มูฮำหมัด คือราแม ริ่เร่ิมการทำหนังสือพิมพ์ "ซีนารัน" ซึ่งนสพ. รายสองเดือน ภาษามลายูอักณายาวี เป็นครั้งแรก นสพ. ดังกล่าวมีเนือหาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในวงการภาคประชาสังคมมลายู ข่าว สังคม และเรื่องบุคคลนีน่าสนใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่คนท้องถ่ินเรียกกันว่า ปาตานี
เพื่อป้องกันการถูกระแวงและสงสัยจากฝ่ายความมั่นคง เขาได้ออกแบบให้บนหน้าปกของซีนารันมีการแนะนำเรื่องในฉบับเป้นภาษาไทยด้วย "เราจะใช้ยาวีร้อยเปอร์เซนต์ไม่ได้ เพราะเราจะถูกฝ่าวความั่นคงสงสัยทันที่วาเรื่องอะไร เราเจอนิสัยคนไทยว่า ไม่ค่อยแฮปปี้กับความแตกต่างเท่าไหร่ ภาษาไทยบนหน้าปกจะช่วยลดความหวาดระแวง
กลุ่มเป้าหมายหนึ่งของซีนารันนี้คือ ขบวนกาเพื่อเกราชปาตานี โดยเฉพาะคนที่อยู่ต่างแดนที่อาจอ่านภาษาไทยไม่ได้" ถ้าจะสื่อสารกับขบวนการ บางคนในขบวนการเขาอ่านไทยไม่ดไ้ แต่เขาอ่านมลายูได้ เราจึงพยายามเสนอเรื่องที่สื่อกระแสหลักไม่เล่น เราพยายามเสอนเรือ่องของภาคประชาชนให้เขารู้เรื่องของคนใน เราเชื่อว่าอย่างน้อย ข้อมูลข่าวสารอาจช่วยเปลี่ยน การใช้อาวุธ เป้ฯทางสันติก็ได้" มูฮำหมัดกล่าวกับประชาไท นอกจากนี้ ที่ผ่านม คนปาตานีขาดการสื่อสารปัญหาความขัดแย้งกับประชาคมชาวมลายูด้วยกัน ที่อยู่ในมาเลเซียและอินโดนีเซียนเพราะไม่มีสื่อในภาษามลายูให้พวกเขาอ่าน ทำให้แม้จะเป้ฯคนชาติพันธุ์เดียวกันก้ตาม พวกเขาก็ไม่ไ้มีความเช้าใจปัญหาเท่าไหร่ เพราะก็ับรู้เรื่องปาตานีจากสื่อภาษาอังกฤษที่ผลิตจากกรุงเทพ
เนื่องจากการเขียตัวยาวีในปัจจุบันไม่แพร่หลายนัก คนรุ่นเป้าไปที่นักเรียนโรงเรียนปอเนาะ ซึ่งเป้นโรงเรียนจารีตดั้งเดิมของชาวมลายูมุสลิมในชายแดนใต้ ซึ่งเน้นสอนวิชาศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และภาษาอาหรับ ปรากฎว่า ในรุ่นแรกๆ ของนักเรียนปอเนาะที่เข้าอบรม มีนักเรียนคนหนึ่งถูกสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับเหตุความไม่สงบ "มันอาจแปลได้ว่า คนที่ภุมิใจกับอัตลักษณ์ มีความซ้อนทับกับคนต้องการเมอร์เดกา (เอกราช)" มูฮำหมัดบอกกับประชาไท และหัวเราะเขาเล่าด้วยว่า มีโครงการจะทำเว็บไซต์สำนักข่าวออนไลน์ภาษามลายู ซึ่จะผลิตข่าวเกี่ยวกับสามจังหวดัเป้นภาษามลายู อักษรยาวี อักษรรูมี ภาาาทไย และภาษาอังกฤษ โดยเน้นที่ภาษามลายูเป็นหลัก
ซอลาหุดดีน กริยา หรือที่รู้จักในนาม โซลา กาเรีย เป็นอีกคนหนึ่งที่พยายมอนุรักษ์และพัฒนาภาษามลายูตัว อักษรยาวี ในฐานะหัวหนากล่าอาวัฒบุก๊ก เขาได้พัฒนาชุดคีย์บอร์ดยาวีแบบปาตานี และฟอนต์ยาวี เพื่อให้ภาษามลายู อักษรยาวีแพร่หลายยิ่งขึ้นในในการสื่อสารอิเล็กทรอนิคส์ ซึ่งเป็นช่องทางสื่อสารหลักของผุ้คนยุคนี้ และสะดวกในการใช้ในงานพิมพต่างๆ หลังการพัฒนาเสร็จ เขาบอกว่าจะยกเงานนี้ให้เป้ฯสมบัติสาธารณะ ซอลาหุดดีนมองว่า การทำให้ยาวีตามทันเทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวเลือกในการใช้สื่อสาร คือการแก้ปัญหาที่ตรงจุด "ถ้าไม่มีการพัฒนาอักษรยาวีให้ตามทันเทคโนโลยียุคใหม่ คนก็จะไม่ค่อยใช้ แล้วภาษาจะตายไป เราต้องทำเพื่อต่ออายุอักษรยาวี และเป้็นทางเลือกที่เท่าเทียมกับภาษาอื่นๆ ในคนปาตานีเลือกใช้"
หัวหน้าหลุ่มอาวัณบุ๊กบอกกับประชาไทวา ปัจจุบันเมื่อคนปาตานีจะพิมพ์อักษรยาวี จะใช้คย์บอร์ดอาหรับ แต่เนื่องจากชุดอักชระอาหรับขาดอักษรที่ถุกคิดค้นเพิ่มขึ้นห้าตัวเพื่อแมนเสียงภาษามลายูที่ไม่มีในภาษาอาหรับจึงทำใหพิมพ์ได้ไม่ถูกต้องนัก กลุ่มอาวัฒบุ๊กจึงพัฒนาคีย์บอร์ยาวีขึ้นใหม่ และแม้มาเลเซียจะพัฒนาคีย์บอร์ดยาวีขึ้นในปี 2555 ก็เรียงตัวอักษรโดยเทียบกับีย์อยร์ด ของภาษาอังกฤซึ่งไม่เป็นที่คุ้นเคยสำหรับคนปาตานี้ที่คุ้นเคยกับการเรียงตัวอักษรแบบอาหรับ ส่วนฟอนต์ยาวี นั้น ฟอนต์ที่มีอยู่ก็ถูกพัฒนาขึ้นมาหลายสิบปีและ้ และไม่ใช้ระบบยูนิโคด (ระบบฟอนต์ที่ทำให้ผอนต์ชุดหนึ่งใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) ทำให้เป็นอุปสรรคกับการใช้งานบนคอมิวเตอร์และากริมพ์สิ่งพิมพ์ ความล้าหลังทางเทคโนโลยี และไม่ตอบสนองต่อการใช้งานเป้นสาเหตุสำคัญที่ทำให้คนหันไปสื่อสรด้วยภาษาที่ตองสนองมากว่าแทน อย่างภาษาไทย
เขาเล่าต่อว่า เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาภาษาอย่างจริงจังและถูกจุด กลุ่มอาวัณบุ๊กวางแผนจะตั้งสถาบันเรียนรู้และพัฒนาภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ ซึ่งเปรียบเสือมนาชบัณฑิตสถานของภาคประชาชนปาตานี สถาบันดังกล่าวจะทำหน้าที่กำหนดมาตฐานทงภาษา และคอยกำกับดูแลการพัฒนาภาษาในพื้นที่จัดตั้งคลินกิภาษามายู และผลักดันหรือต่อรองกับรัฐในการให้การส่งเสริมภาษามลายูให้ตรงจุด เพื่อให้ภาษามลายูมีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกับภาษาไทย และทำให้แน่ใจว่า นโยบายภาครัฐที่ออกมาตรงกับความต้องการของประชาชนในพื้ที่อย่างแท้จริง นอกจากนี้ เขายังได้ผลิตเว็บไซด์ ซึ่งผลุิตข่าวสารทั้งากรเมืองสังคม ในภาษามลบยูอัการยาวี เพื่อส่งเสริมการใช้อักษรยาวีในวงกว้างอีกด้วย
ปัจจุบัน ชาวมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใช้ภาษาไทยมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะคนรุ่งใหม่ที่อาศัยอยู่ในเมืองสามารถใช้ภาษาไทยได้ดีพอๆ กับคนที่อื่นของประเทศ แต่ในขณะเียวกัน พวกเขาใช้ภาษามลายูและตัวยาวีน้อยลง ด้วยคุณภาพที่ต่ำลง ฮารา ชินทาโร ผุ้เชียวชาญด้านภาษามลายู เปรียบเปรยสถานการณ์ของภาษามลายูในปาตานีว่าอยู่ในชั้น "ไอซียู" คืออยู่ในขั้นวิกฤติ ร่อแร่ ใกล้คายเลยที่เดียว
"มันเป็นความจริงที่น่าขมขืนว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นอ่อนแอมากๆ" ฮารากล่าวแลว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นร่าเป้นห่วงมาก ทั้งในแง่ของจำนวนคนใช้มลายูที่มีจำนวนน้อยลงโดยฉพาะในเมือง คำศัพท์ก็มีให้ใช้น้อยลง และคำศัพท์ต่างๆ ถุกแทนที่ด้วคำยืมจากภาษาไทย ซึ่งมีจำนวนมากขึ้นทุกที จนทำให้คนมลายูจากมาเลเซียและอินโดนีเซียฟังไม่เข้าใจ การเขียนภาาามลายูด้วยอักษรไทยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ก้มีให้เห็นมากขึ้นเรื่อยๆ "เมื่อพูดถึงคุณภาพ แทบจะไม่มีเจ้าของภาษามลายูชาวปาตานี้คนไหน จะสามารถสนทนาเป้ฯเวลานานได้โดยไม่ได้นำภาษาไทยมาปน ในรูปขอคำนรือวลีที่ยืมมา การปนภาษาและการสลับภาษา" ฮารากล่าว
"ในขณะที่อังกฤษและดัชต์มาพัฒนาภาษามลายูให้เป็นประโยชน์ต่ออาณานิคมตัวเอง รัฐไทยไม่ได้เข้ามาพัฒนา แต่เข้ามาลบ ซึ่งสามารถทำให้สำเร็จที่สตูล แตคนปาตานี้นั้นพยายามรักษาอัตลักษร์ของตัวเองอย่างเข้มแข็งแต่ในภาวะที่ถุกกด ภาษาก็ไม่มีการพัฒนาทางภาษาเท่าไร คนปาตานีไ้ดแค่ต้านทาน แต่นานๆ ไปก็เสื่อมถอย ตอนนี้ก็ไอซียู แต่ยังไม่ถึงกับหายไป ถ้าเราแก้ไขตรงจุด ก็อาจพัฒนาทันภาษาที่มาเลเซีย อิโดนีเซียได้" ซอลาหุดคีนกล่าว
ปัจจุบัน การเรียนการสอนภาษามลายูอักษรยาวีมีอยู่เฉพาะในโรงเรียปอเนาะ (โรงเรียนประจำสอนศาสนอิสลามแบบดั้งเิม) ซึ่งเป็นที่นิยมน้อยลงและมจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ เพราะรัฐไทยไม่สนับสนุ ทั้งยังพยายามเปลี่ยนปอเนาะให้เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โรงดรีเยรตาดีกา(โรงเรียนสอนศาสนานอกเวลาสำหรับเด็ก)และในวิชาศาสนาอิสลามในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนอิสลาม อย่างไรก็ตาม เพราะนโยบายของรัฐบาลไทยที่มุ่งกลมกลืนชาวมลายูให้เป็น "ไทย" โดยเฉพาะในด้านการศึกษา ทำให้การใช้ภาษามลายูของชาวมลายูในสามจังหวัดชาแดยภาคใต้ลดลง และมีคุณภาพต่ำลง โดยเแพาะการอ่านการเขียนอักษรยาวี
เมื่อถึงช่วงทศวรรษที่ 1990 เด็มลายูถูกห้ามพูดมลายูในโรงเรียน การพุดภาษาแม่ของพวกเขามักนำไปสู่การุกทำโทษ ไม่ว่าจะถูกตี หือถูกปรับ เช่นปรับหนึ่งบาท ต่อคำมลยูหนึ่งคำ นี่คือเกตุผลว่า ทำไมเมื่อช่วงที่ความรุนแรงประทุขึ้นใหม่ๆ มีโรงเรียนจำนวนมากถุกวางเพลิงและเผา" ฮารา เขียนในบทความ "เหตุการณืที่ไม่ธรรมดาสำหรับคนธรรมดา"http://prachatai.org/journal/2016/06/66072