ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอัดดัสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปี้ยน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต์
ภาษาจีน เป็นหนึ่งในตระกูลบภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วยใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่างๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเหนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านนี้เที่ยได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาาากลุ่มโรมานซืเราอาจแบงภาษาพูดของจีนได้ 6-12 กลุ่ม ขึ้นอยุ่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป้นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"
ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด เสียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกล่าง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวันเป้นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤณษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทงการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกศ)
นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาแต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่การเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพุดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และอักษณจีนตัวย่อ
ภาษาจีนกลาง หรือที่เรียกในประเทศจีนว่า "ภาษาฮั่น" เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็นใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผุ้ใช้มากว่า 800 ล้านคนทั่วโลก
ขื่อภาษาจีนกลางเป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ซึ่งในประเทศจีนจะเรียกภาษนี้ว่า ฮ่นอวี่ แปลว่า ภาษาฮั่น อันเป็นภาษาของชาวฮั่น ที่เป้นคนส่วนใหญ่ของประเทศจีน ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า "Mandarin" ซึ่งมีรากจากคำในภาษาโปรตุเกส อันหมายถึง "ภาษาราชการ" ของเจ้าหน้าที่รคัฐของจีน
ในวงแคบ คำว่า ภาษาจีนกลาง ใช้เรียก ผู่ทงฮั่ว และกั่วอวี่ ซึ่งเป้นภาษาพูดมาตฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึงมีพื้นฐานมาจากภาษาพูดมาตรฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาูดทีทช้กว้างขวาง คือ เปยฟางฮั่ว ซึ่งความหมายในวงแคบลนี้ คือความหมยที่ใช้ในบริบทนอกวิชาการ
ในวงกว้าง คำว่า ภาษาจีน ใช้เรียก เปยฟางฮั่ว ("ภาษาพูดทางเหนือ") ซึ่งเป้นประเภทที่ประกอบด้วยภาษาย่อยต่างๆ ของภาษาจีนที่ใช้ในทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของจีนซึ่งความหมายนี้มักจะพบในบริบททางวิชาการ และจะใช้ความหมายนี้ในบทความนี้ โดยที่ผู้ตงฮั่วและกั้วอวี่ จะใช้ชื่อจีนเรียกรวมถึงใช้ "ภาษาจีนกลางมาตรฐาน" และ "ภาษาจีนมาตรฐาน" เรียก
ภาษาประเภทเป่ยฟางฮั่วมีคนพูดมากกว่าภาษาอื่นๆ และเป่ยฟางฮั่วก็เป็นพื้นฐ,านของผู่ตงฮั่วและกั๋วอวี่ด้วย อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า เปยฟางฮั่วครอบคลุมภาษาย่อยจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ นอกจากนี้ แนวคิดเป่ยฟางฮั่วส่วนใหญ่ ไม่ใช้นอกวงการวิชาการเป็นคำที่ใช้อธิบยตัวเอง เมื่อให้อธิบายชนิดของภาษาพูดท่ใช้ คนจีนที่พุดชนิดของเปยฟางฮั่วจะอธิบายตามชนิดของภาษาจีนกลางที่พุด เป้นสวนหนึ่งของการระบุมณฑลที่อาศัยอยู่ อย่งไรก็ดี แทบจะไม่มีอะไรที่สามารถระบุได้โดยทั่วไป เกี่ยวกับแนวคิดของภาษาพูดทางเหนือ
เหมือนกับภาษาอื่นๆ การจัดภาษาจีนกลางเป็นภาษาเดียวหรือเป็นภาษาย่อย ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่
ภาษาอู๋ เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผุ้พูดสวนใหญอยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซียงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนใน อันฮุย เจียงสีและฝูเจี้ยนมีผุ้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ. 2534) โครงสร้างประโยคส่วนใหญ่เป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา โดยมีโครงสร้างประดยคเช่นนี้มากว่า ภาษาจีนกลาง และภาษาจีนกลางตุ้ง ภาาอู๋มีหลายสำเนียง ดดยสำเนียงที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือสำเนียงเซี่ยงไฮ้ หรือ ภาษาเซี่ยงไฺฮ้
จำนวนผู้พูดโดยเฉลี่ยของสำเนียงอู๋จะอ้างถึงสำเนียงของตนและเพ่ิมชื่อถิ่นที่อยู่ของตนเข้าไป คำท่ใช้เรียกภาาาอู่มีหลายคำ อาทิ ภาษาอู๋ ภาษาเซียงไฮ้ ภาษาอู่เยว่, ภาษาเจียงหนาน, ภาษาเจียงเจ๋อ
ภาษาอู๋ สมัยหม่เป้นภาษาที่ใช้ดดยชาวอู๋และชาวเยว๋ที่มีศูนย์กลางอยู่ทางใต้ของเจียงซูและทางเหนือของเจ๋อเจียง คำในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงภาษาจีน การออกเสียงตัวคันจินี้มาจากบริเวณที่พุดภาษาอู๋ในปัจจุบัน
ภาษาอู่สืบทอดมาจากภาษาจีนยุคกลาง ภาษาอู๋จัดเป็นสำเนียงที่แยกตัวออกในช่วงต้นๆ และยังคงมีลัษณะของภาาาในยุคโบราอยู่มาก แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากภาาาจีนเหนือหือแมนดารินระหว่างพัฒนาการ ซึ่งเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกับภาคเหนือ และในบริเวณนี้เป้ฯพื้นที่ที่ได้รับการศึกษาสูง ระหว่างการลุกฮือของ อู๋ ฮู และหยนภัยของหยงเจี้ย ทำให้มีชาวจีนทางเหนือเข้ามตั้งหลักแหล่งมาก สวนใหญ่มาจากเจียงซู และซานตง มีส่วนน้อยมาจากที่ราบภาคกลาง ทไใ้เกดภาษาอู๋สมัยใหม่ขึ้น ในช่วงเวลาระหว่างราชวงศ์หมิง และยุคสาะารณรับตอนต้นเป็นช่วงลักษณะของภาาอู๋สมัยใหม่ได้ก่อตัวขึ้นมา สำเนียงซูโจวเป้นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลมากที่สุดและมัใช้อ้างอิงเป็นตัวอย่างของภาษาอู๋
ในช่วงหลังจากกบฎไท่ผิง จนส้ินสุดราชวงศ์ชิง บริเวณที่พุดภาษาอู๋ถูกทำลายด้วยสงคราม เซี่ยงไฮ้เป็นบริเวณที่มีผู้อพยพจากส่วนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอู๋เข้ามามาก ทำให้มีผลต่อสำเนียงเซี่ยงไฮ้ เช่นมีการนำอิทธิพลของสำเนียงนิงโปเข้ามา และจากการเพ่ิมประชากรอย่างรวดเร็วทำให้กลายเป็นบริเวณที่เป็นศูนย์กลาง สำเนียงเซี่ยงไฮ้จึงมีความสำคัญมากว่าสำเนียงซูโจว
หลังจากก่อตั้งสาธารณรับประชาชนจีน มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาจีนกลางอย่างมากในบริเวณที่ใช้ภาษาอู๋ ภาษาอู๋ไม่มีการใช้ในสื่อต่างๆ และโรงเรียร หน่วยงานทางราชกาต้องใช้ภาษจีนกลางด้วยอิทธิพลของผุ้อพยพเข้าที่ไม่ได้ใช้ภาาอู๋ การที่สื่อต่างๆ ใช้ภาษาจีนกลาง ทำให้เด็กที่เติบโตขึ้นมาคุ้นเคยกับภาษาจีนกลางมากกว่าภาษาอู๋ มีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการอนุรัษ์ภาษานี้ มีรายการโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาอู๋อีกคร้้งแต่ก็ยังมีขอบเขตจำกัด...
ภาษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า เยฺว่) เปนหนึ่งในภาษาของตระกูลภาาจีน ผู้พูดสวนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวฒมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลหวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่มณฑลกวางตุ้ง เขชตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของขาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโบกที่อพยพไปจากมณฑลกว่าตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พุดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเทศ
ในยุคโบราณ เขตมณฑลหวางตุ้งปัจจุบันมีชาวฮั่นอาศัยอยุ่น้อย การอพยพเข้ามาของชาวฮั่นเริ่มขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่น ภษาจีนของชาวฮั่นได้ผสมผสานเข้ากับภษาของชาวพื้นเมือง สมัยราชวงศ์สุ่ยภาคกลางของจีนเกิดสงครามบ่อย ชาวจีนฮั่นจำนวนมากจึงอพยพลงใต้ คาดว่าช่วงนี้เป็นช่วงที่ภาษาจีนกวางตุ้งเริ่มพัฒนาขึ้นมา ในสมัยราชวงศ์ถัง การอพยพของชาวจีนเข้าสู่กวางตุ้งยังคงเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีบางส่วนกระจายไปยังพื้นที่ใกล้เคียงคือมณฑลกวางสี ในยุคนี้ ภาษาจีนกวางตุ้งได้รับอิทธิพลจากภาษาจีนในภาคกลาง เริ่มมีการจัดมาตรฐาน แต่ในเวลาเดียวกันก็มีการพัฒนาคำศัพท์ และลักษณะเฉพาะของตนขึ้นมา
ในสมัยราชวงศ์ซ้อง หงวนและหมิง ภาษาจัีนกวางตุ้งเริ่มมีเอกลักษณ์ของตนที่ต่างจากภษาจนอื่นๆ ชัดเจนมากขึ้น ช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิง เมืองกวางโจว เป้ฯเมืองท่าที่ติดต่อกับต่างชาติ มีชาวต่างชาติ มีชาวต่างชาติเรียนภาษาจีนกวางตุ้ง และใช้ภาษาจีนกวางตุ้งในการค้าขาย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2492 เป็นต้นมาผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งส่วนใหญ่พูดภาษาจีนกลางด้วย โดยใช้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาราชการและใช้ภาษาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในชีวิตประจำวัน ในฮ่องกงใช้ภาาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาในภาพยนตร์และใช้ในการติดต่อธุรกิจกับชาวจีนโพ้นทะเล ปัจจุบันภาษานี้บังใช้ในการศึกษาและใช้กันในฮ่องกงและในหมุ่ชาวจีนโพ้นทะเล การแพร่หลายของส่อที่ใช้ภาษาจีนกวางตุ้งจากฮ่องกง ทำให้มีคำยืมจากภาษาจีนกวางตุ้งแพร่ไปสู่ภาาาจีนสำนเียงอื่นๆ ด้วย
สำเนียงที่สำคัญมี 4 สำเนียงคือ สำเนียง Yuehai ใช้พุดในกวางโจว ฮ่องกง และมาเก๊า สำเนีงไถ่ซอน ใช้พุดในไชน่าทาวน์ในสหัฐก่อน พ.ศ. 2513 สำเนียง Gaoyan ใช้พุดใน Yanjiang และสำเนียง Guinan ใช้พุดในกวางสี โดยทั่วไป สำเนียงที่สำคัญที่สุดคื อสำเนียง Yuehai
แม้ว่าภษาจีนกลางจะเป็นภาษามาตรฐานและเป็นภาษากลางในจีนและไต้หวัน ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงเป็นภาษาหลักของชาวจีนโพ้นทะเลรวมทั้งในฮ่องกง ซึ่งเป็ฯเพราะว่าผุ้อพยพเหล่านี้ออกจากกวางตุ้งไปก่อนที่ภาษาจีนกลางจะเข้ามามีอิทธิพลหรือมิฉะนั้นก็เป็นเพราะในฮ่องกงมิได้ใช้ภาาจีนกลางอยางสมบูรณ์
ภาษาจีนกวางตุ้งเป้นภาษาที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาจีนกลาง เช่นมีเสียงตัวสะกดมากกว่า แต่ภาษาจีนกวางตุ้งก็ไม่มีวรรณยุกต์บางเสียง และรวมบางเสียงเข้าด้วยกัน
สำเนียงไถ่ซานที่ใช้พูดในสหรัฐปัจจุบันถือเป็นสำเนียวที่มีลักษณะอนุรักษนิยมมากว่าสำเนียงที่ใช้พุดในกวางโจวและฮ่องกง โดยยังคงรักษาคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /n-/ ซึ่งผู้พูดภาษาจีนกวางตุ้งที่เกิดในฮ่องกงหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 เปลี่ยนเป็นเสียง /l-/ และไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วยเสียง /ŋ-/ ตัวอย่างเช่น ngàuh nām เป็น àuh lām
ระบบเสียงของภาษาจีนกวางตุ้งต่างจากภาษาจีนกลางที่ใช้พยางค์ต่างกันเป็นส่วนใหญ่ ชุดของเสียงวรรณยุกต์ก็ต่างกัน ภาาาจีนกวางตุ้งีวรรณยุกต์ 6-7 เสียง มีความต่างของเสียงวรรณยุกต์ระหว่างคำเป็นและคำตาย ในขณะที่ภาษาจีนกลางมีวรรณยุกต์ 5 เสียง ภาษาจีนกวางตุ้งยังคงมีเสียงตัวสะกดหลายเสียง เช่น เดียวกับ ภาษา ฮากกา และภาษาจีนฮกเกี้ยน คือ /-m/, /-n/, /-ŋ/, /-p/, /-t/, /-k/ ส่วนภาษาจีนกลางมีเพียงเสียง /-n/, /-ŋ/ อย่างไรก็ตามระบบเสียงสระของภาษาจีนกลางมีลักณะอนุรักานิยมมากว่าดดยยังคงมีเสียงสระประสมบางเสียงที่หายไปแล้วในภาาาจีกวางตุ้ง..th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น