายแดนไทย- พท่ามากกว่า 30 ปี เป็นต้น
ชุมชนพลัดถ่ินที่เกิดจากกิจกรรมการต้า เช่น ชาวอินเดีย ชาวจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่เดินทางมาหนีร้อนมาเพื่อแสวงหาดอกาสทางการต้าในดินแดนใหม่ๆ
- นักท่องเที่ยวในประเทศไทย สถิติสำนักงานตรวจคนเชข้าเมืองและกรมการท่องเทียวรายงานว่า ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในประทเศไทยมากว่า 22 ล้านคน จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในไทย 10 อันดับแรกในต้นปี 2556 ได้แก่ จีน มาเลเซีย รัสเซีย ญี่ปุ่น เกาหบลี อินเดีย สหราชอาณาจักร อเมริกา ออสเตรเลียปละเยอรมนี ได้จำนวนนี้มีนัำท่องเที่ยวจาภูมิภาคอาเซียนมาเที่ยวประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 24 จัดเป็น 1 ใน 4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด โดยมีมาเลเซย ลาว และสิงคโปร์มาเที่ยวมากที่สุดตามลำดับ จะเห็นว่านักท่องเที่ยวที่เข้ามาประเทศไทยมิใช้แต่ชาตอที่พูดภาษาอังกฤษอย่างเดียวเท่านั้น หากแต่มีความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีผุ้ที่เกี่ยวข้องกับภาคบริการนักท่องเที่ยว เช่น ร้านขายของที่ระลึก ร้านตัดเสื้อ ร้านอาหาร ดรงแรม ที่พัก เป็นต้น ที่มีพนักงานต้อนรับเป็นชาวต่างชาติที่หน้าตาดูเหมือนมาจากเอเชียใต้ แต่เมื่อสอบถามไปจะได้คำตอบว่าส่วนใหญ่เป็นชาวพม่าเชื่อสายเนปาลีที่พูดภาษาอังกฤษได้คล่อง ซึ่งพบได้ทั่วไปตามสถานที่ท่องเทียวชายทะเลที่มีช่อเสียงของไทย จึงเกิดคำถามว่าแล้วคนไทยทำอะไรบ้างในภาคการท่องเที่ยว...
กระสแโลกาภิวัตน์ในภาษาและวัฒนธรรม กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยดังกล่าวข้างต้นได้แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนที่จำเป็นต้องพิจารณาถึงหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการแตกหักขาดตอน ระหว่างเรื่องของเศรษบกิจ ภาษา วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองในลักษณะของการไหลเวียน ในมิติชาติพันธุ์ในรูปของนักท่องเทียว ผุ้อพยพ คนพลัดถิ่น และแรงงานข้ามชาติ ในมิติของมนุษย์ ในมิติของเทคโนโลยี ในมิติของเงินผ่านตลาดทุน ตลาดหุ้น ตลาดสินค้า ในมิติตของสื่อ และในมิติตของอุดมการณ์ เช่น ประชาธิปไตย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทุกมิติ และมีผลกระทบต่ออาเซียนตามกรอบแนวคิดของอัปปาดูโร(1990) ดังกล่าว..(บทความ "ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ : ความท้าทายของประเทศไทย, โสภนา ศรีจำปา)
วันอังคารที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Austronesian languages IIII (central-Eastern malayo-polynesian languages)
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนูกแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบักลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาโย-โพลีเนเซียศุนย์กลาง กลุ่มนเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่า กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือ กลุ่มภาษานิเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ซึ่งคาดวว่ามีแหล่งกำเนิดอยู่ที่เกาะซูลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี แรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซูลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โ และภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
กล่มุภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนกลาง-ตะวันออก เป็นสาขาของกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่ม 700 ภาษา ประกอบด้วย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนกลาง อาทิ กลุ่มภาษาบีมา-ซุนบา, กลุ่มภาษาติมอร์-ฟลอเรส, กลุ่มภาษาดามรตะวันตก, กลุ่มภาษาบาบัร, กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกฌแียงใต้, ภาษาเตอร์-กูร์, กลุ่มภาษาอารู, ภาษาเคโกวีโอ, กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ, กลุ่มภาษามาลูกูกลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง มีผู้พูดในหมุ่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลบันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกู และประเทศอินโดนีเซียและประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาษาบิมาที่แพร่กระจายในแบลแถบจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวาและกลุมภาาาซุลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลัของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวาเกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ภาษามัวหาไรของเกาะหลอเรสตะวันตกและภาษาเคตที่เป็ฯภาษาประจำชาติของติมอร์เลสเต การจัดแบ่งกลุ่มภาษานีมหลักฐานอ่อนโดยเฉพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษณะร่วมของภาษาใน
เขชตภูมิศาสตร์เดียกัน นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออกทีต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียตะวันออก ภาาาจำนวนมากทางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสโตรนีเซียนมาก และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่
หมู่เกาะโมลุกกะ หรือหมู่เกาะมาลูกู เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซี และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลื่อกโลกออสเตรเลียทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี(เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกเกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่นยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคูข้าว และเครื่องเทศต่างๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดมโดยเฉพาะบนเกาะบันดาแต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 มาลูกูเหนือและฮัลมเฮราลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น จังหวัด คือ มาลูกู และมาลูกูเหนือ ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความชัดแย้เงระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กีปีที่ผ่านมา
หลักฐานทางโบราณคดียุคแรกของโมลุกกะเกียวกับการครอบครองอินแดนของมนุษย์เก่าแก่ราว 32,000 ปี แต่หลักฐานเกี่ยวกับการตั้งรกรากที่เก่าแก่ว่าในออสเตรเลียบ่งชี้ว่ามาลูกูมีผู้มาเยือนก่อนหน้านั้น หลักฐานของควมสัมพันธ์ทางการค้าระยะไกลที่เพิ่มขึ้น และการครอบครองเกาะต่างๆ ที่มากครั้งขึ้นน้้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณหมื่นถึงหมื่นห้าพันปีหลังจากนั้น ลูกปัดหินออนิกซื และข้อปล้องที่ทำด้วยเงินซึ่งใช้แทนเงินตรา ในแถบอินเดียราว 200 ปีก่อนคริสตกาลถูกขุดพบนบางเกะนอกจากนี้ ภาษาท้องถ่ินที่รากของคำมาจากภาษามลายูในคำว่าแปลว่า "แร่เงิน" ขัดแย้งกับคำที่ใช้นสังคมชาวเมลานีเซียนซึ่งมีที่มาจากภาษาจีน การต้าท้องถ่ินกับจีจึงน่าจะเกิดขึ้นในช่วงคริสตวรรษที่ 5-6
โมลุกะเป็นสังคมที่เกิดจากหลากเชื่อช้าติ และภาษา ที่ซึ่งพ่อค้าเครื่องเทศจากหลายภูมิภาคเข้ามาอาศัยตั้งรกราก รวมทั้งพ่อค้าชาวอาหรับและจีนที่ม่เยือนและใช้ชีวิตในอินแดนแถบนี้
จังหวัดมาลูกู เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก จังหวัดที่ประชากร หนึ่งล้านห้าแสนคน ในปี 2010
ทะเลบันดา ตำแหน่งขอททะเลบัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลบันดา ตั้งอยุ่ทางใต้อขงหมู่เกาะโมลุุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย วัดจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก กว้างประมาณ 1,000 กิโลเมตร จากเหนือจรดใต้ยาวประมาณ 500 กิโลเมตร บันดา หมวดหมู่ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย
หมู่เกาะบันดาเป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้องอยุ่ 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซอรัมและราว 2000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของออินโดนีเซียเมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึคกราว 4-6 กิโลเมตรและมีเหนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตรมีประชากรทั้งสิ้นราว 15,000 คนบันดาเป็นแหล่งผลิต ผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำและนักดำน้ำลึกด้วย
ซุมบาวา เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซียตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์ซุนดาทางตะวันออกของเกาะลอมบอกและตะวันตกของเกาะฟลอเรส เกาะซุมบาวามีพื้นที่ 5,400ตารางกิโลเมตร (เป็น 3 เท่าของเกาะลอมบอก) มีประชากรรวม 1.33 ล้านคน เกาะเต็มไปด้วยภูเขา ยอดสูงสุดเป็นภูเขาไฟชื่อกุหนึงตัมโบรา อยุ่ที่ปลายสุดของคาบสมุทรทางตอนเหนือ มีดินอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเมืองร้อนได้ดีหลายชนิด
เดิมเกาะนี้เป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมา แตกออกเป็นรัฐขนาดเล็หลายแห่ง เร่ิมติดต่อกับฮอลันด ในคริสต์สตวรรษที่ 17 เมื่อ ค.ศ. 1815 ภูเขาไฟกุหลังตัมโบราเกิดปะทุอยางรุนแรงทำให้ประชาชนเสียชีิวตและไร้ที่อยุ่อาศัยหลายหมื่นคน จึงมีการอพยพผู้คนจากเกาะใหช้เคียงเข้ามาอยุ่อาศัยแทน ในตอนต้นคริสตศตวรรษที่ 20 ฮอลันดาได้เข้ามาปกครอง ถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างสงครามดลกครั้งที่ 2 และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราชในค.ศ. 1950
ประเทศอินโดนีเซีย หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยุ่ระหว่างคาบสมุทรอินโดนีจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรออินเดียกับมหาสุมทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประทศมาเลเว๊ยบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน ประเทศปาปัวนิวกินิบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์
ประเทศติมอร์-เลสเต มีชื่เรียกอย่างเป็นทางการว่าสาะารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต เป็นประเทศที่ตั้องอยู่บนเหาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก แเกาะอาเตารู และเกาฌากูที่อยู่ใหล้เคียง และเขตโอเอกูซี ซึ่งตั้งอยุ่บนฝั่งตะวันของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย
แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 และในปี พ.ศ. 2542 ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พ.ค. พ.ศ. 2545 เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ ในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียวกประเทศอย่างทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเกส
เกาุะติมอร์ เป็นเกาะที่อยุ่ใต้สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยุ่ทางตอนเหนือของทะเลติมอร์พื้นที่บนเกาะแบ่งได้เป็นสองส่วน ได้แก่ติมอร์เลสเตร์ซึ่งเป็นรัฐอิสระและติมอร์ตะวันตก ซึ่งเป็นพื้นี่ส่วนหนึ่งของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก
เกาะติมอร์มีพื้นที่ สามหมื่นกว่าตารางกิโลเมตรชื่อของเกาะมาจากคำว่าตีมูร์ ในภาษามลายู ซึ่งแปลว่า ตะวันออก เพราะเกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของหมู่เกาะซุนดาใหญ่
ภาษากัมเบอรา หรือภาษาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภาษาฮีลู ฮุมบา เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ใช้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษาเตตุม เป็นภาษาประจำชาติของประเทศติมอร์-เลสเต เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ที่มีคำจำนวนมากมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
-http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีนีเซียศูนย์กลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง มีผู้พูดในหมุ่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลบันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกู และประเทศอินโดนีเซียและประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาษาบิมาที่แพร่กระจายในแบลแถบจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวาและกลุมภาาาซุลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลัของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวาเกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ภาษามัวหาไรของเกาะหลอเรสตะวันตกและภาษาเคตที่เป็ฯภาษาประจำชาติของติมอร์เลสเต การจัดแบ่งกลุ่มภาษานีมหลักฐานอ่อนโดยเฉพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษณะร่วมของภาษาใน
เขชตภูมิศาสตร์เดียกัน นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออกทีต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียตะวันออก ภาาาจำนวนมากทางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกุลออสโตรนีเซียนมาก และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่
หมู่เกาะโมลุกกะ หรือหมู่เกาะมาลูกู เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซี และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลื่อกโลกออสเตรเลียทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี(เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกเกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่นยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคูข้าว และเครื่องเทศต่างๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดมโดยเฉพาะบนเกาะบันดาแต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 มาลูกูเหนือและฮัลมเฮราลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น จังหวัด คือ มาลูกู และมาลูกูเหนือ ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความชัดแย้เงระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กีปีที่ผ่านมา
หลักฐานทางโบราณคดียุคแรกของโมลุกกะเกียวกับการครอบครองอินแดนของมนุษย์เก่าแก่ราว 32,000 ปี แต่หลักฐานเกี่ยวกับการตั้งรกรากที่เก่าแก่ว่าในออสเตรเลียบ่งชี้ว่ามาลูกูมีผู้มาเยือนก่อนหน้านั้น หลักฐานของควมสัมพันธ์ทางการค้าระยะไกลที่เพิ่มขึ้น และการครอบครองเกาะต่างๆ ที่มากครั้งขึ้นน้้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณหมื่นถึงหมื่นห้าพันปีหลังจากนั้น ลูกปัดหินออนิกซื และข้อปล้องที่ทำด้วยเงินซึ่งใช้แทนเงินตรา ในแถบอินเดียราว 200 ปีก่อนคริสตกาลถูกขุดพบนบางเกะนอกจากนี้ ภาษาท้องถ่ินที่รากของคำมาจากภาษามลายูในคำว่าแปลว่า "แร่เงิน" ขัดแย้งกับคำที่ใช้นสังคมชาวเมลานีเซียนซึ่งมีที่มาจากภาษาจีน การต้าท้องถ่ินกับจีจึงน่าจะเกิดขึ้นในช่วงคริสตวรรษที่ 5-6
โมลุกะเป็นสังคมที่เกิดจากหลากเชื่อช้าติ และภาษา ที่ซึ่งพ่อค้าเครื่องเทศจากหลายภูมิภาคเข้ามาอาศัยตั้งรกราก รวมทั้งพ่อค้าชาวอาหรับและจีนที่ม่เยือนและใช้ชีวิตในอินแดนแถบนี้
จังหวัดมาลูกู เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก จังหวัดที่ประชากร หนึ่งล้านห้าแสนคน ในปี 2010
ทะเลบันดา ตำแหน่งขอททะเลบัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลบันดา ตั้งอยุ่ทางใต้อขงหมู่เกาะโมลุุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย วัดจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก กว้างประมาณ 1,000 กิโลเมตร จากเหนือจรดใต้ยาวประมาณ 500 กิโลเมตร บันดา หมวดหมู่ทะเลในประเทศอินโดนีเซีย
หมู่เกาะบันดาเป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้องอยุ่ 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซอรัมและราว 2000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของออินโดนีเซียเมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึคกราว 4-6 กิโลเมตรและมีเหนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตรมีประชากรทั้งสิ้นราว 15,000 คนบันดาเป็นแหล่งผลิต ผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำและนักดำน้ำลึกด้วย
ซุมบาวา เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซียตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์ซุนดาทางตะวันออกของเกาะลอมบอกและตะวันตกของเกาะฟลอเรส เกาะซุมบาวามีพื้นที่ 5,400ตารางกิโลเมตร (เป็น 3 เท่าของเกาะลอมบอก) มีประชากรรวม 1.33 ล้านคน เกาะเต็มไปด้วยภูเขา ยอดสูงสุดเป็นภูเขาไฟชื่อกุหนึงตัมโบรา อยุ่ที่ปลายสุดของคาบสมุทรทางตอนเหนือ มีดินอุดมสมบูรณ์สามารถปลูกพืชเมืองร้อนได้ดีหลายชนิด
เดิมเกาะนี้เป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมา แตกออกเป็นรัฐขนาดเล็หลายแห่ง เร่ิมติดต่อกับฮอลันด ในคริสต์สตวรรษที่ 17 เมื่อ ค.ศ. 1815 ภูเขาไฟกุหลังตัมโบราเกิดปะทุอยางรุนแรงทำให้ประชาชนเสียชีิวตและไร้ที่อยุ่อาศัยหลายหมื่นคน จึงมีการอพยพผู้คนจากเกาะใหช้เคียงเข้ามาอยุ่อาศัยแทน ในตอนต้นคริสตศตวรรษที่ 20 ฮอลันดาได้เข้ามาปกครอง ถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างสงครามดลกครั้งที่ 2 และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซียเมื่อได้รับเอกราชในค.ศ. 1950
ประเทศอินโดนีเซีย หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยุ่ระหว่างคาบสมุทรอินโดนีจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรออินเดียกับมหาสุมทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประทศมาเลเว๊ยบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน ประเทศปาปัวนิวกินิบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์
ภาษาเตตุม |
แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 และในปี พ.ศ. 2542 ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พ.ค. พ.ศ. 2545 เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ ในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียวกประเทศอย่างทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเกส
เกาุะติมอร์ เป็นเกาะที่อยุ่ใต้สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยุ่ทางตอนเหนือของทะเลติมอร์พื้นที่บนเกาะแบ่งได้เป็นสองส่วน ได้แก่ติมอร์เลสเตร์ซึ่งเป็นรัฐอิสระและติมอร์ตะวันตก ซึ่งเป็นพื้นี่ส่วนหนึ่งของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก
เกาะติมอร์มีพื้นที่ สามหมื่นกว่าตารางกิโลเมตรชื่อของเกาะมาจากคำว่าตีมูร์ ในภาษามลายู ซึ่งแปลว่า ตะวันออก เพราะเกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของหมู่เกาะซุนดาใหญ่
ภาษากัมเบอรา หรือภาษาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภาษาฮีลู ฮุมบา เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ใช้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษาเตตุม เป็นภาษาประจำชาติของประเทศติมอร์-เลสเต เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ที่มีคำจำนวนมากมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
-http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีนีเซียศูนย์กลาง
Austronesian languages III (Sunda-Sulawesi languages)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซุลาซี และเกาะซุนดาใหญ่ เชน เดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเงวซี) ละกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้หลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหวางกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษารวมทั้งภาษาในเกาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาฮาซัน และกลุ่มภาษาโมนโคนโคว-โคโรนตาโล) ไม่ได้อยุ่ในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี แต่อยุ่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป้นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนนีเซียน ได้แก่ ภาาาที่ใช้พูดในเกาะซุลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเปลาดดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบงเป้ฯสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกฃลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภูมิศาสตร์ของประชากรที่พูดภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี
- หมู่เกาะมาเรียนา แผนที่แสดงหมู่เกาสะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดิจแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะมอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยุ่ หมุ่เกาะมาเียนา เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป้นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป้นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมุ่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามาร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนือ่งอเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้รมาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนา ในยุคเปยรมันนปกครอง เดิมปหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส จนกระทั่งปีพ.ศ. 1898 สเปนก็สูญเสียเกาะกวมแก่สหรัฐอเมริกาจากผลของสงครามสเปน-อเมริกาหมู่เกาะนี้เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเข้าปกครองหมุ่เกาะนี้มาตั้งแต่สิ้นสุดสงครามดลกครั้งที่สอง และจากการพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนั้นทำให้ราชสำนักสเปนอ่อนแอลง และไม่มีกำลังทรัพย์มากพอจะดูแลเกาะน้อยใหญ่ไต้การปกครองกว่า 6,000 เกาะทั่วดลกได้อกี ราชสำนัก
สเปนจึงเจรจากับจักรวรรดิเยอรมันในปี 1899 โดยทำใัญญาขายหมุ่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาตลอดจนเกาะอื่นๆ ของสเปนในมหาสมุทรแปซิฟิกแก่เยอรมนี (รวม สีล้านดอลล่าร์สหรัฐในขณะนั้น) ภายหลังเยอมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลางพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จักรวรรดิญี่ป่นุซึ่งเป็นสมาชิกไตรภาคีก็เข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้ต่อจากเยอรมนี ต่อมาในสงครามดลกครั้งที่สอง ญี่ป่นุก็เข้าโจมรีฐานทัพสหรัฐบนเกาะกวมในวันเดียวกับการโจมตีท่าเพิร์ล ต่อมาสหรัฐก็เข้ายึดครองหมุ่เกาะนี้คืนได้ในปี 1944 และใช้เป็นฐานทัพอากาศในการทิ้งระเบิดทางอากาศต่อญี่ปุ่น ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงก็อยุ่ใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาเรื่อยมา...
- จังหวัดบาหลี เป็น 1 ใน34 จังหวัดของปรเทสอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดิมปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมดห้าล้านหกแสนกว่าตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิน สามล้านสี่แสนกว่าคน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาาาที่ใช้คือภาษาอนิดดนีเซียนและภาษาบาหลี
บาหลีเป็นถ่ินที่อยุ่ของชนเผ่าออสโตรนีเซียน ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะไต้หวัน โดยช้เส้นทางทางทะเลผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ขิดกับผู้คนที่อาศัยอยุ่บริเวณหมูเกาะอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และโอเชียเนีย มีการขุพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ ที่อยุทางตะวันตก รวมทั้งที่ต้้งถิ่นฐานและหลุ่มฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยุ่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์ลาลากา ที่เมืองกีลีมานุก์ อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแพร่ศาสนาฮินดูเข้ามยังกมุ่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รุ้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเร่ิมเปนเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บรเิวณรอบๆ ภูเขากูนุงกาวี และถ้ำโกอากาจะฮ์..
- ประเทศปาเลา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา เป้ฯประเทศปมู่เกาะในมหาสมุทรปแซิฟิก ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิลโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พงศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก
สันนิฐานว่าชนพื้นเมืองของปาเลาเป็นพวกที่อพยพมาจากมุ่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ส่วนชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมาถึงปาเลาเป็นชาวสเปน แต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานจริงจังจนกระทั่งเรือของอังกฤษอัปปางนอกฝั่งปาเลาจึงทำให้เชาวอังกฤษเร่ิมรุ้จักเกาะแห่งนี้ และกลายเป็นคู้ค้าหลัก ในขณะเดียวกันโรคติดต่อที่มาจากชาวยุโรปก็คร่าชีวิตชาวเกาะเป็นจำนวนมาก
ต่อมาชาวสเปน ได้มีอำนาจเหนื่อปาเลา แต่ภายหลังได้ขายอมู่เกาะนี้ให้แก่เยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปาเลาจึงกลายเป็นสนารบระหวว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภาญหลังสครมสหรัฐอเมริกาเริ่มมีอำนาจแทนญี่ปุ่่น ปาเลาต้องพึงพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเกือบทุกด้าน หลังจากได้รับเอกราช ก็ยังได้รับการช่วยเหลือทางการเงินและการป้องกันจากสหรัฐอเมริกา..
- เกาะลอมบอก เป็นเกาะที่อยุ่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า ไลอมบอก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก ประเทสอินโดนีเซีย ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและภูเขาไฟ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวซาซักมีภาษาเป็นของตนเองคือ ภาษาซาซักที่ใกล้เคียงกับภาษาชวาและภาษาบาหลี วัฒนธรรมหลายอย่างของขาวซาซักก็ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของชวาและบาหลี ชาวซาซักแบ่งตามศาสนาได้ 2 กลุ่มคือ เวอตูลิม นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แบบะดียวกับชาวอินโดนีเซียโดยทั่วไป และเวอตูเตอลู นับถือศาสนาอิสลามควบคู่กับวัฒนธรรมดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีชาวซาซักอีกกลุ่มที่นับถือ พุทธ-ผี ควบคู่กัน มีอยู่ประมาณ 8,000 คน
เดิมเกาะลอมบอกเป็นอาณาจักรอิสระประกอบด้วยอาณาจักรเล็กๆ หลายแห่ง โดยอาณาจักรที่สำคัญที่สุดคือาณาจักเซอลาปากรับ ที่นับถือศาสนาฮินดูต่มาชวาตะวันออกได้ยกทัพมาตีและรวมลอมบอกเข้ากับอาณาจักรมัชปาหิต โดยลอมบอกรับอิทธิพลจากชวาทั้งศษสนาฮินดุและศาสนาอิสลาม ต่อมาชาวบาหลีในสมัยอาณาจักคารังกาเซ้มเข้ามาปกครองลอมบอกจนถึง พ.ศ. 2437 ในปีนี้เองลอมลอกร่วมมือกับดัตช์ก่อกบฎต่อบาหลี ซึ่งทำให้บาหลีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามเมือดัตข์ชนะได้เข้ามาปกครองลอมบอกในฐานะอาณานิคมทั้นที จนญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเมือ พ.ศ. 2485 ดัตช์เคลื่อนพลกลับมาอีกครั้งเมื่อสงครามสงบในพ.ศ. 2488 แต่เกิดการต่ต้อานจากชาวพื้นเมืองโดยทัี่วไป เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช ลอมบอกจึงเป้นสวนหนึงของอินโดนีเซีย
- เกาะสุมาตรา ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็ฯภาษาสันสกฤตว่าสุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราสุงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรีและรามนี ในคริสต์สตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยุ่ใกล้กับเมืองปั่นดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาข้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักซามูดรา(สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไใ่มีคำเรียกชื่อเกาแห่งนี้
แกนที่ยาวที่สุดของเกาะอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเแียงใต้ ดดยผ่านเส้นศูนย์สุตรตรงกลางพื้นที่ด้านในของเกาะแบ่งเป็น 2 เขตทางภุมิศาสตร์ใหญ่ๆ คือ เทือกเขาบารีซัน ทางตะวันตกและพื้นที่ลุ่มทางตะวันออก ทางตะวันออกเฉียงใต้คือ เกาะชวา แบ่งด้วยช่องแคบซุนดา ทางเหนือคือคาบสมุทรมลายู แบ่งด้วยช่องแคบมะละกา ทางตะวันออกคือ เกาะบอร์เนียว แบ่งด้วยช่องแคบการีมาดา ทางตะวันตกของเกาะคือมหาสมุทรอินเดียว สันหลังของเกาะคือเทือกเขาบรีซัน ภูเขาไฟในภุมิภาคนี้ทำให้เกาะนี้มีทั้งพื้นดินอุดมสมบุรณ์และทัศนียภาพอันสวยงาม ..
- เกาะซูลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป้นหนึ่งในเกาะซุนดใหญ่ 4 เกาะของปรเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแ่ห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียวตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2488 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเ้นส่วนหนึ่งของนิคมาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498 เดิมนั้นชาวโปรตุเกสตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "เซเลบีส" ส่วนความหมายนั้นไม่ปรากฎชัด นตอนแรกไม่ได้ใช้คำนี้เรียกพื้นที่ท้งเกาะ เพราะชาวโปรตุเกสคิดว่าซุลาเวซีเป็นหมู่เกาะ ชื่อซูลาเวซีที่ใช้ในปจจุบันมาจากคำว่า "ซูลา" เกาะ และ "เบซี" เหล็ก โดยอาจหมายถึงการน้ำเข้าเหล็กในอดีตจากตะกอนเหล็กทีมีอยุ่มากในทะเลสาบมาตาโน..
- เกาะกวมมีพื้นที่ 549 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนือองเกาะเป็นที่ราบหินปูนปะการังในขณะที่ทางส่วนใต้มียอดภูเขาไฟ และมีพืชหินปะการังล้อมรอบพื้นที่สวนใหญ่ของเกาะ
กวมเป็นชื่อที่อยุ่ทางทิใต้สุดของแนวลูกโซ่มาเรียาและเป็นเาะที่ใหญ่ที่สุดในไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ใกล้ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งเป็นเขตมุดตัวบริเวณชอบของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แซลเลนเจอร์ดีป เป็นจุดที่ลึกที่สุดของโลก ตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกวม มีความลึก 10,911 เมตร เกาะกวมประสบกับภัยแผ่นดินไหวซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยุ่ใกล้กับเกาะมีระดับความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ 7.0 ถึง 8.2 ริกเตอร์..
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกุลออสโตรีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมูเกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมากากัสในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหุพจน์ การออกเสียงเป้นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียนถูกแบ่งเป็นหลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง - ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งของกลุ่มตะวันตำเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจบุันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเปนสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนศุนย์กลาง กลุ่มในเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่นอกเรียกวา กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาเลย์อิก กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป้นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซุลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมท้งภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย ภาษามินังกาเบาในสุมาตากลาง ภาษาอาเจะห์ในอาเจะห ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา ภษามอเกนในไทย และภาาอีปันในบอร์เนียวเหนือ
ภาษาชวา คือ ภาษาพุดของผุ้ที่อสัยอยุ่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดีเซียเป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75500,000 คน ภาาาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซีย จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย และภาษามาเลย์ ผุ้พูดภาษาชวา พุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหย่ในประเทมาเลเซีย โยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามาเลย์ได้
ภาษาบันติก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในทางเหนือของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซียเป็นภาษาของชาวบันติก ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้ภาษามาเย์สำเนีงมานาโดแทน ทำให้ภาษาบันติก เหลือผุ้พุดน้อย เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ผุ้ชายโดยที่ผุ้หญิงที่อายุน้อยหว่า 30 ปีมีน้อยมากที่รู้ภาษานี้ เป็นภาษารูปคำติดต่อ เรียงประดยคแบบประธาน-กริยา -กรรมและกริยา-กรรม-ประธาน
ภาษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พุดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน ิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพุดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาาาซาซักและภาษาอัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับขั้นภายในภาษา
ภาษาบูกิส เป็นภาษาที่พุดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซีประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามาเลย์ ส่วนชาวบูกิสเรียกวภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตรยิ์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐาลายลักษณ์อักษณครั้งแรกที่พบคือ อี ลากาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้
ภาษากัมเบอรา หรือภาาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภษษาฮีลู ฮุมบา เป้ฯภาษากลุ่มาลโย-โพลีเนเซียน ใช้พุดในกมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซีย
ภาษามากัสซาร์ หรือภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามัดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากว่า หมวดหมู่ ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
บามาดูรา เป็นที่ใช้พุดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูด และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคดปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโยโพลีเนเซยตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผุ้พูด กว่าสิบสามล้านคน ในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัทพ์เหมือนกับภาษากาเวียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนยง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการต้ามากที่สุด เป็นสำเนยงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซยด้วย แปบไบเบิลเป็นภาษานนี้ใน พ.ศ. 2537
ภาษาตูกังเบซี เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ใช้พุดในกลุ่มเกาะดูกังเบซี ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซูลาเวซี ในอินโดนีเซีย มีผุ้พูดราวสองแสนคน มีพยัญชนะ 25 เสียง สระ 5 เสียง มีการเน้นเสียงที่พยางค์ที่ 2 หรือพยางค์สุดท้าย ลักษณะฉพาะของภาษานี้คือ เสียงจากเส้นเสียง และเสียงเสียดแทรก /s/ เสียงนาสิกที่แยกเป้นกน่วยเสียงต่างหาก
ภาษาซาซะก์ เป้ฯภาษาที่พุดโดยชาวซาซักซึ่งอยุ่ในเกาะบอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวาแบ่งเป็น 5 ำเนียง
ภาษาซุนดา เป้ฯภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกุลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน
ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารการกุ ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น
- http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาซุนดา- ซุลาเวซี
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซุลาซี และเกาะซุนดาใหญ่ เชน เดียวกับในชามอโรและปาเลา โดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเงวซี) ละกลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้หลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหวางกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษารวมทั้งภาษาในเกาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาฮาซัน และกลุ่มภาษาโมนโคนโคว-โคโรนตาโล) ไม่ได้อยุ่ในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี แต่อยุ่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป้นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนนีเซียน ได้แก่ ภาาาที่ใช้พูดในเกาะซุลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเปลาดดยทั่วไปกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบงเป้ฯสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกฃลุ่มตอนนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภูมิศาสตร์ของประชากรที่พูดภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซี
- หมู่เกาะมาเรียนา แผนที่แสดงหมู่เกาสะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดิจแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะมอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยุ่ หมุ่เกาะมาเียนา เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป้นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป้นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมุ่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามาร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนือ่งอเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้รมาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนา ในยุคเปยรมันนปกครอง เดิมปหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส จนกระทั่งปีพ.ศ. 1898 สเปนก็สูญเสียเกาะกวมแก่สหรัฐอเมริกาจากผลของสงครามสเปน-อเมริกาหมู่เกาะนี้เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเข้าปกครองหมุ่เกาะนี้มาตั้งแต่สิ้นสุดสงครามดลกครั้งที่สอง และจากการพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนั้นทำให้ราชสำนักสเปนอ่อนแอลง และไม่มีกำลังทรัพย์มากพอจะดูแลเกาะน้อยใหญ่ไต้การปกครองกว่า 6,000 เกาะทั่วดลกได้อกี ราชสำนัก
สเปนจึงเจรจากับจักรวรรดิเยอรมันในปี 1899 โดยทำใัญญาขายหมุ่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาตลอดจนเกาะอื่นๆ ของสเปนในมหาสมุทรแปซิฟิกแก่เยอรมนี (รวม สีล้านดอลล่าร์สหรัฐในขณะนั้น) ภายหลังเยอมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลางพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จักรวรรดิญี่ป่นุซึ่งเป็นสมาชิกไตรภาคีก็เข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้ต่อจากเยอรมนี ต่อมาในสงครามดลกครั้งที่สอง ญี่ป่นุก็เข้าโจมรีฐานทัพสหรัฐบนเกาะกวมในวันเดียวกับการโจมตีท่าเพิร์ล ต่อมาสหรัฐก็เข้ายึดครองหมุ่เกาะนี้คืนได้ในปี 1944 และใช้เป็นฐานทัพอากาศในการทิ้งระเบิดทางอากาศต่อญี่ปุ่น ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงก็อยุ่ใต้การปกครองของสหรัฐอเมริกาเรื่อยมา...
- จังหวัดบาหลี เป็น 1 ใน34 จังหวัดของปรเทสอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดิมปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมดห้าล้านหกแสนกว่าตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิน สามล้านสี่แสนกว่าคน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาาาที่ใช้คือภาษาอนิดดนีเซียนและภาษาบาหลี
บาหลีเป็นถ่ินที่อยุ่ของชนเผ่าออสโตรนีเซียน ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมบนเกาะไต้หวัน โดยช้เส้นทางทางทะเลผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ขิดกับผู้คนที่อาศัยอยุ่บริเวณหมูเกาะอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และโอเชียเนีย มีการขุพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก์ ที่อยุทางตะวันตก รวมทั้งที่ต้้งถิ่นฐานและหลุ่มฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยุ่ที่พิพิธภัณฑ์ซิตุสปูร์ลาลากา ที่เมืองกีลีมานุก์ อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแพร่ศาสนาฮินดูเข้ามยังกมุ่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รุ้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเร่ิมเปนเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บรเิวณรอบๆ ภูเขากูนุงกาวี และถ้ำโกอากาจะฮ์..
- ประเทศปาเลา มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา เป้ฯประเทศปมู่เกาะในมหาสมุทรปแซิฟิก ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิลโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พงศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก
สันนิฐานว่าชนพื้นเมืองของปาเลาเป็นพวกที่อพยพมาจากมุ่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ส่วนชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมาถึงปาเลาเป็นชาวสเปน แต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานจริงจังจนกระทั่งเรือของอังกฤษอัปปางนอกฝั่งปาเลาจึงทำให้เชาวอังกฤษเร่ิมรุ้จักเกาะแห่งนี้ และกลายเป็นคู้ค้าหลัก ในขณะเดียวกันโรคติดต่อที่มาจากชาวยุโรปก็คร่าชีวิตชาวเกาะเป็นจำนวนมาก
ต่อมาชาวสเปน ได้มีอำนาจเหนื่อปาเลา แต่ภายหลังได้ขายอมู่เกาะนี้ให้แก่เยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปาเลาจึงกลายเป็นสนารบระหวว่างญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภาญหลังสครมสหรัฐอเมริกาเริ่มมีอำนาจแทนญี่ปุ่่น ปาเลาต้องพึงพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเกือบทุกด้าน หลังจากได้รับเอกราช ก็ยังได้รับการช่วยเหลือทางการเงินและการป้องกันจากสหรัฐอเมริกา..
- เกาะลอมบอก เป็นเกาะที่อยุ่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า ไลอมบอก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก ประเทสอินโดนีเซีย ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาและภูเขาไฟ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวซาซักมีภาษาเป็นของตนเองคือ ภาษาซาซักที่ใกล้เคียงกับภาษาชวาและภาษาบาหลี วัฒนธรรมหลายอย่างของขาวซาซักก็ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของชวาและบาหลี ชาวซาซักแบ่งตามศาสนาได้ 2 กลุ่มคือ เวอตูลิม นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แบบะดียวกับชาวอินโดนีเซียโดยทั่วไป และเวอตูเตอลู นับถือศาสนาอิสลามควบคู่กับวัฒนธรรมดั้งเดิม นอกจากนี้ยังมีชาวซาซักอีกกลุ่มที่นับถือ พุทธ-ผี ควบคู่กัน มีอยู่ประมาณ 8,000 คน
เดิมเกาะลอมบอกเป็นอาณาจักรอิสระประกอบด้วยอาณาจักรเล็กๆ หลายแห่ง โดยอาณาจักรที่สำคัญที่สุดคือาณาจักเซอลาปากรับ ที่นับถือศาสนาฮินดูต่มาชวาตะวันออกได้ยกทัพมาตีและรวมลอมบอกเข้ากับอาณาจักรมัชปาหิต โดยลอมบอกรับอิทธิพลจากชวาทั้งศษสนาฮินดุและศาสนาอิสลาม ต่อมาชาวบาหลีในสมัยอาณาจักคารังกาเซ้มเข้ามาปกครองลอมบอกจนถึง พ.ศ. 2437 ในปีนี้เองลอมลอกร่วมมือกับดัตช์ก่อกบฎต่อบาหลี ซึ่งทำให้บาหลีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามเมือดัตข์ชนะได้เข้ามาปกครองลอมบอกในฐานะอาณานิคมทั้นที จนญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเมือ พ.ศ. 2485 ดัตช์เคลื่อนพลกลับมาอีกครั้งเมื่อสงครามสงบในพ.ศ. 2488 แต่เกิดการต่ต้อานจากชาวพื้นเมืองโดยทัี่วไป เมื่ออินโดนีเซียได้รับเอกราช ลอมบอกจึงเป้นสวนหนึงของอินโดนีเซีย
- เกาะสุมาตรา ในสมัยโบราณ เกาะแห่งนี้มีชื่อเรียกเป็ฯภาษาสันสกฤตว่าสุวรรณทวีป (เกาะทอง) และสุวรรณภูมิ (แผ่นดินทอง) ทั้งนี้ก็เพราะมีการพบทองคำบนที่ราสุงของเกาะแห่งนี้ ส่วนนักภูมิศาสตร์ชาวอาหรับ เรียกเกาะนี้หลายชื่อ ได้แก่ ลามรี, ลามุรี, ลามบรีและรามนี ในคริสต์สตวรรษที่ 10-13 โดยหมายถึงอาณาจักรที่อยุ่ใกล้กับเมืองปั่นดุงอาเจะฮ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นจุดแรกที่พ่อค้าที่เดินเรือมักแวะมาข้นฝั่ง ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ชื่อสุมาตราเป็นที่นิยมเรียกกันมาก โดยหมายถึงอาณาจักซามูดรา(สมุทร) ซึ่งกำลังเรืองอำนาจ แต่นักเขียนชาวยุโรปในศตวรรษที่ 19 พบว่าชาวพื้นเมืองไใ่มีคำเรียกชื่อเกาแห่งนี้
แกนที่ยาวที่สุดของเกาะอยู่ในแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเแียงใต้ ดดยผ่านเส้นศูนย์สุตรตรงกลางพื้นที่ด้านในของเกาะแบ่งเป็น 2 เขตทางภุมิศาสตร์ใหญ่ๆ คือ เทือกเขาบารีซัน ทางตะวันตกและพื้นที่ลุ่มทางตะวันออก ทางตะวันออกเฉียงใต้คือ เกาะชวา แบ่งด้วยช่องแคบซุนดา ทางเหนือคือคาบสมุทรมลายู แบ่งด้วยช่องแคบมะละกา ทางตะวันออกคือ เกาะบอร์เนียว แบ่งด้วยช่องแคบการีมาดา ทางตะวันตกของเกาะคือมหาสมุทรอินเดียว สันหลังของเกาะคือเทือกเขาบรีซัน ภูเขาไฟในภุมิภาคนี้ทำให้เกาะนี้มีทั้งพื้นดินอุดมสมบุรณ์และทัศนียภาพอันสวยงาม ..
- เกาะซูลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป้นหนึ่งในเกาะซุนดใหญ่ 4 เกาะของปรเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแ่ห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียวตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2488 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเ้นส่วนหนึ่งของนิคมาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498 เดิมนั้นชาวโปรตุเกสตั้งชื่อเกาะนี้ว่า "เซเลบีส" ส่วนความหมายนั้นไม่ปรากฎชัด นตอนแรกไม่ได้ใช้คำนี้เรียกพื้นที่ท้งเกาะ เพราะชาวโปรตุเกสคิดว่าซุลาเวซีเป็นหมู่เกาะ ชื่อซูลาเวซีที่ใช้ในปจจุบันมาจากคำว่า "ซูลา" เกาะ และ "เบซี" เหล็ก โดยอาจหมายถึงการน้ำเข้าเหล็กในอดีตจากตะกอนเหล็กทีมีอยุ่มากในทะเลสาบมาตาโน..
- เกาะกวมมีพื้นที่ 549 ตารางกิโลเมตร ส่วนเหนือองเกาะเป็นที่ราบหินปูนปะการังในขณะที่ทางส่วนใต้มียอดภูเขาไฟ และมีพืชหินปะการังล้อมรอบพื้นที่สวนใหญ่ของเกาะ
กวมเป็นชื่อที่อยุ่ทางทิใต้สุดของแนวลูกโซ่มาเรียาและเป็นเาะที่ใหญ่ที่สุดในไมโครนีเซีย ตั้งอยู่ใกล้ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ่งเป็นเขตมุดตัวบริเวณชอบของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แซลเลนเจอร์ดีป เป็นจุดที่ลึกที่สุดของโลก ตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกวม มีความลึก 10,911 เมตร เกาะกวมประสบกับภัยแผ่นดินไหวซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยุ่ใกล้กับเกาะมีระดับความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ 7.0 ถึง 8.2 ริกเตอร์..
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกุลออสโตรีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมูเกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมากากัสในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหุพจน์ การออกเสียงเป้นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียนถูกแบ่งเป็นหลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง - ตะวันออก การแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบ่งของกลุ่มตะวันตำเป็นการแบ่งโดยใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจบุันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเปนสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียนศุนย์กลาง กลุ่มในเรียกว่า กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ กลุ่นอกเรียกวา กลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาเลย์อิก กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป้นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซุลาเวซี มีสมาชิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุมาตราตอนกลางรวมท้งภาษามาเลย์และภาษาอินโดนีเซีย ภาษามินังกาเบาในสุมาตากลาง ภาษาอาเจะห์ในอาเจะห ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา ภษามอเกนในไทย และภาาอีปันในบอร์เนียวเหนือ
ภาษาบาหลี |
ภาษาบันติก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในทางเหนือของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซียเป็นภาษาของชาวบันติก ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้ภาษามาเย์สำเนีงมานาโดแทน ทำให้ภาษาบันติก เหลือผุ้พุดน้อย เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ผุ้ชายโดยที่ผุ้หญิงที่อายุน้อยหว่า 30 ปีมีน้อยมากที่รู้ภาษานี้ เป็นภาษารูปคำติดต่อ เรียงประดยคแบบประธาน-กริยา -กรรมและกริยา-กรรม-ประธาน
ภาษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พุดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน ิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพุดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาาาซาซักและภาษาอัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับขั้นภายในภาษา
ภาษาบูกิส เป็นภาษาที่พุดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซีประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามาเลย์ ส่วนชาวบูกิสเรียกวภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตรยิ์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐาลายลักษณ์อักษณครั้งแรกที่พบคือ อี ลากาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้
ภาษาบูกิส |
ภาษามากัสซาร์ หรือภาษามากาซาร์ เป็นทั้งชื่อของภาษาและระบบการเขียนในเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาบูกิส ในอดีตเขียนด้วยอักษรลนตารา/มากาซาร์ ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาบูกิสและภาษามัดาร์ด้วย ปัจจุบันนิยมเขียนด้วยอักษรละตินมากว่า หมวดหมู่ ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
บามาดูรา เป็นที่ใช้พุดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูด และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคดปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโยโพลีเนเซยตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผุ้พูด กว่าสิบสามล้านคน ในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัทพ์เหมือนกับภาษากาเวียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนยง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการต้ามากที่สุด เป็นสำเนยงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผุ้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซยด้วย แปบไบเบิลเป็นภาษานนี้ใน พ.ศ. 2537
ภาษาตูกังเบซี เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ใช้พุดในกลุ่มเกาะดูกังเบซี ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซูลาเวซี ในอินโดนีเซีย มีผุ้พูดราวสองแสนคน มีพยัญชนะ 25 เสียง สระ 5 เสียง มีการเน้นเสียงที่พยางค์ที่ 2 หรือพยางค์สุดท้าย ลักษณะฉพาะของภาษานี้คือ เสียงจากเส้นเสียง และเสียงเสียดแทรก /s/ เสียงนาสิกที่แยกเป้นกน่วยเสียงต่างหาก
ภาษาซาซะก์ เป้ฯภาษาที่พุดโดยชาวซาซักซึ่งอยุ่ในเกาะบอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวาแบ่งเป็น 5 ำเนียง
ภาษาซุนดา เป้ฯภาษาที่ใช้พุดในหมุ่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกุลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน
ภาษาเม็นตาไว เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน พูดโดยชาวเม็นตาไวในเกาะเม็นตาไว สุมาตราตะวันตก มีหลายสำเนียง เช่น ซิมาเลอฆี ซากาลากัน ซีลาบู ตารการกุ ซัวมันฆันยา ซีเบอรุตเหนือ ซีเบอรุตใต้ ซีปูรา ปาไฆ เป็นต้น
- http://th.unionpedia.org ค้นหา "กลุ่มภาษาซุนดา- ซุลาเวซี
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี
วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
Austronesian languages II (Borneo-Philippines languages)
กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพูดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาาา เป็นภาาาตายแล้ว 10 ภาษา ที่เหลืออีก 4-5 ภาษาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสีย่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีความสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป้นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาษามาลาโย- โพลีเนเซียราว 1,200 ภาษา ที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรับรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่อมกันว่าตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมตริฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาษาจีนกลาง หลังจากที่ัฐบาลของสาธารณรัฐจีนเริ่มจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยากและมักมีข้อโต้เย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรอืกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียวคาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้เป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ (ผู้ที่ใช้กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์)
ไต้หวัน เป็นเกาะในมหาสมุทราแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉรยงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาะารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาะารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไร้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอาเป็นอาณานิคม
ภูเขาไฟปินาตูโบ เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. 2099
รัฐซาบะฮ์ เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยบังเป้ฯที่รุ้จักกันในชื่อเนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยุ่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยุ้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป้ฯของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหฃลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน
ดาเบา นครดาเบา เป็นเมืองนมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนยกลางของเมืองเรียกว่าเมโทรคาเบา ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสองและเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองีี่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศเมืองที่ทำหน้าที่เป็นการต้าพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที่
ประเทศฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะ ตั้งอยุ่นมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชี่ยแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเแียงใต้ประมาณ 1,000 กม. และมีลักษรพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน และสหรัฐอเมริกา ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ศตวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ (อีกชาติหนึ่งคือติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งในชาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป้นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจเซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอักกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริการที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่อนทะเลยักษ์
ประเทศได้หวัน ไต้หวันในภาษาไต้หวัน หรือไถงวาน ในชื่อท้องถ่ิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะารณรัฐจีน เป็นรัฐในทวีปเอเชยตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วย เกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมอิน , ได้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิวกับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีน ด้านตะวันออกและตะวันออกเแียงเหนือติดกับญีปุ่น และด้านใต้ตคิดกับฟฺิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง สวนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่วชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉินกง ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งเออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจัรตกหนิง ขึ้นบนเกสะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" แต่ในปี 1683 ก่อนเสียไต้หวันคือให้แก่จีนหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรค
ชาตินิยม ได้เป็นใหญ่แต่ไม่นามก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยมพรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน และ้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรับประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลเนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองไต้หวันได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืงหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศราฐกิจไต้หวันงอกงามอย่งรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ช่อว่าเป็นหนึงในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า เศราฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของำต้หวันมีบทบาทสำคัญมากในเศราฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการต้าโลกและความร่วมมือทางเศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศราฐกิจ การสาะารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยุ่ในอันดับสูงด้วย
เกาะบอร์เนียว หรือกลีมนตัน เป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ฺ และเกาะนิวกีนี มีประเทศ 3 ประเทศอยุ่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยุ่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทสอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเแียงต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเแียงใต้
เกาะมาดากัสการ์ ตั้งอยุ่ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกาบนมหาสมุทรอินเดีย มีช่องแคบโมซัมบิกคั่นระหว่างเกาะกับฝั่งทวีปแอฟริกาห่างกันเพียง 300 ไมล์ เกาะมาดากัสการ์มีพื้นที่ 587,713 ตารางกิดลเมตร ถือเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก ขนาดเท่าๆ กับประเทศสเปน และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งเกาะเป็ฯอาณาเขตของประเทศมาดากัสการ์ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะมีความยาวตั้งแต่เหนือจรดใต้ คำว่า "มาดากัสการ์" มีความหมายว่า ไดินแดนแห่งบรรพบุรุษ" เนื่องจากชาวพื้นเมืองที่นี้มีควมเชื่อว่า เมื่อตายไปแลววิญญาณของผู้ที่เสียขชีวิตจะยังควปกป้องสิ่งที่ชีวิตที่เหลือ เกาะมาดากัสการ์เริ่มมีมนุษย์เข้ามาอาศัยราว 2,000 ปีที่แล้ว ไม่ใช่มาจากผืนแผ่นดินใหญ่แอฟริกา หากแต่อพยพมาไกลจากอินโดนีเซีย เกาะมาดากัสการ์เกิดขึ้นมารั้งเมื่อติดเป็นผืนแผ่นดินเดียวกับมหาทวีปกอนด์วานา ที่ถือกำเนิดเมื่อ 180 ล้านปีก่อน จนกระทั่ว 140 ล้านปีก่อน กอนด์วานาได้แกตตัวแกออกจากกัน เกาะมาดากัสการ์ได้แยกตัวออกมาจากทวีปแอฟริกาเมื่อ 70 ล้านปีก่อน โดยเรเ่ิมแรกอยู่ติดกับส่วนที่เป็นอินเดียในปัจจุบัน จากนั้นเมื่อ 40 ล้านเปีก่อนอินเดียได้แยกตัวลอยขึ้นเหนือไปชนกับภูมิภาคเอเชียใต้ จนให้เกิดเป็นแนวเทือกเขหิมาลัย ในขณะที่เกาะมาดากัสการ์ได้อยู่ในแนวภูมิอากาศที่แห้งแล้ง ส่งผลให้ทางตอนใต้ของเกาะมีสภาพที่แ้งแล้ง แต่ต่อมาได้ค่อย เคลื่อนที่อย่างช้าๆ จนกระทั่งอยู่ใน ณ ที่อยู่ปัจจุบัน เมื่อ 60 ล้านปีก่อน และได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนที่พัดกระหนำ่ชายฝั่งตะวันออกอีกของแอฟริกา ซึ่งอิทธิพลทำให้เกาะมาดากัสการ์มีสภาพอากาศและ๓ิมประเทศที่หลากหลายแตกต่างกันอย่างสุดขั้วในปัจจุบัน โดยมีฤดูแ้งนานถึงครึงปี และอีกครึ่งปีฝนตกหนัก ซึ่งปริมาณน้ำฝนที่ตกมาเฉลี่ยวันละ 10 นิ้ว ส่งผลให้น้ำท่วมเอ่อล้นเกิดเป็นแม่น้ำและทะเลสาบหลายแห่ง และทุกวันนี้ตัวเกาะก็ยังคงเหลือนที่ต่อไปในทางเหนือเฉลี่ยีละ 3-4 น้ิงจึงทำให้เกาะมาดากัสการ์มีลักษณะของพืชพันธุ์และสัตว์ที่หลากหลายแห่งหนึ่งของดลก จนได้รับสมญาว่า "ทวีปที่ 8 ของโลก" ในบางประเภทพบได้แต่เฉพราะบนเกาะนี้เท่านั้น จากการปรับตัววิวัฒนาการให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อศัย เช่น ลีเมอร์ ซึ่งสภาพความหลากหลายของพชและสัตว์บนเกาะถูกนำไปสร้าเป็นภาพยนตร์การ์ตูนโดบริษัท ดรีมเวิร์กสแอนิเมชั่น เรื่อง มาดากัสการ์ และ สารคดทางอนิมอลพลาเน็ต
เกาะลูซอน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศราฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ(อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันแบละมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือและเกาะต่างๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันตัวเนส เกาะมารินตูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนแรากฎในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดซ้องน้อย" หรือ Lusong kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" หรือ "ลูซอน" ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา หรือ นิวคาสตีล อีกด้วย ต่อมาใช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ กากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยุ่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่วเกาะลูซอนและเกาะอื่นๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.1946 ลูซอน
เกาะซุลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดิมทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้เกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498
ภาษาต่างๆ ที่ผุ้พูดในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก อาทิ
- ภาษาบูฮิด ภาษาบูฮิ เป็นภาษาที่พุดโดยชาวมังยันในจังหวัด มินโดโร ฟิลิปปินส์ แบ่งเป็นสำเรียงตะวันออกและตะวันตก มีตัวอักษรเป็นของตนเอง คืออักษรบูฮิด บูฮิด
- ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป้นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปิโน เมื่อ พ.ศ. 2515
- ภาษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พุดในประเทศฟิลิปปิน
- ภาษากินาไรอา อยู่ในตระกูลงิซายัน มีผุ้พุดในจังหวัดอินติเกและอิโลอิโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกน ผุ้พุดภาษากินาไรอา จะเข้าใจภาษาฮิลีไกนอนได้ แต่ภาษากินาไรอา ไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮิลีไกนอน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น
- ภาษากินดาเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ช้พุดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่นๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่นๆ เช่น จึงหวัดนอร์ทโกตานาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังการเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้เงในมะนิลาด้วย หมวดหมุ่ ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์
- ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในจังหวัดลาเนา เลล นอริเต และลาเนา เดล ซุรในฟิลิปปินส์ มาราเนา
- ภาษามาลากาซี เป็นภาษาราชของประเทศมาดากัสการ
- ภาษาวาไร-วาไร ซามาร์-เลย์เต หรือ ซาร์มานอน เป็นภาษาที่ใช้พุดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์ อีสเทิร์นซามาร์, เลย์เต และบิลิรันในฟิลิปปินส์ จัดอยูในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบัวโนและใกล้เคียงกับภาษาฮ์ลิไกนอน
- ภาษาอีบานัก มีผุ้พูด ห้าแสนคน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเแียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากการยัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผุ้อพยพไปอยู่ ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผุ้พูดภาาานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า "อีบานัก" มาจาก "บันนัก" แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัตตัง ภาษาอิตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัต และภาษามาลาเวก อีบานัก
- ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกุลออสโตนีเซีย มีผุ้พุดบนเกาะบาดาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยุ่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษระใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกวาภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยุ่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา อักษร "e" จะออกเสียงใกล้เคียงกับ "uh" ในภาษาอังกฤษ เช่น palek ออกเสียงเป็น pa3luhk อีวาตัน
- ภาษาอีโลกาโน เป็นภาษาที่มีผุ้พุดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็ฯภาษาตระกูลออสดตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน
- ภาษาฮานูโนโอ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมังยัน ในจังหวัดมินโคโร ฟิลิปปินส์ เขียนด้วยอักษรฮานูโนโอ ฮานูโนโอ
- ภาษาฮิลิไกนอน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในชิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอิโลอิโล แนะเนโกรส และจังหวัดอื่นๆ ในเกาะปาไน เช่น กาปิซ, อันติเก, อักลัน และกิมารัส มีผุ้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน
- ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาะารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตนีเซียน มีความสัมพนธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็ฯภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคนในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากววา
- ภาษาซัมบัส เป็ฯภาษากลุ่มซัมบาลิกมีผู้พูดส่วนใหญ่ในจังหวัดซัมบาเลส ฟิลิปปินส์มี 2 สำเนียง คือตีนาและโปโตลัน มีผุ้พุดราว 70,000 คน และ 32,867 คน ตามลำดับ ผุ้พูดสำเนียงตีนาพบในซานตาครูซ จันดีลาเรีย มาซินลอก และอีบา และยังพบในเกซอน เกาะปาลาวันด้วย ผุ้พุสำเนียงโบโตลัน พบในโบโตลัน และจาบางัน มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 4 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาปางาซินัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาดย-โพลีเนเซีย มีผุ้พุดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปางาซินัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปางาซินันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม
- ภาษาโบลิเนา เป็นภาษาที่ใช้พุดในเทศบาลปางาซิเนนเซ ของอันดาและเมืองโบลิเนา มีผุ้พุดราว 50,000 คน มากเป็นอันดับสองในภาษากลุ่มซัมบาลิก มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 5 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาเตา หรือภาษายามิเปนภาษากลุ่มบาตานิกพูดโดยชาวเตาในไต้หวัน เป็นภาษาเดียวในไต้หวันที่ไม่อยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา แต่มลักษณะทางภาษาศาสตร์ร่วมกับภาษาอีวาตันที่พุดในเกาะบาตาเนสทางตอนเหนือของฟิลิปปิน
- ภาษาเตาซูก อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซีและอินโดนีเซียด้วย
- ภาษาเซบัวโน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปินส์ 18 ล้านคน ชื่อของภาษามาจากเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึงเชื้อชาด
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
http://th.unionpedia.org ค้นหา กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทั่วไปทำได้ยากและมักมีข้อโต้เย้งเสมอ ซึ่งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรอืกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่รวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียวคาบสมุทรทางเหนือของเกาะซูลาเวซี และเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก (บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้เป็นการแบ่งตามภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ (ผู้ที่ใช้กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์)
ไต้หวัน เป็นเกาะในมหาสมุทราแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉรยงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาะารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาะารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไร้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอาเป็นอาณานิคม
ภูเขาไฟปินาตูโบ เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. 2099
รัฐซาบะฮ์ เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยบังเป้ฯที่รุ้จักกันในชื่อเนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยุ่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยุ่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยุ้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป้ฯของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหฃลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน
ดาเบา นครดาเบา เป็นเมืองนมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนยกลางของเมืองเรียกว่าเมโทรคาเบา ดาเบาเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดอันดับสองและเขตเมืองของดาเบาหรือเมโทรดาเบา เป็นเขตเมืองีี่ประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสาม ของประเทศเมืองที่ทำหน้าที่เป็นการต้าพาณิชย์และอุตสาหกรรมเป็นศูนย์กลางในมินดาเนาและศูนย์ภูมิภาคสำหรับเขตดาเบา เมืองดาเบาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ดูจากขนาดของพื้นที่
ประเทศฟิลิปปินส์ หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะจำนวน 7,107 เกาะ ตั้งอยุ่นมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชี่ยแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเแียงใต้ประมาณ 1,000 กม. และมีลักษรพิเศษคือเป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก นิวสเปน และสหรัฐอเมริกา ได้ครองฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมเป็นเวลา 4 ศตวรรษ และเป็นสองอิทธิพลใหญ่ที่สุดต่อวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสองชาติในเอเชียที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ (อีกชาติหนึ่งคือติมอร์-เลสเต) และเป็นหนึ่งในชาติที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากที่สุด เป้นการผสมผสานกันระหว่างตะวันตกกับตะวันออก ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ อาร์โนลด์ โจเซฟ ทอยน์บี นักประวัติศาสตร์ชาวอักกฤษ ได้กล่าวไว้ในงานของเขาว่า ประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศลาตินอเมริการที่ถูกพัดพาไปยังตะวันออก โดยคลื่อนทะเลยักษ์
ประเทศได้หวัน ไต้หวันในภาษาไต้หวัน หรือไถงวาน ในชื่อท้องถ่ิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะารณรัฐจีน เป็นรัฐในทวีปเอเชยตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วย เกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมอิน , ได้หวัน, เผิงหู, หมาจู่, และอูชิวกับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีน ด้านตะวันออกและตะวันออกเแียงเหนือติดกับญีปุ่น และด้านใต้ตคิดกับฟฺิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง สวนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่วชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉินกง ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเาะไต้หวันและเข้ารุกไล่ฝรั่งเออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจัรตกหนิง ขึ้นบนเกสะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" แต่ในปี 1683 ก่อนเสียไต้หวันคือให้แก่จีนหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรค
ชาตินิยม ได้เป็นใหญ่แต่ไม่นามก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยมพรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน และ้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรับประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลเนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองไต้หวันได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืงหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศราฐกิจไต้หวันงอกงามอย่งรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ช่อว่าเป็นหนึงในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า เศราฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของโลกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของำต้หวันมีบทบาทสำคัญมากในเศราฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการต้าโลกและความร่วมมือทางเศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศราฐกิจ การสาะารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยุ่ในอันดับสูงด้วย
เกาะบอร์เนียว หรือกลีมนตัน เป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ฺ และเกาะนิวกีนี มีประเทศ 3 ประเทศอยุ่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยุ่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทสอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเแียงต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเแียงใต้
เกาะลูซอน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศราฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ(อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันแบละมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือและเกาะต่างๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันตัวเนส เกาะมารินตูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนแรากฎในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดซ้องน้อย" หรือ Lusong kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" หรือ "ลูซอน" ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา หรือ นิวคาสตีล อีกด้วย ต่อมาใช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ กากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยุ่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่วเกาะลูซอนและเกาะอื่นๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ.1946 ลูซอน
เกาะซุลาเวซี หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส ซึ่งมาจากาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดิมทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้เกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498
ภาษาต่างๆ ที่ผุ้พูดในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก อาทิ
- ภาษาบูฮิด ภาษาบูฮิ เป็นภาษาที่พุดโดยชาวมังยันในจังหวัด มินโดโร ฟิลิปปินส์ แบ่งเป็นสำเรียงตะวันออกและตะวันตก มีตัวอักษรเป็นของตนเอง คืออักษรบูฮิด บูฮิด
- ภาษาฟิลิปิโน เป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการภาษาหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์คู่กับภาษาอังกฤษ กำหนดเมื่อ พ.ศ. 2530 ภาษานี้เป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาตากาล็อก เมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 สถาบันภาษาแห่งชาติเลือกภาษาตากาล็อกซึ่งเป็นภาษาท้องถ่ินที่มีการใช้เป้นภาษาเขียนมากที่สุดมาเป็นพื้นฐานของภาษาประจำชาติภาษาใหม่ใน พ.ศ. 2540 ภาษานี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ปิลิปีโน และเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาฟิลิปิโน เมื่อ พ.ศ. 2515
- ภาษากาปัมปางัน เป็นภาษาหนึ่งที่ใช้พุดในประเทศฟิลิปปิน
- ภาษากินาไรอา อยู่ในตระกูลงิซายัน มีผุ้พุดในจังหวัดอินติเกและอิโลอิโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกน ผุ้พุดภาษากินาไรอา จะเข้าใจภาษาฮิลีไกนอนได้ แต่ภาษากินาไรอา ไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮิลีไกนอน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น
- ภาษากินดาเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ช้พุดเป็นส่วนใหญ่ในจังหวัดมากินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีกระจายอยู่ในส่วนอื่นๆ ของเกาะมินดาเนาเช่น ซัมโบวังกา ดาเวา และจังหวัดอื่นๆ เช่น จึงหวัดนอร์ทโกตานาโต จังหวัดเซาท์โกตาบาโต จังหวัดซารังกานี จังหวัดซัมโบอังการเดลซูร์ และจังหวัดซัมโบอังกาซิบูไก รวมทั้เงในมะนิลาด้วย หมวดหมุ่ ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์
- ภาษามาราเนา เป็นภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พุดในจังหวัดลาเนา เลล นอริเต และลาเนา เดล ซุรในฟิลิปปินส์ มาราเนา
- ภาษามาลากาซี เป็นภาษาราชของประเทศมาดากัสการ
- ภาษาวาไร-วาไร ซามาร์-เลย์เต หรือ ซาร์มานอน เป็นภาษาที่ใช้พุดในจังหวัดซามาร์, นอร์เทิร์นซามาร์ อีสเทิร์นซามาร์, เลย์เต และบิลิรันในฟิลิปปินส์ จัดอยูในภาษาตระกูลวิซายัน มีความเกี่ยวข้องกับภาษาเซบัวโนและใกล้เคียงกับภาษาฮ์ลิไกนอน
- ภาษาอีบานัก มีผุ้พูด ห้าแสนคน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเแียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากการยัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผุ้อพยพไปอยู่ ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผุ้พูดภาาานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า "อีบานัก" มาจาก "บันนัก" แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัตตัง ภาษาอิตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัต และภาษามาลาเวก อีบานัก
- ภาษาอีวาตัน หรืออีบาตัน เป็นภาษาตระกุลออสโตนีเซีย มีผุ้พุดบนเกาะบาดาเนส ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ เนื่องจากอยุ่ใกล้ไต้หวัน จึงมีลักษระใกล้เคียงกับภาษาพื้นเมืองในไต้หวัน มากกวาภาษาในฟิลิปปินส์อื่นๆ แต่ไม่จัดอยุ่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา อักษร "e" จะออกเสียงใกล้เคียงกับ "uh" ในภาษาอังกฤษ เช่น palek ออกเสียงเป็น pa3luhk อีวาตัน
- ภาษาอีโลกาโน เป็นภาษาที่มีผุ้พุดมากเป็นลำดับสามในฟิลิปปินส์ เป็ฯภาษาตระกูลออสดตรนีเซียนซึ่งใกล้เคียงกับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮิติ ภาษาซาร์โมโร ภาษาเตตุมและภาษาไปวัน
- ภาษาฮานูโนโอ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมังยัน ในจังหวัดมินโคโร ฟิลิปปินส์ เขียนด้วยอักษรฮานูโนโอ ฮานูโนโอ
ภูเขาไฟพินาตุโบ |
- ภาษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาะารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกุลภาษาออสโตนีเซียน มีความสัมพนธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็ฯภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พุดราว 85 ล้านคนในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากววา
- ภาษาซัมบัส เป็ฯภาษากลุ่มซัมบาลิกมีผู้พูดส่วนใหญ่ในจังหวัดซัมบาเลส ฟิลิปปินส์มี 2 สำเนียง คือตีนาและโปโตลัน มีผุ้พุดราว 70,000 คน และ 32,867 คน ตามลำดับ ผุ้พูดสำเนียงตีนาพบในซานตาครูซ จันดีลาเรีย มาซินลอก และอีบา และยังพบในเกซอน เกาะปาลาวันด้วย ผุ้พุสำเนียงโบโตลัน พบในโบโตลัน และจาบางัน มีพยัญชนะ 16 เสียง สระ 4 เสียง โครงสร้างพยางค์เป็นแบบ ง.
- ภาษาปางาซินัน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาดย-โพลีเนเซีย มีผุ้พุดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปางาซินัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปางาซินันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม
ภูเขาไฟพินาตุโบในปัจจุบัน |
- ภาษาเตา หรือภาษายามิเปนภาษากลุ่มบาตานิกพูดโดยชาวเตาในไต้หวัน เป็นภาษาเดียวในไต้หวันที่ไม่อยู่ในภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซา แต่มลักษณะทางภาษาศาสตร์ร่วมกับภาษาอีวาตันที่พุดในเกาะบาตาเนสทางตอนเหนือของฟิลิปปิน
- ภาษาเตาซูก อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดซูลู ประเทศฟิลิปปินส์ มีผู้พูดในมาเลเซีและอินโดนีเซียด้วย
- ภาษาเซบัวโน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปินส์ 18 ล้านคน ชื่อของภาษามาจากเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึงเชื้อชาด
- th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา
http://th.unionpedia.org ค้นหา กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...